หาดทะนง

Download Report

Transcript หาดทะนง

การมีส่วนร่วมจัดการสุขภาพ.....
เป้าหมาย.....
ที่ตอ้ งไปให้ถึง.....
พงษ์พนั ธ์ เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลตาบลหาดทนง
ความหมายสุ ขภาพ
การมีสุขภาพแข็งแรง (Health)
ร่ างกาย (Physical Health)
จิตใจ (Mental Health)
สั งคม (Social Health)
ปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual Health)

การส่ งเสริมสุ ขภาพ
กระบวนการเพิ่มขีดความสามารถ
ของบุคคล ครอบครัวชุมชน และ
องค์กร ให้มีจิตสานึ ก ความรู ้ และ
ทักษะ ในการดูแลรักษาสุขภาพ
เฝ้าระวัง/ควบคุมปั จจัยเสี่ยง และสร้าง
ปั จจัยเสริม ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มี
สุขภาพดี เป็ นรากฐานในการดารง
ชีวิตที่มีคณ
ุ ภาพ อย่างยัง่ ยืน
จุดมุ่งหมาย
• ประชาชนต้องได้รบั บริการส่งเสริ ม
สุขภาพจากรัฐ
• ประชาชนต้องได้รบั ภูมิคมุ ้ กันโรค
เพื่อป้องกันการเจ็บป่ วย
• ประชาชนต้องได้อยู่ในสภาวะ
แวดล้อมที่ปลอดภัยจากอันตราย
มลพิษ และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี
จุดมุ่งหมาย
• ประชาชนต้องมีความรูแ้ ละทักษะใน
การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน
ตนเองได้รวมทัง้ สามารถสร้างสภาวะ
แวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและการ
ดาเนิ นชี วิตที่ถกู ต้อง
• ประชาชนต้องมีปัจจัยพื้นฐานที่
จาเป็ นต่อการดารงชีวิตอย่าง
พอเพียง
การพัฒนาด้านสุขภาพทีผ
่ ่านมา

เราเป็ นใคร ทาไม เราต้องต่างคนต่างทา ต้องทาตามทีเ่ ขาบอกมา
เท่านั้นหรือ เราเข้าใจบทบาท หน้าทีก่ นั และกัน..ในชุมชนเราดีพอหรือยัง
 เราทาเพือ่ ชุมชนท้องถิน
่ ได้ แต่สามารถจะครอบคลุมคุณภาพชีวิตและความ
ต้องการทุกด้านของคนในพื้ นทีไ่ ด้จริงหรือ
 ทาไม งานสาธารณสุข ต้องพยายามทางานเพือ่ ให้ทอ้ งถิน
่ ยอมรับ ?
 เป้าหมายสุขภาพของคนทั้งตาบล เป็ นเรือ
่ งของแกนนา หรือผูน้ าของชุมชน
เพียงไม่กีค่ น เท่านั้นหรือ ? ทาไมงานทีท่ ารูอ้ ยู่คนเดียว ทาไมต้องให้ความ
ต้องการของชุมชน เป็ นเครือ่ งมือหาเสียงของนักการเมือง
 เราจะทางานพัฒนาด้วยความคิดว่า มีเงินก็ทา ไม่มีเงินก็ไม่ตอ้ งทา แค่น้ นั
หรือ ?
การแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
จาเป็ นต้องสอดคล้องกับสภาพที่แท้จริง
หรือปัญหาสุขภาพที่เป็ นจริงของชุมชน
จึงจะได้ผลสาเร็จตามเป้ าหมาย ???
เมื่อคัน ต้องเกาให้ถูกที่คนั จึงจะหายคัน
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
การจัดการสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ความรูเ้ กี่ยวกับสุขภาพ และการส่งเสริมสุขภาพ
ของคนในชุมชน
ข้อมูล หรือข้อเท็จจริงด้านต่าง ๆ ของชุมชน
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และภาคีเครือข่าย
ด้านสุขภาพของชุมชน
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
① ปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของชุมชน
คืออะไร ???
มุมมองปั ญหาสุขภาพ มีความแตกต่าง หลากหลายจาก
ประสบการณ์ ความเชื่อ ความคิด และความรูข้ องแต่ละคน
ควรปรับความเข้าใจเกี่ยวกับ อะไรคือปั ญหาสุขภาพที่แท้จริง
โดยใช้ขอ้ มูลจริงเกี่ยวกับสภาพของชุมชนและความรูเ้ กี่ยวกับ
สุขภาพ ที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย ปฏิบตั ิได้จริง
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
② ข้อมูลจริงเกี่ยวกับสภาพของชุมชน
มีอะไรบ้าง ???
ข้อมูลจริง คือข้อเท็จจริงที่บอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
โดยสามารถสืบค้น เสาะหา และเก็บรวบรวมได้หลายวิธี
ข้อมูลจริง คือ วัตถุดิบ ที่จะใช้ในกระบวนการสรุปว่า อะไร คือ
ปั ญหาสุขภาพที่แท้จริงของชุมชน อันจะนาไปสูก่ ารร่วมคิด
ร่วมทา กิจกรรม โครงการต่าง ๆ ในการจัดการสุขภาพของชุมชน
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
ชนิ ดของแผนพัฒนาสาธารณสุข
แผนเพื่อประชาชน
ทาเพื่อ
ทาให้
ทาแก่
ทากับ
แผนกับประชาชน
แผนของประชาชน
ทาร่วมกัน..
ทาแผนกันโดย
ฉันออกท ุน ค ุณออกแรง
ทากันเอง
จัดการด้วยตนเอง
ออกมาเป็นแบบพิมพ์เดียวกัน
ผสานแผนงานกันกับช ุมชน
คิดและทากันเอง
กาหนดเงื่อนไข กฏเกณฑ์จาก
แต่โดยทัว่ ไป
มักเป็นแผนระยะสัน้
ส่วนกลาง ควบค ุม จัดการงบ
ยังกากับด ูแลงบประมาณอยูบ่ า้ ง
มักทาได้สาเร็จ และปรับได้
มีความยืดหยน่ ุ มากกว่า
โดยเจ้าของเงิน
ถ้าจะให้ดี ต้องผสมผสานกันทัง้ สามแบบ
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
ข้อมูลจริงที่ควรค้นหา
ก. ข้อมูลประชากรของชุมชน
ข. ข้อมูลสภาพแวดล้อมทั ่วไปของชุมชน
ค. ข้อมูลสุขภาพของชุมชน
ง. ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของชุมชน
ข้อมูลจริง จะทาให้ประชาชนร่วมรับรู ้ ร่วมตระหนัก ร่วม
ตัดสินใจเลือก และร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ไขปั ญหาสุขภาพนั้น ๆ
③ กระบวนการร่วมคิด ร่วมทาของ
ชุมชน เพื่อจัดการสุขภาพของชุมชน
ตนเอง???
ชาวชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพชุมชน ช่วยกันคิด
และอภิปราย โดยใช้ขอ้ มูลจริง บวกกับความรูด้ า้ นสุขภาพของ
ทุกคน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันว่า อะไร คือปั ญหาสุขภาพที่แท้จริง
ของชุมชน และอะไรคือสิ่งที่ชุมชนต้องร่วมกันวางแผนในการ
จัดการสุขภาพของชุมชน เพื่อให้คนในชุมชน มีสุขภาพดี
กระบวนการ
พัฒนาด้านสาธารณส ุข
แบบมีสว่ นร่วม
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
กระบวนการพัฒนาด้านสาธารณสุขแบบมีสว่ นร่วม 6 ขั้นตอน
Documentation
Discovery
Dream
D
6
สรุปผล
รายงาน
Delivery
Directions
ค้นหา
Design
Cycle 1
ติดตาม สนับสนุน
6
วงจร
วางแผน/ดาเนินการ
ตัง้ เป้าหมาย
กาหนดวิธีการสาคัญ
หลักคิดที่ 1
ชีวิตต้องมีเป้าหมาย
ชุมชนมีชีวิต
ชุมชนต้องมีเป้าหมาย
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
ต้องทำอย่ำงมีศลิ ปะ คือมีเป้ำหมำย
- ตอบได้ว่าอะไรมันเปลี่ยนแปลงไปจากการ
ทางานของเรา
- โครงการ/กิจกรรมที่ทา จะสอดคล้องกับ
เป้าหมาย มีทิศมีทาง มีหลักชัยที่จะไปถึง
- สิ่งที่ทา รูก้ น
ั หมด ทาให้งานพัฒนาต่อเนื่อง
- ภายนอกจะเข้ามาเสริมก็เสริมถูกจุด
คือ สุขภำพและศักดิศ์ รีของชุมชน
ชุมชน ภาคีพฒ
ั นาด้านสาธารณสุข เห็นการ
เปลี่ยนแปลงของงาน ที่ไม่ใช่เพียงการทา
กิจกรรมทั ่วไปเท่านั้น
พิสูจน์ให้สงั คม และรัฐบาลเห็นว่า ชุมชน
ท้องถิ่น สามารถบริหารจัดการด้านสุขภาพ
ตัวเอง โดยไม่ถูกกาหนดจากภายนอก
หลักคิดที่ 2
เดินตามหลักอริยสัจ 4
ต้องทาความจริงให้สมบูรณ์
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
หลักอริยสัจ
ทุกข์
สถานการณ์/ ทุกข์ / ปั ญหา
สมุทย
ั สาเหตุ / ที่มา / เหตุให้เกิด
นิโรธ เป้าหมายที่ปรารถนา/ผลที่จะได้
มรรค ทางสูค
่ วามดับทุกข์ ปั ญหา
เป็ นการทาให้หลักการแก้ปัญหาสมบูรณ์
 การทาเป้าหมาย ตัวชี้วัดด้านสุขภาพเป็ นการจัดทา
นิโรธ ในหลักอริยสัจ ซึ่งโดยทั ่วไป ชุมชนส่วนใหญ่
สนใจปั ญหา (ทุกข์) รูส้ าเหตุปัญหา (สมุทยั ) รูว้ ิธีการ
ที่จะแก้ทุกข์ (มรรค) แต่กลับทาเรือ่ งความชัดแจ้งใน
เป้าหมายน้อยไป (นิโรธ) การทาเป้าหมาย ตัวชี้วัด จึง
เป็ นการย้าให้กระบวนการจัดการสุขภาพสมบูรณ์ตาม
หลักอริยสัจ
หลักคิดที่ 3
ระเบิดจากภายใน
คิดเองกาหนดเอง
ลอกเลียนแบบกันไม่ได้
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
ตัดชุดให้ถกู กับตัว
 กำหนดกันเอง ใช้กน
ั เอง เหมำะสม
กับตัวเรำเอง
 ไม่สญ
ู เสียควำมเป็ นเอกลักษณ์ และ
ไม่ลอกเลียนแบบคนอื่น
 คุณค่ำมำกกว่ำมูลค่ำ
เป็ นการทาที่ลอกเลี ยนกันไม่ได้
 เป้าหมาย แต่ละที่มีทงั้ ที่เหมือนและต่าง โดยประเด็นที่
ต่าง มักมาจากสภาพแต่ละพื้นที่ท่ีแตกต่างกัน
แล้วแต่จุดเน้นที่จะนาไปใช้
 เน้นการบูรณาการความร่วมมือ ท้องที่และท้องถิ่ น
 มุ่งการปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมสุขภาพ
 ดูแลแบบรอบด้าน
ทาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป จากง่ายไปหายาก
ทาแบบบ้านๆ ที่เรากาหนดเอง
เริ่มจากเรื่องที่ง่าย ทากันได้สาเร็จ
จากจุดเล็ กๆ ไปสู่เรื่องอื่นๆ
หลักคิดที่ 4
เครื่องมือของชุมชน
ในการสร้างการมีส่วนร่วม
ในการจัดการสุขภาพ
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
เครื่องมือชัน้ เยี่ ยม
การดาเนิ นการที่จะให้เกิดผลจริ ง ควรใช้
กลไกภาคีเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ของ
ท้องถิ่น เป็ นกลไกประสานงานให้ภาค
ส่วนหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง มาร่วมกัน
จัดทาและติดตามผล
ทุกฝ่ ายต้องมีส่วนร่วมจัดทา
การจัดทาเป้าหมาย ตัวชี้วดั ด้านสุขภาพ ควร
มีองค์ประกอบของคนที่มาจากหลากหลาย
ที่อยู่ในชุมชน มาร่วมกันกาหนด จึงจะได้ผล
ที่นาไปสู่การปฏิบตั ิจริง เพราะเป็ นพันธะ
สัญญาของคน/องค์กรที่เกี่ยวข้องในชุมชน
โดยไม่ตกเป็ นของใครคนใดคนหนึ่ ง
ลักษณะรูปธรรมวัดความสาเร็จที่ดี ?
 ชี้ ชด
ั
(ใครจะได้อะไร จะเกิดอะไร)
 วัดได้ (พิสจ
ู น์ได้)
 ง่ายๆ (เริ่มจากอะไรที่ไม่ยากเกินไป)
 ไม่ตอ้ งมาก (เน้นรูปธรรมที่ ช้ ี ให้เห็ นการ
เปลี่ยนแปลงที่สาคัญของเรื่องที่ทา)
การถ่ายโอนสถานี อนามัย
สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พงษ์พันธ์
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลตาบลหาดทนง
คือเสียงสี
คือหิ่งห้อย
คือไม้ใหญ่
คือบทเพลง
พงษ์พันธ์
หรี่หริบ
หลงทาง
ต้านลม
บทเก่า
ประทีปน้อย
กลางขุนเขา
ให้ร่มเงา
ถูกเล่ามา
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลตาบลหาดทนง
คือผูน้ อ้ ย
ด้อยไร้
คือปลายกลีบ เสี้ยวเศษ
คือผูถ้ กู
ผลักไส
ไปท้องถิ่น จะบินฟ้า
พงษ์พันธ์
วิชาชีพ
ที่ไร้ค่า
ถ่ายโอนพา
หรือจมดิน
เตมียนันท์
รองปลัดเทศบาลต
เป็ นเพียงหมอ อนามัย
ในด่านหน้า
ปวงประชา
คือหัวใจ
ที่หมายมัน่
ซีจะปลด
แท่งจะเปลี่ยน ไม่สาคัญ
หน้าที่นนั้
คือปั ดทุกข์ สร้างสุขชน
จากเคยเป็ น สุขศาลา
เมื่อก่อนเก่า
เหลือเพียงเงา แปรเปลี่ยน ทุกแห่งหน
เป็ นสถานี
อนามัย
ในมณฑล
เป็ นที่พึ่ง
ของผองคน เสมอมา
บัดนี้ การณ์
ผุดรอพอ
อนามัย
อีกไม่นาน
จะเรียกขาน
หากแก่นแท้
ยังเป็ นหมอ
ยังมีฉนั
เก่าก่อน
สอตอ
คานี้
ข้างหน้า
กี่นาม
ฝังจิต
อนามัย
และประชา
กลับเกิดก่อ
อีกแล้วหนา
คงเลิกรา
คงสิ้นพลัน
ก็ตามแต่
มิแปรผัน
ทุกคืนวัน
หน้าที่เดิม
การมีส่วนร่วมจัดการสุขภาพ.....
เป้าหมาย.....
ที่เราต้องไปให้ถึง.....