เทคนิคการมีส่วนร่วม - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Download
Report
Transcript เทคนิคการมีส่วนร่วม - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย รพ.สต.และ
แนวทางการพัฒนาบุคลากร
นพ.เกษม เวชสุทธานนท์
สานักประสานการพัฒนาโรงพยาบาล
ส่ งเสริมสุขภาพตาบล
ทาไมต้ อง รพ.สต.
• ปั ญหาสาธารณสุข และบริการสุขภาพ
• ทิศทางบริการสุขภาพ
• บทบาทบุคลากรทางสุขภาพในรพ.สต.
• ระบบสนับสนุน
การสาธารณสุขไทยในอดีต
•
•
•
•
•
•
•
การแพทย์พน
ื้ บ ้านและการแพทย์แผนไทย
การแพทย์แผนตะวันตกและการกาเนิดศริ ริ าชพยาบาล
การกาเนิดกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนารพ.จังหวัดและรพ.อาเภอ
การสาธารณสุขมูลฐาน
ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
อดีต
ปั จจุบัน
โรคติดเชื้อ พยาธิ โภชนาการ พฤติกรรมเสี่ ยง(๓ อ. บุหรี่
สุ รา)
Disease
Health risk
ขาดแคลนปัจจัยพืน้ ฐาน
สุ ขาภิบาลไม่ ดี
Vaccine ,Nutrition
Sanitation
Drugs
อนาคต
พยาธิทางสั งคม สิ่ งแวดล้ อม
มาบตาพุด ยาเสพติด โรคจิต
ยาฆ่ าแมลง
Social health determinant
พฤติกรรมความเป็ นอยู่
โลกาภิวฒ
ั น์ ทุนนิยม
เปลีย่ นไป สั งคมเมือง อาหาร วัฒนธรรมไหลบ่ า
ถุง ไม่ ออกแรง เครียดสู ง
Behavioral Change
Class-Club -Camp
Spiritual health
วิถีแห่ งความพอเพียง
ทางสายกลาง
สภาพปั ญหาระบบบริการสุขภาพ
• บทเรียนจากต่างประเทศ
ี่ วชาญ รพ.ใหญ่ เครือ
– ประเทศทีเ่ น ้นผู ้เชย
่ งมือ ยาใหม่ๆ
่ สหรัฐอเมริกา
ประกันแบบเอกชน เชน
– ประเทศทีเ่ น ้นแพทย์ครอบครัว/ทัว่ ไป หน่วยใกล ้บ ้าน ใกล ้ใจ
่ อังกฤษ
หลักประกันทัว่ หน ้า เชน
ี่ วชาญ)
• บทเรียนจากประเทศไทย(เน ้นรักษา รพ. ผู ้เชย
– หน่วยบริการปฐมภูมอ
ิ อ
่ นแอ
– โรงพยาบาล คนไข ้มาก ข ้อผิดพลาด ฟ้ องร ้อง เกิดความ
ทุกข์ ต ้นทุนค่าใชจ่้ าย ผลลัพธ์
• ผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน
้ ค่าใชจ่้ าย ผลลัพธ์ ความเป็ นธรรม
สภาพปั ญหาระบบบริการสุขภาพ
• ปั ญหาเปลี่ยนจากโรคติดเชือ้
โรคเรือ้ รัง
เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรม สิ่งแวดล้ อม ปั ญหาสังคม
จริยธรรม
• โรงพยาบาล ออกแบบ Acute care
• บริการปฐมภูมิ (Primary care) ในต่ างประเทศ
เป็ นผู้จัดการดูแลผู้ป่วยเรือ้ รัง(Case manager)
เข้ าถึงได้ ง่าย ดูแลต่ อเนื่ององค์ รวม ผสมผสาน เชื่อม
บริการ
สภาพปั ญหาของระบบบริการสาธารณสุขไทย
รพ.แออัด
ไม่ ประทับใจ ไร้ คุณภาพ
ประชาชนขาดการดูแลตนเอง
เจ็บป่ วยมากขึน้
ผู้บริการและผู้รับบริการ
มีความทุกข์
หน่ วยบริการปฐมภูมิ
อ่อนแอ
การฟ้องร้ อง
รพ.และจนท
ระบบบริการสุขภาพของไทย
ศูนย์ แพทย์ เฉพาะทาง
โรงพยาบาลศูนย์ /ทั่วไป (94)
โรงพยาบาลชุ มชน (724)
บริการตติยภูมิ
บริการทุติยภูมิ
สถานีอนามัย (9,770)
บริการปฐมภูมิ
อบต./เทศบาล (6,000)
จังหวัด ( 200,000-2M.)
อำเภอ (10,000-100,000)
ระบบสุ ขภาพชุมชน
การดูแลและจัดการตนเอง
ตาบล (1,000-10,000)
หมู่บำ้ น
ครอบครัว
จุดอ่อนของระบบบริการปฐมภูม ิ
• การดูแลต่ อเนื่อง การฟื ้ นฟูสภาพ โรคเรือ้ รัง องค์ ความรู้
ชีวการแพทย์ การประสานบริการระหว่ างบ้ าน-หน่ วย
บริการปฐมภูมิ -รพ.(ชาวบ้ านขาดความเชื่อมั่นการรั กษา)
• งานเชิงรุ ก ออกแบบมาจากส่ วนกลาง ขาดการมีส่วนร่ วม
จากชุมชน มุ่งเน้ นงานที่เป็ นตัวชีว้ ัดจากส่ วนกลาง ขาด
การนาปั ญหาชุมชนเป็ นตัวตัง้ การออกแบบมาตรการใช้
บริบทพืน้ ที่
จุดแข็งของระบบบริการปฐมภูม ิ
• ครอบคลุมพืน
้ ที่
(เข ้าถึงบริการ? ใกล ้บ ้าน ใกล ้ใจ?)
ั พันธ์อน
• ความสม
ั ดี
หน่วยบริการ-ชุมชน
• บริการเบ็ดเสร็จ ณ.จุดเดียว
(One stop services)
• ดูแลแบบผสมผสาน บูรณาการ องค์รวม
กาย-จิตอารมณ์-สงั คม-จิตวิญญาณ
บทบาท เจ้าหน้าทีส
่ าธารณสุข
– Care Provider ให้ บริ การด้ านสุขภาพ ด้ านรักษาพยาบาล
ฟื น้ ฟูสภาพโดยตรง ให้ ข้อมูลทางวิชาการ ระบุปัจจัยกระทบต่อ
สุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลป้องกัน สร้ างเสริ ม
สุขภาพในกลุม่ ที่ป่วยและไม่ป่วย โดยเน้ นที่เจ้ าหน้ าที่เป็ นคน
ดาเนินการหลัก (Key actor) อาศัยความรู้และทักษะ เช่น
การสัง่ การรักษา บริ การด้ านยา หัตถการ
• Evidence base / context base
• Biomedical model/bio-psycho-social model
บทบาท เจ้าหน้าทีส
่ าธารณสุข
– Health/Case manager การสนับสนุน ต่อยอดสิ่งที่ทาดีอยู่
แล้ ว ประสาน เชื่อมโยงกับแหล่งบริ การ หรื อแหล่งทรัพยากรอื่น
เพื่อให้ เกิดการดูแล การจัดการ โดยผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง
(stakeholder) เพื่อให้ เกิด ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ
อย่างต่อเนื่อง เช่น เป็ นผู้จดั การ ประสานการดูแล ตังแต่
้ หน่วย
บริ การปฐมภูมิ โรงพยาบาล ไปถึงการดูแลที่บ้านและชุมชน
• Advocate and empowerment
กระตุ้น สนับสนุน และ เสริมศักยภาพ กลุม่ เป้าหมาย ครอบครัว ผู้นา
ชุมชน และผู้เกี่ยวข้ องให้ มีบทบาท เข้ ามามีสว่ นร่วม หลักในการดูแล
และจัดการปั ญหาสุขภาพ
บทบาทของเจ ้าหน ้าที่
ผูใ้ ห้บริการ
เสริมพล ัง
Facillator
ผูส
้ น ับสนุน
Catalyst networker
รพ.ส่ งเสริมสุขภาพตาบล
• หน่ วยบริการสุ ขภาพระดับตาบล ที่ได้ รับการพัฒนาให้ มีศักยภาพ
(บุคลากร และทรัพยากร) ในงานส่ งเสริมสุ ขภาพ ,ป้องกันโรค
และรักษาพยาบาลอย่ างสมดุล(P&P และOP) มีประชากรในพืน้ ที่
รับผิดชอบชัดเจน สามารถสร้ างความร่ วมมือ อสม. ท้ องถิน่
ชุมชน ในการพึง่ ตนเองทางสุ ขภาพของชุมชนได้ ไม่ ใช่ สถาน
บริการทีม่ ีคนไข้ ค้างคืน หรือบริการเฉพาะผู้ป่วยนอก(Extended
OPD) และมีระบบสนับสนุนจาก CUP สสจ. อปท. ชุมชนอย่ าง
เข้ มแข็ง
เป้าหมายสูงสุดของรพสต.
ส่ งเสริมประชาชน ชาวบ้ านจัดการ
สุขภาพตนเอง ครอบครั ว ชุมชนได้
ทาให้ ประชาชน ชาวบ้ านมีสุขภาวะที่ดี
รพสต.เป็ นเครือข่ายทีส
่ าคัญในการผลักดัน
ให ้เกิดระบบสุขภาพชุมชน
มีคณ
ุ ลักษณะบริการสุขภาพทีเ่ ข ้าใจปั ญหาสุขภาพ
เข ้าถึงวิถช
ี วี ต
ิ ของชาวบ ้าน
หน่วยบริการเป็ นทีย
่ อมรับ ไว ้ใจจากชาวบ ้านและชุมชน
ภาคีหลักของระบบสุขภาพชุมชน
หน่วยงานสาธารณสุข
ประชาชน/องค์กรชุมชน
องค์กรปกครองท้องถิน
่
หน่วยราชการ
/องค์กรเอกชน
ทิศทางของบทบาทเครือข่ายสุขภาพ
บทบาทของชุมชน/องค์กรชุมชน
บทบาทขององค์กรปกครองท ้องถิน
่
สาธารณสุข/หน่วยงานอืน
่ ๆ
เป้ าหมายของระบบสุขภาพชุมชน
(อ.ประเวศ)
• เด็กและครอบครัว
•รักษาโรคเจ็บป่ วยเล็กน ้อย
• ผู ้ด ้อยโอกาสและถูก
ทอดทิง้
•ควบคุมโรค
• ผู ้สูงอายุ
•ชุมชนสร ้างสุขภาพ
• ผู ้ป่ วยโรคเรือ
้ รัง
•เศรษฐกิจพอเพียง
การมีส่วนร่ วมของประชาชน
เจ้ าหน้ าทีเ่ ป็ นหลัก
อสม.เป็ นลูกมือ
่ นร่วมในการ
• ประชาชน มีสว
จ ัดการระบบสุขภาพของ
ตนเอง
ึ เป็นเจ้าของรพสต. และ
• รูส
้ ก
นโยบายสาธารณะด้าน
สุขภาพ
• มีบทบาทหล ักในจ ัดการ
ปัญหาสุขภาพของชุมชน/
ิ ใจได้
ต ัดสน
• เจ้าหน้าทีเ่ ป็นผูส
้ น ับสนุนการ
ดาเนินงาน รพ.สต.
้ ต่อการบริหาร
ท ัศนคติทเี่ อือ
่ นร่วม
จ ัดการการมีสว
(Mindset)
• ถ่อมตน (ตระหน ักในคุณค่าของ
ความคิด ความรูข
้ องชาวบ้าน โลก
้ ห
นีม
ี ลายเรือ
่ งทีเ่ ราไม่ร)ู ้
ิ ธิใน
• เรียนรูท
้ จ
ี่ ะฟัง (ยอมร ับในสท
การให้ความคิดเห็นของประชาชน)
• ให้คณ
ุ ค่าก ับกระบวนการ (การ
่ าร
พ ัฒนาเป็นกระบวนการ ไม่ใชก
ทางานให้เสร็จ ได้ผลผลิตเท่านน)
ั้
• เสริมอานาจผูอ
้ น
ื่ (เน้นการ
เสริมสร้างความสมารถของผู ้
่ นร่วม
อ่อนแอให้เข็มแข็ง เข้ามีสว
และค้นหาทางออกด้วยตนเองได้)
Public Participation Spectrum
เสริมอานาจ
ประชาชน
Empower
ร่วมมือ
Collaboration
เกีย
่ วข้อง
Involve
ร ับฟังความคิดเห็น
Consult
ให้ขอ
้ มูล
ข่าวสาร
INFORM
สม ัครใจ
เข้าร่วม
ให้ความเห็น
ร ับฟัง
เข้าร่วม
คณะทางาน
ด้วย
ต ัด
ิ
สน
ใจ
เอง
การมีสว่ นร่วมของ
ประชาชน
ระดับการมีสว่ นร่วมของประชาชน
(Public Participation Spectrum)
เสริมอานาจประชาชน
Empower
ร่วมมือ
Collaboration
เกีย
่ วข้อง
Involve
ร ับฟังความคิดเห็น
Consult
ให้ขอ
้ มูลข่าวสาร
Inform
เทคนิคการมีสว่ นร่วม :
การลงประชามติ
เทคนิคการมีสว่ นร่วม :
- คณะทีป
่ รึกษาภาคประชาชน
- คณะกรรมการ
ิ ใจแบบมีสว่ นร่วม
- การต ัดสน
เทคนิคการมีสว่ นร่วม :
ั
- สมมนาเช
งิ ปฏิบ ัติการ
เทคนิคการมีสว่ นร่วม :
- การสารวจความคิดเห็ น
- การประชุม/เวทีสาธารณะ
- ประชุมกลุม
่ ย่อย
เทคนิคการมีสว่ นร่วม :
- Fact Sheet
- Websites
- Open House
่ นร่วมของประชาชน
แนวคิดเรือ
่ งการมีสว
่ ารพ ัฒนาทีย
ทีน
่ าไปสูก
่ ง่ ั ยืน
การให้ขอ
้ มูล
การให้ความร่วมมือ
ิ ใจ
การมีอานาจต ัดสน
การเข้ามีบทบาท
การร ับฟังความคิดเห็น
เขต
กรอบแนวคิด รพ.สต.
สสจ.
CUP
ร่ วมคิด-ร่ วมลงทุน-ร่ วมสนับสนุน-ร่ วมติดตาม
จัดทาแผนบูรณาการสุ ขภาพตาบล
รพ.สต.
ผู้ให้ บริการ
ผู้จัดการ
/เสริมพลัง
ครอบคลุมกลุม
่ 5เป้าหมาย ตงแต่
ั้
ในครรภ์มารดา-ถึงเชงิ ตระกอน
้ ทีแ
ตามความจาเป็นเร่งด่วนปัญหาสุขภาพในพืน
่ ละภาพรวม
ปชช.พึ่งตนเองทาง
สุขภาพได้
ปชช.มีสุขภาพที่ดี
รพสต
่ เสริมสุขภาพแนวใหม่
สง
เพิม
่ คุณภาพบริการ
่ นร่วม
บริหารจ ัดการแบบมีสว
การพัฒนาคุณภาพบริการ
1.จัดทาแผนกาลังคนของรพ.สต โดย มีโครงการทศวรรษ
พัฒนากาลังคน รพ.สต (สบช.) เพื่อผลิตเจ้ำหน้ำที่รพสตให้
เพียงพอในกำรดำเนินกำรด้ำนสุ ขภำพดังนี้ 16,500 คน
ประเภท
คน/ปี
6 ปี
พยาบาลวิชาชีพ
1,100
6,600
นวก.สธ.
700
4,200
ทันตาภิบาล
600
3,600
แพทย์ แผนไทย
350
2,100
2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ.สต.และระบบบริการสุ ขภาพ
เพื่อให้ จนท. และเครื อข่ำย มีควำมพร้อม ด้ำนวิชำกำรในกำรให้บริ กำร
สุ ขภำพประชำชนตำมภำรกิจ 5 ด้ำน (ส่ งเสริ ม ป้ องกัน ฟื้ นฟู
รักษำพยำบำลและ คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค) ได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ
- จัดทำคู่มือด้ำนสุ ขภำพสำหรับรพสต. 17 เล่ม
- พัฒนำหลักสูตรอบรมครู พี่เลี้ยงจังหวัด 15 หลักสูตร
- อบรมผูจ้ ดั กำรหลักสูตรจังหวัด 2 คน รวม 150 คน
- จัดสรรงบประมำณให้จงั หวัดละ 50,000 บำท อำเภอละ 10,000
บำท
เนือ้ หาหลักสู ตร 11 หลักสู ตร (เดิมปี 53) และ 4 หลักสู ตรใหม่ ดังนี้
หลักสู ตรพืน้ ฐาน 6 หลักสู ตร ได้ แก่ 1) เวชศาสตร์ ครอบครัวกับการ
จัดการ-ดูแลโรคเรื้อรัง 2) ทันตสุ ขภาพในชุ มชน 3) การส่ งเสริมสุ ขภาพ
แนวใหม่ สู่ การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุ ขภาพ 4) การคุ้มครองผู้บริโภค
5) การบริหารจัดการองค์ กร/เครือข่ าย และ 6) การจัดการความรู้
หลักสู ตรเฉพาะ 5 หลักสู ตร ได้ แก่ 1) การฟื้ นฟูสภาพในชุมชน
2) ระบบการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 3) การจัดบริการการแพทย์ แผน
ไทยในรพ.สต. 4) การให้ คาปรึกษา และ 5) อนามัยเจริญพันธุ์
หลักสู ตรใหม่ 4 หลักสู ตร ได้ แก่ 1) การดูแลระยะสุ ดท้ าย 2) การ
ควบคุมโรคแบบง่ ายๆ 3) EMS ในชุ มชน. 4) การดูแลรักษาโรคง่ ายๆ ใน
ชุ มชน
3 . การสร้ างความเข้ มแข็งทางสุ ขภาพโดยการมีส่วนร่ วมของชุมชน
และรพ.สต งบประมาณ จาก สสส.
3.1 ถ่ ายทอดแนวทางการดาเนินการแก่ เขต/จังหวัด/รพช.
3.2 สนับสนุนงบประมาณให้ เงินจังหวัด ตามโครงการทีด่ าเนินการ
พัฒนา
3.3 จังหวัด อาเภอ และรพสต. ดาเนินการพัฒนาระบบริการ
สุ ขภาพตาม TOR จนได้ นวัตกรรมสุ ขภาพ) ดาเนินการ
ใน 4 รพ.สต.ทีจ่ ังหวัดเลือกตามเกณฑ์ ทกี่ าหนด
3.4 ศึกษาการพัฒนารู ปแบบการสนับสนุนการดาเนินงานระหว่ าง
รพช. และรพ.สต (ได้ ระบบและกลไกการดาเนินงานร่ วมกัน
ระหว่ างรพช.และรพ.สต) ดาเนินการ 1 อาเภอ
รพ.สต.
รพ.สต.
รพ.สต.
ชุมชน
รพ.สต.
รพ.สต.
ชุมชน
รพ.สต.
ชุมชน
รพ.สต.
รพ.สต.
ชุมชน
รพช
รพ.สต.
รพ.สต.
ติดต่ อสื่ อสารและสอบถามข้ อมูลเพิม่ เติมได้ ที่
สานักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบล
http://bopc.moph.go.th/
โทร. 0-2590-1851-2 โทรสาร 0-2590-1839