คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

Download Report

Transcript คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

นางสาวปียนุ ช ฐิตพิ ฒ
ั นะ
ผูอ้ านวยการกลุม่ งานความร่วมมือสิทธิมนุ ษยชนระหว่างประเทศ 2
สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ
ภาพรวมของการนาเสนอ
ความเป็ นมาและความสาคัญของอาเซียน
2. สิทธิมนุ ษยชนคืออะไร
3. ทิศทางสิทธิมนุ ษยชนในประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน
1.
ส่วนที่ 1 : ความเป็ นมาและความสาคัญของอาเซียน
 อาเซีย น หรือ สมาคมประชาชาติแ ห่ง เอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ ก่อ ตัง้ โดยปฏิญ ญา
กรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึง่ มีการลงนามโดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศสมาชิก
ผูก้ ่อตัง้ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ และไทย ในปี พ.ศ. 2010
 วัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ เพือ่ ส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมภิ าค
ธารงไว้ซ่งึ สันติภาพ เสถียรภาพ และความมันคงปลอดภั
่
ยทางการเมือง สร้างสรรค์
ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดี
บนพืน้ ฐานความเสมอภาคและผลประโยชน์รว่ มกัน
 อาเซียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงแรกมุ่งเน้นความร่วมมือเพื่อธารงรักษา
สันติภาพ และความมันคงของภู
่
มภิ าค และการสร้างกลุ่มเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มอานาจใน
การต่อรองมากขึน้
 ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็ นปี ครบกาหนด 30 ปี ของการก่อตัง้ อาเซียน ผูน้ าอาเซียนจึง
ได้รบั รองเอกสาร วิสยั ทัศน์ อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) เพื่อกาหนด
เป้าหมายทีอ่ าเซียนต้องการจะเป็ น
 ต่อ มา ในการประชุม สุดยอดอาเซีย น ครัง้ ที่ 9 พ.ศ. 2546 ณ เมืองบาหลี ประเทศ
อินโดนีเซีย ผูน้ าอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซีย น ฉบับที่ 2
(Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II)
 ในปฏิญญาดังกล่าว เห็นชอบให้มกี ารจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) โดยประชาคมดังกล่าว ประกอบด้วย 3 เสาหลัก
 3 เสาหลักประกอบด้วย
ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี
่
ยน
(ASEAN Political and Security Community – ASC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community – AEC)
ประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
 ในการประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย น ครั ้ง ที่ 12 เมื่ อ พ.ศ. 2550 ณ เมื อ งเซบู
ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ผูน้ าอาเซียนได้ตกลงเร่งรัดกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียนให้
แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) และได้ออกปฏิญญาเซบูว่าด้วยพิมพ์เขียว
กฎบัตรอาเซียน (Cebu Declaration on the Blueprint of the ASEAN Charter)
กฎบัตรอาเซียน
 ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 13 เมื่อปี พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์ ได้ลง
นามในกฎบัตรอาเซียน ซึง่ เป็ นความตกลงระหว่างประเทศ และทาให้อาเซียนมีสถานะ
เป็ นนิตบิ ุคคล
 เป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะ
การรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558
 ในกฎบัต รอาเซีย นได้ร ะบุ ใ ห้ม ีก ารจัด ตัง้ องค์ก รสิท ธิม นุ ษ ยชนอาเซีย น (ASEAN
Human Rights Body) ไว้ตามมาตรา 14
ประโยชน์จากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
 สร้างพลังในการรวมกลุม่ กัน เป็ นกลไกฉันท์มติ ร ลดความขัดแย้งในภูมภิ าค
 มีกาลังในการต่อรองด้านเศรษฐกิจมากขึน้ เนื่องจากการรวมตัวกันจะทาให้ ตลาดของ
อาเซียนมีขนาดใหญ่ 600 ล้านคน ผูบ้ ริโภคจะได้รบั ประโยชน์
 การรวมตัวเป็ นตลาดเดียว ค่าแรงต่ากว่าหลายภูมภิ าคจะช่วยดึงดูดนักลงทุ นเข้ามาทา
การค้า
 ทาให้เ กิด โอกาสต่ า งๆ เพิ่ม มากขึ้น ในการพัฒ นารูป แบบต่ า งๆ เช่น ด้า นแร งงาน
การสร้างความเชือ่ มันของภู
่
มภิ าค
ตัวอย่าง : อานาจต่อรองเมื่อรวมตัวเป็ นประชาคม
อาเซียน
 อาเซีย นเป็ น ท าเลที่ส าคัญ ในการเป็ น แหล่ ง ลงทุ น ของนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ข้ อ มูล ใน
ปี 2008 (อ้างอิงจากสานักเลขาธิการอาเซียน) โดยสัดส่วนของการลงทุนจากสหภาพ
ยุโรป ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา มีมูลค่ารวมกันทัง้ สิ้น 38.5% ของมูลค่าการลงทุน
โดยตรงทัง้ หมดของอาเซียนในปี
ส่วนที่ 2 : สิทธิมนุษยชนคืออะไร
 สิทธิมนุ ษยชน คือการทีท่ ุกคนได้รบั การกระทาด้วยการเคารพศักดิศรี
์ ความเป็ นมนุ ษย์
 สิทธิมนุ ษยชนเป็ นสิง่ ที่ “ทุกคน” ได้รบั เป็ นสิทธิท่ี “ติดตัว” มาตัง้ แต่เกิด โดยไม่มกี าร
เลือกปฏิบตั ิ
 สิท ธิ ม นุ ษ ยชนมีค วามสัม พัน ธ์ ก ัน ต้ อ งพึ่ง พาอาศัย กัน โดยไม่ อ าจแบ่ ง แยกได้
(interrelated, interdependent and indivisible)
ตัวอย่าง : กรณีศกึ ษา
 โรงงานผลิตสารเคมี A ลักลอบทิง้ ขยะทีม่ สี ารเคมีทม่ี พี ษิ ในทีว่ า่ งหลังชุ มชน หลังจากนัน้
สารเคมีด ัง กล่ า วได้ ป นเปื้ อนลงสู่ แ หล่ ง น้ า ดิ น ท าให้ เ กิ ด ชาวบ้ า นในชุ ม ชน ได้ ร ับ
ความเดือดร้อน บางกรณีเกิดอาการไม่สบาย
 โรงงานผลิตเสื้อผ้า B บังคับใช้แรงงานเด็ก และสตรีมคี รรภ์ และจ่ายค่าจ้างราคาต่ า
เนื่องจากเห็นว่าบุคคลเหล่านี้ตอ้ งการงานและไม่มที างเลือก โดยบังคับให้ทางานในสถานที่
ทีส่ กปรก คับแคบ และต้องทางานถึง 12 ชัวโมงต่
่
อวัน
 รัฐบาลประเทศ C เห็นว่าพืน้ ทีท่ ช่ี าวบ้านอาศัย และมีวถิ ชี วี ติ ของตนเองมายาวนาน
เหมาะสมกับการสร้างนิคมอุสาหกรรมแห่งใหม่ จึงไล่ทช่ี าวบ้านเพือ่ สร้างนิค มอุตสาหกรรม
ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถประกอบอาชีพเดิมได้และต้องหาทีอ่ ยูแ่ ละอาชีพใหม่
เฉลย
 กรณีโรงงานผลิตสารเคมี A
สิทธิในสุขภาพ
 โรงงานผลิตเสือ้ ผ้า B
สิทธิเด็ก / สิทธิสตรี / สิทธิแรงงาน
 รัฐบาลประเทศ C
สิทธิชุมชน สิทธิในทีด่ นิ สิทธิในการประกอบอาชีพ
ระดมสมอง 2 นาที
ปญั หาด้านสิทธิมนุ ษยชนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ เมือ่ มีการรวมตัวเป็ น ASEAN มี
อะไรบ้าง ?
ปั ญหาสิทธิมนุษยชนที่จะเกิดเพิ่มมากขึ ้น :
ความเป็ นไปได้
ปัญหาด้านการเมืองความมันคง
่
 ปญั หาอาชญากรรมข้ามชาติ การปลอมแปลงเอกสารเพือ่ ใช้ในการข้ามประเทศ การค้า
มนุ ษย์
 ปญั หาคนลักลอบเข้าประเทศ (การส่งกลับ)
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
 การไล่ทข่ี องชาวบ้านทีอ่ ยูม่ านานเพือ่ จัดทาโครงการพัฒนา
 การใช้แรงงานเด็ก แรงงานต่างด้าว เนื่องจากแรงงานราคาถูก
ปั ญหาสิทธิมนุษยชนที่จะเกิดเพิ่มมากขึ ้น :
ความเป็ นไปได้
ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม
 ปญั หาความเป็ นเจ้าของวัฒนธรรมและประเพณีตา่ งๆ เช่น งานสงกรานต์ อาหาร
ประจาชาติ การแสดงร่ายรา
ส่วนที่ 3 : ทิศทางสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
กับประชาคมอาเซียน
 อาเซียนถือเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน
 ปจั จุบนั มีพฒ
ั นาการทีเ่ ป็ นรูปธรรม โดยเฉพาะในด้านสิทธิมนุ ษยชนหลายด้าน เช่น
1. การมีกลไกทางด้านกฎหมาย เช่น ปฏิญญาเซบู ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริม
สิทธิแรงงานข้ามชาติ ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุ ษย์โดยเฉพาะสตรี
และเด็ก กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน
2. กลไกทีเ่ ป็ นรูปแบบของคณะกรรมการ / คณะกรรมาธิการ เช่น
- คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน (ASEAN Intergovernmental
Commission on Human Rights – AICHR)
- คณะกรรมาธิก ารอาเซีย นว่าด้ว ยการส่ง เสริม และคุ้ม ครองสิท ธิส ตรีแ ละสิท ธิ เ ด็ก
(ASEAN Commission on the Promotion and Protection of the Rights of Women
and Children – ACWC)
- คณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติ
(ASEAN Commission on the Promotion and Protection of the Rights of
Migrant Workers – ACMW)
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กาหนดกระบวนการ
สรรหาคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติไว้ ตามมาตรา 204 206
และมาตรา 256 โดยคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษยชนแห่ ง ชาติ
ประกอบด้วยประธานกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติหนึ่ งคน และ
กรรมการอีก 6 คน ซึง่ พระมหากษัตริยเ์ ป็ นผูท้ รงแต่งตัง้ ตามคาแนะนา
ของวุฒสิ ภาจากผู้ซ่งึ มีความรูห้ รือประสบการณ์ด้านการคุ้ มครองสิทธิ
เสรีภาพของประชาชนเป็ นทีป่ ระจักษ์
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
บทบัญญัติมาตรา 257 ของรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550 ก าหนดให้ คณะกรรมการสิท ธิม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ม ีอ านาจหน้ า ที่
ดังต่อไปนี้
1.ตรวจสอบและรายงานการกระทาหรือการละเลยการกระทาอันเป็ นการละเมิด
สิท ธิม นุ ษ ยชน หรือ อัน ไม่ เ ป็ น ไปตามพัน ธกรณี ร ะหว่ า งประเทศเกี่ย วกับ
สิทธิมนุ ษยชนทีป่ ระเทศไทยเป็ นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขทีเ่ หมาะสม
ต่อบุคคลหรือหน่วยงานทีก่ ระทาหรือละเลยการกระทาดังกล่าว เพื่อดาเนินการ
ในกรณีท่ปี รากฏว่าไม่มกี ารดาเนินการตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐ สภาเพื่อ
ดาเนินการต่อไป
2. เสนอเรือ่ งพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีทเ่ี ห็นชอบตามทีม่ ี
ผูร้ อ้ งเรียนว่าบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุ ษยชนและมีปญั หา
เกี่ย วกับ ความชอบด้ ว ยรัฐ ธรรมนู ญ ทัง้ นี้ ตามพระราชบัญ ญัติ ป ระกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธพี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
3. เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีท่เี ห็นชอบตามที่ม ี
ผู้ร้อ งเรีย นว่ า กฎ ค าสัง่ หรือ การกระท าอื่น ใดในทางปกครองกระทบต่ อ
สิทธิมนุ ษยชนและมีปญั หาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนู ญหรือกฎหมาย
ทัง้ นี้ ตามพระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง
4. ฟ้องคดีต่อศาลยุตธิ รรมแทนผูเ้ สียหาย เมื่อได้รบั การร้องขอจากผูเ้ สียหายและ
เป็ นกรณีท่เี ห็นสมควรเพื่อแก้ไขปญั หาการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนเป็นส่วนรวม
ทัง้ นี้ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
5. เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎต่อรัฐสภาหรือ
คณะรัฐมนตรีเพือ่ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน
6. ส่งเสริมการศึกษา การวิจยั และการเผยแพร่ความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชน
7. ส่งเสริม ความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่ วยราชการ องค์การ
เอกชน และองค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน
8. จั ด ท ารายงานประจ าปี เพื่ อ ประเมิ น สถานการณ์ ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษยชน
ภายในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
9. อานาจหน้าทีอ่ ่นื ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
ประเทศไทยมิใช่ประเทศเดียวที่มกี ลไกคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ
แต่ในหลายประเทศทัวโลกก็
่
มสี ถาบันสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติเช่นเดียวกัน โดย
สถาบันสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติเหล่านัน้ มีการรวมตัวกันเพื่อผนึ กกาลังในการ
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุ ษยชนในระดับภูมภิ าคหรือระดับอนุ ภู มภิ าคให้
เข้มแข็งมากยิง่ ขึน้
ความร่วมมือในกรอบสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยง
ใต้ (South East Asia National Human Rights Institutions Forum –SEANF)
SEANF เป็ นกรอบความร่วมมือที่เกิดขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยในระหว่าง
การประชุมเรื่องกลไกสิทธิมนุ ษยชนอาเซียน ครัง้ ที่ 4 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศ
อิน โดนี เ ซีย ผู้แ ทนสถาบัน สิท ธิม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ 4 ประเทศ คือ อิน โดนี เ ซีย
มาเลเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ และไทย ตกลงกันที่จะให้มคี วามร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิ
มนุ ษยชนแห่งชาติ 4 ประเทศให้มากขึน้ โดยหวังว่าจะเป็ นวิธหี นึ่งที่จะช่วยผลักดัน
ให้เกิดเป็ นกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิง่ ขึน้
ล่า สุด สถาบันสิท ธิม นุ ษ ยชนแห่งชาติข องประเทศเมียนม่า ร์ไ ด้เข้า ร่ ว มเป็ น
สมาชิกลาดับที่ 6 และในปี น้ี (พ.ศ. 2557) สถาบันสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติของ
อินโดนีเซีย จะเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมประจาปีของ SEANF
(ติมอร์ เลสเต้ได้เข้าร่วมเป็ นสมาชิกลาดับที่ 5 แต่ไม่ได้เป็ นสมาชิกของอาเซียน)
ข้ อท้ าทาย
 ปจั จุบนั นอกจาก ASEAN
มีกลไกต่างๆ กฎหมาย ระเบียบ ต่างๆ รวมถึงสถาบัน
สิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ และ ภาคประชาสังคมทีช่ ว่ ยปกป้องและคุม้ ครองสิทธิมนุ ษยชน
ในภูมภิ าคแล้ว เมื่อมีการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน อาเซียนจะพบกับ ข้อท้ าทาย
และจะต้องพัฒนาหลายประการ เช่น
1. การทีป่ ระชาชนขาดความตระหนักรูถ้ งึ สิทธิมนุ ษยชน
การพัฒนา การให้ความรูใ้ ห้ประชาชนเข้าใจถึงสิทธิ และทีส่ าคัญไม่ยงิ่ หย่อน
กว่ากันคือ “หน้าที”่
2. การทีป่ จั จุบนั กลไกในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุ ษยชนในอาเซียน มี
อาณัตใิ นการ “คุม้ ครอง” ไม่มากนัก
การพัฒนา การผลักดันให้กลไกสิทธิมนุ ษยชนอาเซียนมีอานาจหน้ าที่ ในการ
“คุม้ ครอง” มากขึน้
3. การขาดกระบวนการต่ า งๆ ที่ จ ะท าให้ ผู้ ป ฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ เ ข้ า ใจประเ ด็ น
สิท ธิม นุ ษยชนและตระหนักถึง ประเด็น สิท ธิม นุ ษยชน โดยเฉพาะในอนาคต อาจมี
แนวโน้มการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนทีซ่ บั ซ้อนและเพิม่ มากขึน้
การพัฒนา การเร่งส่งเสริม เผยแพร่ให้ระบบและกลไกต่างๆ เช่น กระบวนการ
ยุตธิ รรม ระบบราชการเพิม่ ความเข้าใจ และตระหนักถึงประเด็นสิทธิมนุ ษยชนมากขึน้
4. การทีใ่ นอาเซียนมีประเทศทีม่ สี ถาบันสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติเพียง 5 ประเทศ
ทาให้ความร่วมมือระหว่างกันและกับภาครัฐยังไม่เข้มแข็งพอ
การพัฒนา การเร่งผลักดันในประเทศทีย่ งั ไม่มสี ถาบันสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ
ให้มกี ารจัดตัง้ และร่วมมือกันมากขึน้
ขอบคุณ