55-07-01-ทฤษฎีการบริหาร(2007-2010)
Download
Report
Transcript 55-07-01-ทฤษฎีการบริหาร(2007-2010)
ทฤษฎีการบริหาร
การศึกษา
Administrative Theory
กลุ่มทฤษฎีองค ์การแบบคลาสสิค
(Classical Organization
Theory)
LOGO
้ั ม
ทฤษฎีการบริหารแบบดงเดิ
( Classical Organization Theory)
ค.ศ.1887 - 1945
ทฤษฎีการบริหารตามหลัก
วิทยาศาสตร ์
(Scientific Management)
ทฤษฎีการบริหารตาม
หลักการบริหาร
(Administrative
ทฤษฎี
ก
ารบริ
ห
ารแบบ
Management)
ระบบราชการ
(Bureaucratic
Management)
ทฤษฎีการบริหารตามหลัก
วิทยาศาสตร ์
(Scientific Management)
นักทฤษฏีทส
ี่ าค ัญ
Frederic W.Taylor
Frank Bunker Gilbreth &Lillian Moller
Gilbreth
Henry Gantt
Frederic W.Taylor
1856 - 1915
Frederic W.Taylor
ข้อมู ลประวัติ
่ 20 มีนาคม คศ.1856 ฟิ ลาเด
เกิดเมือปี
เฟี ยร ์,สหร ัฐอเมริกา
่ั
การศึกษาจากประเทศฝรงเศสและเยอรมั
น
ปี คศ.1874(อายุ 18 ปี )เป็ นช่างฝึ กหัดใน
โรงงานเล็กๆ
(ฟิ ลาเดเฟี ยร ์)
ปี คศ.1878 ก ้าวสูต
่ าแหน่ งหัวหน้า
ปี คศ.1884 ก ้าวสูต
่ าแหน่ งหัวหน้าวิศวกร
่
ปี คศ.1901
เริ
มการเผยแพร่
แนวความคิด
ทีม
่ า:
Frederic W.Taylor
หลักการ ทฤษฎี
หลักเกณฑ ์ทางวิทยาศาสตร ์
งานเกิดประสิทธิภาพ ใช้หลัก
เหตุผล สามารถพิสูจน์หา
ข้อเท็จจริงได้ แนวคิด
วิทยาศาสตร ์ หาวิธก
ี ารทางานให้ม ี
่ ดผู ป
ประสิทธิภาพมากทีสุ
้ ฏิบต
ั งิ าน
่ ด
ใช้ความรู ้ความสามารถมากทีสุ
ทีม
่ า : http://teacher.snru.ac.th
่
่
Frederic W.Taylor
หลักการ ทฤษฎี
1. พัฒนาความรู ้ในวิธก
ี ารทางานโดย
อาศ ัยหลักวิทยาศาสตร ์
2.ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาคนงาน
โดยใช้หลักเกณฑ ์ทางวิทยาศาสตร ์ :
่
่
เพือให้
ได้คนทีเหมาะสมก
ับงาน ทา
้
่ ามีประสิทธิภาพสู งขึน
ให้งานทีท
3.มีการร่วมมือกันอย่างจริงจังใน
ทีม
่ า : http://teacher.snru.ac.th
ทางานจากทุ
กฝ่าย
Frank and Lillian Gillbreth
ทีม
่ า : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Frank Bunker Gilbreth
ข้อมู ลประวัติ
่ 7 ก.ค. คศ.1868 เมือง Fairfield,
เกิดเมือ
Maine , USA
อาชีพช่างปูน, ช่างร ับเหมาก่อสร ้างและ
วิศวกรในการจัดการ
่ 14 มิถน
เสียชีวต
ิ เมือ
ุ ายน 1924 รวมอายุ
86 ปี
ทีม
่ า : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Lillian Evelyn Moller
ข้อมู ลประวัติ
่ 24 พฤษภาคม 1878 ในโอ๊ค
เกิดเมือ
แลนด์ แคลิฟอร์เนีย
ครอบครัวเป็ นชาวเยอรมัน
การศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย
แคลิฟอร ์เนี ยและแมสซาชูเซต
ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยบราวน์
่ 2 มกราคม 1972
เสียชีวต
ิ เมือ
ทีม
่ า : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Frank and Lillian Gillbreth
ข้อมู ลประวัติ
Frank และ Lillian พบกันทีห
่ ้องสมุดของ
เมืองบอสตัน
Frank แต่งงานกับ Lillian หลังจากจีบเธอได ้
ิ วันในปี 1904 ทัง้ คูอ
เพียงสบ
่ ยากมี
ื่ มั่นว่าเขา
ครอบครัวใหญ่ และ Frank เชอ
Frank and Lillian Gillbreth
้ บเอ็ดคนสาเร็จการศึกษาระดับ
ลูกๆ ทังสิ
่ รูปข ้างบนนี เป็
้ นรูป
มหาวิทยาลัย และมีชวี ต
ิ ทีดี
ครอบคร ัว Gilbreth ตอนไปพักผ่อนที่ Anchor Inn
่ เ้ ป็ นพ่อจะ
ที่ Nantucket Island ในปี 1923 ก่อนทีผู
Frank and Lillian Gillbreth
หลักการ ทฤษฎี
สนับสนุ นแนวคิดของ Taylor
่
ศึกษาเวลาและการเคลือนไหวในการท
างาน
(Time-and-Motion study)
คิดค ้นวิธเี รียงอิฐให ้ได ้งานเป็ นสองเท่าใน
เวลาเท่ากัน
Lillian Gilbreth เป็ น First Lady of
Management
Henry Gantt
ข้อมู ลประวัติ
เกิดที่ Calvert County, Maryland, USA
He graduated from McDonogh School
in 1878 and Johns Hopkins College.
After working as a teacher and
draftsman, he pursued mechanical
engineering. In 1887, he joined
Frederick W. Taylor in the leveraging
the theory of scientific management of
Midvalehttp://www.gantt-chart.biz/henry-laurence-gantt/
Steel and Bethlehem Steel,
Henry Gantt
http://www.gantt-chart.biz/henry-laurence-gantt/
เฮนรี่ แกนท ์ (Henry
Gantt)
้
พัฒนาวิธก
ี ารอธิบายแผนโดยใชกราฟ
เรียกว่า ผังแกนต์ (Gantt Chart)
ควรมีการกาหนดผลประโยชน์ตอบแทน
พิเศษในรูปของโบนัส
สาหรับคนงานทีส
่ ามารถทางานได ้ตามที่
มอบหมายในแต่ละวัน
Gantt Chart
Activity
วิจัยตลาด
พัฒนาผลิตภัณฑ์
โฆษณา
ั พันธ์
ประชาสม
สง่ เสริมการขาย
สารวจความพอใจ
ของลูกค ้า
ปรับปรุงเว็บไซต์
Apr
May
Jun
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
Jan
Feb
Mar
$
้ั ม
ทฤษฎีการบริหารแบบดงเดิ
( Classical Organization Theory)
ค.ศ.1887 - 1945
ทฤษฎีการบริหารตามหลัก
วิทยาศาสตร ์
(Scientific Management)
ทฤษฎีการบริหารตาม
หลักการบริหาร
(Administrative
ทฤษฎี
ก
ารบริ
ห
ารแบบ
Management)
ระบบราชการ
(Bureaucratic
Management)
ททฤษฎีการบริหารตามหลักการ
บริหาร (Administrative
Management)
นักทฤษฏีทส
ี่ าค ัญ
Henri Fayol
Chester Barnard
Luther Gulick
Henri Fayol : อองรี ฟา
โยล
อองรี ฟาโยล (Henri Fayol) มีชวี ต
ิ อยู ่ในช่วง ปี ค.ศ
Henri Fayol : อองรี ฟา
โยล
•
•
•
•
มีชวี ต
ิ อยูใ่ นช่วง ปี ค.ศ. 1841-1926
่ั
เป็ นชาวฝรงเศส
เป็ นนักเศรษฐศาสตร ์และนักทฤษฎีทน
ุ
นิ ยมเสรีแนวใหม่ (neoclassical
economic)
้ งจากสถาบันเหมืองแร่ทมี
การศึกษาขันสู
ี่
่ นภาษาฝรงเศสว่
่ั
ชือเป็
า(des Mines de
Saint-tienne) ในปี ค.ศ. 1860
่ ษท
อายุได ้ 19 ปี ทางานทีบริ
ั เหมืองแร่ชอื่
Henri Fayol :
อองรี
ฟาโยล
แบ่งกิจกรรมของอุตสาหกรรมออกเป็ น 6 กลุม
่
1. กิจกรรมเทคนิ ค (การผลิตและการประกอบ
อุตสาหกรรม)
2. กิจกรรมการค ้า(การซือ้ การขาย และการ
่
แลกเปลียน)
3. กิจกรรมการเงิน (การหาเงินทุนและสินเชือ่ การใช ้
เงินทุนอย่างเหมาะสม)
4. กิจกรรมความมั่นคง ( การคุ ้มครองทร ัพย ์สมบัต ิ
การคุ ้มครองบุคคล)
5. กิจกรรมทางบัญชี (การควบคุมสินค ้า การจัดทางบ
หลักการ ทฤษฎี
(POCCC)
o Planning การวางแผน
o Organizing การจัดองค์การ
o Commanding การบังคับบัญชา
o Coordinating การประสานงาน
o Controlling การควบคุม
่ ประสิทธิภาพ
หลักการจัดการทีมี
14 ประการ
1.การแบ่งงานกันทา (Divison of work)
2.อานาจ+ความรับผิดชอบผู ้บริหารควร
ั สว่ น
ได ้สด
3.วินัย (Discipline)
4.เอกภาพการบังคับบัญชา (Unity of
command)
5.มีทศ
ิ ทางทางานเดียวกัน (Unity of
่
หลักการจัดการทีมี
ประสิทธิภาพ 14 ประการ
6.ผลประโยชน์สว่ นตัวขึน
้ อยูก
่ บ
ั สว่ นรวม
7.ค่าจ ้างควรพิจารณาจากผลงาน
8.การรวมอานาจ (Centralization)
9.สายการบังคับบัญชา (Scalar chain)
10.ชว่ งการควบคุม (Scalar of control)
11.ความเสมอภาค (Equity)
่ ประสิทธิภาพ 14
หลักการจัดการทีมี
ประการ
12. ความมั่งคงในงาน
13. ความคิดริเริม
่ สร ้างสรรค์
(Initiative)
14. ความสามัคคี
Chester Barnard
Chester Barnard (1886-1961)
http://aphinant.aru.ac.th/?page_id=477
Chester Barnard
Chester Irving Barnard – เชสเตอร ์ เออวิง่
บาร ์นาร ์ด
เกิด : 7 พ.ย. 1886 เป็ นชาว อเมริกน
ั
้
การศึกษา : ได ้ร ับตาแหน่ งหลายตาแหน่ งทังภาคร
ัฐ
และเอกชน และได ้ร ับปริญญาเอกกิตติมศักดิถึ์ งเจ็ด
ปริญญา แม้วา่ เขาจะไม่มแี ม้ป ริญญาตรีเลยก็ตาม
จุดเน้น : การพัฒนาองค ์กร
การทางาน : ผูบ้ ริหารบริษท
ั โทรคมนาคม Barnard
่ แนวคิดในการพัฒนา
นับเป็ นบุคคลสาคัญคนหนึ่ งทีมี
องค ์กร
http://aphinant.aru.ac.th/?page_id=477
เสียชีวต
ิ 7 มิ.ย.1961
แนวคิดของ Chester
Barnard
ความคิดของ Barnard ในหนังสือ The Functions of
the Executive สรุปได ้ดังนี ้
้
่
1. องค ์การเกิดขึนมาจากความจ
าเป็ นของคนทีจะ
่
ร่วมมือกันทางานบางอย่างให ้บรรลุเป้ าหมาย ซึงงาน
ดังกล่าวนั้น คน ๆ เดียวทาเองไม่ได ้ เพราะมีข ้อจากัด
ต่าง ๆ ทางกายภาพ ชีววิทยา สังคม และจิตวิทยา
้ สองคนขึนไปมาร่
้
2. การนาเอาคนตังแต่
วมมือกันทางาน
ไม่ใช่ของง่าย จาเป็ นต ้องมีการจัดระบบความร่วมมือกัน
้
(cooperative system) ขึนมา
http://vup.stou.ac.th/source/cscamnon/33711/module/Module%203/docs/Topic%203.6.pdf
แนวคิดของ Chester
Barnard
่
่
3. องค ์การจะดารงอยูไ่ ด ้ต่อเมือคนที
มารวมกั
นทางานได ้
สาเร็จ คือบรรลุเป้ าหมายขององค ์การ (เรียกว่าทางาน
แบบมีประสิทธิผล) และสามารถสนองความต ้องการของ
ปัจเจกบุคคลด ้วย โดยจัดระบบการกระจายผลประโยชน์
่
ตอบแทนต่อสมาชิกทีเหมาะสม
(เรียกว่า ทางานแบบมี
ประสิทธิภาพ) สมาชิกทุกคนจะมีความกระตือรือร ้น
้
ตังใจท
างาน (willingness to cooperate) มี
่ นและกันเป็ นอย่างดี
ความสามารถในการติดต่อซึงกั
(communication) และสมาชิกทุกคนต่างยึดมั่นใน
เป้ าหมายหรืออุดมการณ์รว่ มขององค ์การ
แนวคิดของ Chester
Barnard
้
4. ความอยู่รอดขององค ์การขึนอยู
่กบั ความสามารถ
่
ของฝ่ ายบริหาร (executive) ในฐานะผูน้ าองค ์การทีจะ
่ เช่น จัดเรืองการติ
่
สร ้างระบบความร่วมมือทีดี
ดต่อ การ
ร ักษากาลังใจในการทางานของปัจเจกบุคคล และการ
่ าหมายขององค ์การ
เชิดชูธารงไว ้ซึงเป้
่ ดสินใจด ้วยความร ับผิดชอบ
5. ฝ่ ายบริหารมีหน้าทีตั
ภายในกรอบของศีลธรรมอันดี
Luther Gulick
http://american-education.org/972-gulick-luther-18651918.html
Luther Gulick
่ นที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1892 ทีเมื
่ อง
เกิดเมือวั
Osaka ประเทศญีปุ่่ น
เป็ นชาว American แต่เนื่ องจากบิดาเป็ น
่ ่ น Gulick จึงอาศัยอยู่ที่
Missionary ทีนั
่
Osaka เป็ นเวลา 12 ปี จึงย ้ายกลับมาทีประเทศ
America
่
จบPh.D ทีมหาวิ
ทยาลัย Columbia
University.Gulick เห็นว่าการบริหารจัดการ
ของ America ไม่มป
ี ระสิทธิผลจึงเกิดแนวคิด
Luther Gulick
POSDCORB
P (Planning) การวางแผน : เป็ นการกาหนดสงิ่ ที่
ต ้องการ
และวิธก
ี ารเพือ
่ ให ้บรรลุผลตาม
ต ้องการ
O (Organizing) การจัดองค์การ : เป็ นการกาหนด
โครงสร ้างของหน่วยงาน
เพือ
่ ให ้แสดงบทบาท/หน ้าทีแ
่ ละการใช ้
อานาจ
S (Staffing) การบริหารบุคคล : การคัดเลือก การพัฒนา
และรักษาบุคลากร
D (Directing) การสงั่ การ : การใชอ้ านาจสงั่ การตาม
Luther Gulick
การนาทฤษฎีไปประยุกต ์ใช้
้ ้ทัง้ รายบุคคลและ
สามารถนาไปใชได
องค์กรเพือ
่ ให ้บรรลุเป้ าหมายหรือ
วัตถุประสงค์ทก
ี่ าหนดไว ้
ตรวจสอบได ้ง่าย
ั ทีด
สร ้างลักษณะนิสย
่ ใี นการบริหาร
จัดการ
้ั ม
ทฤษฎีการบริหารแบบดงเดิ
( Classical Organization Theory)
ค.ศ.1887 - 1945
ทฤษฎีการบริหารตามหลัก
วิทยาศาสตร ์
(Scientific Management)
ทฤษฎีการบริหารตาม
หลักการบริหาร
(Administrative
ทฤษฎี
ก
ารบริ
ห
ารแบบ
Management)
ระบบราชการ
(Bureaucratic
Management)
ทฤษฎีการบริหารตามหลักการ
บริหาร (Administrative
Management)
นักทฤษฏีทส
ี่ าค ัญ
Max Weber
Max Weber
อภินน
ั ท ์ จ้นตะนี :
แมกซ ์ เวเบอร์ (Max Weber)
ประว ัติ
่ นที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2407
เกิดเมือวั
เกิดในเมืองเออร ์เฟิ ร ์ต (Erfurt)
่ มคือ Maximilian Carl Emil Weber
ชือเดิ
เป็ นนักสังคมวิทยาและนักเศรษฐศาสตร ์การเมือง
ชาวเยอรมันในปี 2425 เข ้าเรียนนิ ตศ
ิ าสตร ์
่
ทีมหาวิ
ทยาลัยไฮเดลเบิร ์ก (University of Heidelber
และมหาวิทยาลัยเบอร ์ลินจนจบปริญญาเอกด ้านกฎหมา
่ วนิ ค เมือวั
่ นที่ 14 ม
เวเบอร ์เสียชีวต
ิ ด ้วยโรคปอดบวมทีมิ
่ าคัญ
ผลงานทีส
• เป็ นผู ้ก่อตัง้ วิชาสงั คมศาสตร์สมัยใหม่ และรัฐประศา
ิ้ คือ "ทิศทางของประ
• อายุ 13 เขียนความเรียง 2 ชน
พร ้อมกับการอ้างอิงพิเศษถึงจุดยืนของจักรพรรติแ
"อาณาจักรโรมัน ตัง้ แต่ชว่ งของคอนสแตนตินทีห
่ นึง่
อพยพของประเทศ"
• ความเรียง “จริยธรรมโปรเตสแตนต ์และจิตวิญญา
่ นอา
ื่ เสย
ี งอีกชน
ิ้ คือ “การเมืองในฐานะทีเป็
• งานทีม
่ ช
ี อ
(Politics as a Vocation) ซงึ่ เขาได ้นิยาม "รัฐ" ว่าค
ซงึ่ ผูกขาดการใชก้ าลังทางกายภาพทีถ
่ ก
ู กฎหมาย
การเมืองจึงเป็ นเรือ
่ งของอานาจ
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy)
พิจารณาได ้เป็ น 2 แบบ
แยก
่ นสถาบันทางสังคม (social institu
1. Bureaucracy – ในฐานะทีเป็
นั่นคือ เป็ นสถาบันการบริหาร / การปกครองของรัฐ
1.1 ถือเป็ นสถาบันหนึ่ งของกระบวนการในการปกครองประเทศ
่ หน้าที่ ต ้องปกป้ อง ดูแล ร ักษาผลประโยชน์บ ้าน
1.2 เป็ นสถาบันทีมี
่ ่นคง ยากต่อการเป
1.3 ต ้องการอิสระในการทางาน เป็ นสถาบันทีมั
่ น รูปแบบหนึ่ งของการจัดองค ์การ
2. bureaucracy - ในฐานะทีเป็
(a form of organization) ในแง่นี ้ bureaucracy
2.1 ระบบการบริหาร หรือระบบการทางานระบบหนึ่ ง
่ ยกว่า “Weberian Bureaucracy”
2.2 มีโครงสร ้างแบบทีเรี
่ สามารถแก
่
่
2.3 เป็ นสิงที
้ไขเปลียนแปลงให
้ ตามความเหมาะสมกับส
่
วคิดเกียวกับการจัดองค
์การแบบระบบราชการ
ข้อสมมติฐาน
องค์การแบบระบบราชการเป็ น
ิ ธิภาพ ประสท
ิ ธิผล
องค์การทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ และมีประสท
และประหยัดทีส
่ ด
ุ เหตุผล
ั ความมีเหตุ
1. ยึดหลักการบริหารทีอ
่ าศย
มีผล และความถูกต ้องตามกฎหมายในการ
ปฏิบต
ั งิ าน
2. มีการแบ่งงานกันทาอย่างเป็ นทางการ
ตามตัวบทกฎหมาย
ั หลักความรู ้ความสามารถ
3. อาศย
(ระบบคุณธรรม) เป็ นเกณฑ์ในการบริหารงาน
บุคคล
4. สามารถพยากรณ์พฤติกรรมหรือ
บการใช้
อ
านาจในการปกครองบั
ง
คับบั
ญ
ชา
ตามแนวคิดของ Max Weber แบ่งเป็ น 3 รูปแบบ
-Charismatic Domination รูปแบบการใชอ้ านาจ
ั บารมี
เฉพาะตัวแบบอาศย
กลไกลการบริหารทีใ่ ชคื้ อ Dictatorship(อานาจเผด็จ
การ),communal(อานาจสว่ นกลาง)
-Traditional domination รูปแบบการใชอ้ านาจ
แบบประเพณีนย
ิ ม
ั ดินา / เจ ้าขุนมูล
-Feudal / Patrimonial (ระบบศก
นาย) รูปแบบการใชอ้ านาจตามกฎหมาย (Legal
domination)
้
่ าคัญ 7
ประกอบด ้วยโครงสร ้างพืนฐานที
ส
ารแบบระบบราชการตามแนวคิ
ดของ Max Weber
ประการดังนี ้
้ (hierarchy)
1. หลักลาดับขัน
2. หลักความสานึ กแห่งความร ับผิดชอบ
(responsibility)
3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality)
4. การมุ่งสูผ
่ ลสาเร็จ (achievement
orientation)
5. หลักการทาให ้เกิดความแตกต่างหรือความ
ชานาญเฉพาะด ้าน (differentiation,
specialization)
6. หลักระเบียบวินัย (discipline)
1. หลักลาดับขัน
้ (hierarchy) การสงั่ การและ
การควบคุมมีความรัดกุม ทาให ้การดาเนินงานเป็ นไป
ิ ธิภาพเป็ นการบริหารทีเ่ น ้นกฎเกณฑ์
อย่างมีประสท
และขัน
้ ตอน
2. หลักความสานึกแห่งความรับผิดชอบ
(responsibility) หมายถึง การ รับผิดและรับชอบต่อ
การกระทาใด ๆ ที่ (responsibility) ตนได ้กระทาลง
ไปและความพร ้อมที่ จะให ้มีการตรวจสอบโดย
ผู ้บังคับบัญชาอยูต
่ ลอดเวลาด ้วย
3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality)
ความถูกต ้องเหมาะสมของแนวปฏิบต
ั ท
ิ จ
ี่ ะนามาใช ้
เป็ นแนวทางในการดาเนินงานให ้บรรลุผลอย่างมี
ิ ธิภาพ
ประสท
ิ ธิผล (effective) การทางานหรือการ
- ประสท
ดาเนินกิจการใด ๆ ทีส
่ ามารถประสบผลสาเร็จตาม
เป้ าหมายทีก
่ าหนดไว ้
ิ ธิภาพ (efficiency) ความสามารถ
-ประสท
้ พยากรบริหารต่าง ๆ ทีม
ในการทีจ
่ ะใชทรั
่ อ
ี ยู่ ซงึ่
ได ้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครือ
่ งมือ เครือ
่ งใช ้
เวลาไปในทางทีจ
่ ะก่อให ้เกิดประโยชน์ตอ
่ การ
ดาเนินงานนัน
้ ได ้มากทีส
่ ด
ุ
- ประหยัด (economic) ความสามารถในการ
ทีจ
่ ะประหยัดทรัพยากรบริหาร แต่สามารถทีจ
่ ะ
ให ้บริการ หรือผลิตออกมาให ้ได ้ระดับเดิม
5. หลักการทาให ้เกิดความแตกต่างหรือการมี
ความชานาญเฉพาะด ้าน (Specialization) ลักษณะทาง
โครงสร ้างขององค์การแบบระบบราชการ ต ้องมีการแบ่ง
งาน และจัดแผนกงาน หรือจัดสว่ น
งาน (departmentation) ขึน
้ มา เพราะภารกิจการงาน
ขององค์การขนาดใหญ่มจ
ี านวนมากจึงต ้องมีการแบ่ง
งานทีต
่ ้องทาออกเป็ นสว่ นๆ แล ้วหน่วยงานมารองรับ
6. หลักระเบียบวินัย (discipline) ต ้องมีการ
กาหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึน
้ มาเพือ
่ เป็ น
ิ ทุกคนใน
กลไกการควบคุมความประพฤติของสมาชก
องค์การ
ี (Professionalization) ความ
7. ความเป็ นวิชาชพ
ี “รับราชการ” นัน
เป็ นวิชาชพ
้ ผู ้ปฏิบต
ั งิ านจะต ้องมี
ความรู ้เกีย
่ วกับ กฎ ระเบียบ ข ้อบังคับ ตลอดจนตัวบท
กฎหมายต่าง ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการปฏิบต
ั งิ านใน
ข้อดีของระบบราชการ
้
มีกฎเกณฑ ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และขันตอน
การปฏิบต
ั ท
ิ ช
ี่ ัดเจน
่
การทางานเปรียบเสมือนการผลิตสิงของด้
วย
่
เครืองจักร
่
ผู ป
้ ฏิบต
ั งิ านต้องมีความรู ้เกียวกับ
กฎ ระเบียบ
้
ขันตอนการปฏิ
บต
ั งิ าน และต้องทาตามคาสัง่
ของผู บ
้ งั คับบัญชาอย่างเคร่งคร ัด
การแบ่งงานกันทาตามความชานาญเฉพาะ
ด้าน
่ ัดเจน
องค ์การแบบระบบราชการ มีหลักการทีช
www.themegallery.com
ข้อเสียของระบบราชการ
ทาให้การทางานเกิดความล่าช้า
่
โต เทอะทะ มีงาน
เป็ นระบบการทางานทีใหญ่
จานวนมาก ศูนย ์อานาจอยู ่ทผู
ี่ บ
้ งั คบ
ั บัญชา
ระด ับสู ง
มองคนเป็ นแค่ว ัตถุสงของ
ิ่
่ งเหมือน
เป็ นรู ปแบบของการจัดองค ์การทีแข็
กรงเหล็ก (iron cage)
ทาให้คนกลายเป็ นหุ่นยนต ์ (yesman or
organization man)
www.themegallery.com
สมาชิก
1 นายจุมพล ตาปลาบ
หัวหน้า
2 นางพิไลลักษณ์ ตา
3 ปราบ
นายถนอม คาเพาะ
4
5
6
นายศุภกิจ คาสิงห ์
วงษ ์
นางสาวรุจริ า ชาดา
นายคาโพธิ ์ ศรี
สุพรรณ เลขาฯ
7 นางสาวสมกมล ปราณประดิษฐ ์
ผูช
้ ว่ ย เลขาฯ
Add your company slogan
www.themegallery.com
LOGO