การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)

Download Report

Transcript การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)

โครงการยกระดับคุณภาพผู้บริหารและครูทงั ้ ระบบตามแผนปฏิบตั ิ การไทยเข้มแข็ง
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เครือข่าย
การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
(Best Practice)
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เป็ นเอกสารที่วิทยากรหลักจัดทาขึ้นเพื่อ
ประกอบการพัฒนาวิทยากรแกนนา และให้
วิทยากรแกนนาใช้ในการฝึ กอบรม ซึ่งเป็ น
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาทั ่วประเทศ
หัวข้ อการฝึ กอบรม
ช่ วงเช้ า
Part 1: เกริ่นนาและปูพนื ้ ความรู้
พักรั บประทานของว่ าง
Part 2: จากหลักบริหารสู่การปฏิบัตทิ ่เี ป็ นเลิศ
พักรั บประทานอาหารกลางวัน
9:00-10:30 น.
10:30-10:45 น.
10:45-12:00 น.
12:00-13:30 น.
ช่ วงบ่ าย
Part 3: กรณีศกึ ษา
พักรั บประทานของว่ าง
Part 4: สรุ ปบทเรี ยน
13:30-15:00 น.
15:00-15:15 น.
15:15-16:30 น.
Part 1: เกริ่นนา และปูพืน้ ความรู้
ท่านคุ้นเคยกับเหตุการณ์ ดงั ต่อไปนี้ หรือไม่
“กระบวนการทางานในสถานศึกษาล่าช้า ”
“ปัญหาเดิมๆ เกิดขึน้ ซา้ ๆ ไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด”
“บุคลากรในสถานศึกษาทางาน
แบบผ่านไปวันๆ ขาดแรงจูงใจ ไม่กระตือรือร้น”
ท่านลองตอบคาถามต่อไปนี้ ในฐานะผูบ้ ริหาร
สถานศึกษา
เมื่อมีปัญหาใดปัญหาหนึ่ งเกิดขึน้ ภายในสถานศึกษา
สิ่งที่ท่านมักจะเริ่มทาเป็ นสิ่งแรก คือ
ก. คิดว่าท่านจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการแก้ไขปญั หาด้วยตัวของท่านเอง
เพียงลาพัง
ข. พิจารณาว่าปญั หานัน้ เกีย่ วข้องกับผูใ้ ดบ้างในสถานศึกษาเพือ่ ให้คน
เหล่านัน้ ได้มสี ว่ นช่วยในการแก้ปญั หา
วิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น ที่ท่านเลือกใช้ คือ
ก. วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปญั หาจากข้อมูลทีท่ า่ นหาได้เอง โดยท่าน
เป็ นผูก้ าหนดวิธกี ารแก้ดว้ ยตัวของท่านเอง แต่จะสังการให้
่
ผอู้ ่นื เป็ นผูน้ าวิธกี าร
นัน้ ไปดาเนินการ
ข. สอบถามความคิดเห็นจากผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับปญั หานัน้ ๆ และนามา
วิเคราะห์เพือ่ หาวิธกี ารทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการใช้แก้ไขปญั หา
ในฐานะที่ท่านเป็ นผูบ้ ริหารสถานศึกษา หรือหัวหน้ างาน
ท่านมีความเชื่อ ดังนี้
ิ ด และประสบการณ์ การทางานของท่านเองมากที่สดุ
ก. เชื่อมันในความค
่
ข. เชื่อว่าผูท้ ี่มีประสบการณ์ จากการปฏิบตั ิ งานจริง จึงจะเป็ นผูร้ ้วู ิ ธีการแก้ไข
ปัญหา หรือปรับปรุงงานนัน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตลอดระยะเวลาที่ ท่ า นบริ ห ารงานมา ท่ า นได้ ใ ช้
วิธีการสื่อสารกับผู้ปฏิบตั ิ งานทุกระดับภายในสถานศึกษา
เพื่อขอความคิดเห็นจากพวกเขามากน้ อยเพียงไร
ก. น้ อยมากหรือแทบไม่เคยเลย
ข. เป็ นประจา สมา่ เสมอ
ความหมายของการปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
(Best Practice)
American Productivity and Quality Center
(1996)
Best Practices are leadership, management,
or operational methods or approaches that lead
to exceptional performance.
ความหมายของการปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
(Best Practice)
การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ (Best Practice) เป็ นวิธกี าร
ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เพือ่ นาไปสูก่ ารบรรลุ
เป้าหมายของสถานศึกษา ตอบสนองความต้องการและ
ความคาดหวังของชุมชน ผูป้ กครอง และนามาสูค่ วาม
เป็ นเลิศในการดาเนินการ
การเกิดขึน้ ของ Best Practice
 บุคคล
 ปัญหาอุปสรรค
 แรงขับเคลื่อน
กระบวนการกระตุ้นและรวบรวมความคิด
สู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
ความเป็นเลิศ
ผลงาน
วัฒนธรรม
ทีมงาน
7 วัดผล ทบทวน และปรับปรุง
6 ยกย่อง ชมเชย
และประกาศความสาเร็จ
5 ทบทวนเพือ
่ ขยายผลความคิด
จัย
ปัจ สนุน
ับ
สน
4 นาความคิดไปปฏิบัต ิ
3 ประเมินความคิด และให ้
ข ้อมูลย ้อนกลับเพือ
่ การปรับปรุง
ย
บา
ย
นโ
1 กระตุ ้นและเปิ ดรับความคิด
ผู ้นา
2 ดาเนินการตามขัน
้ ตอน
การเสนอความคิด
กรณี ศึกษา
โปรดอ่านเอกสาร กรณี ศึกษา : พระสหายแห่งสายบุรี
และร่วมอภิปรายในประเด็น ดังต่อไปนี้
1) ท่านได้เห็นตัวอย่างที่ดีในการบริหารงานของ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ในด้านใดบ้าง
2) กรณี ศึกษาดังกล่าวสามารถปรับใช้กบั สถานศึกษาของท่านเพื่อพัฒนาสู่
ความเป็ นเลิศได้อย่างไร
Part 2: จากหลักบริหารสู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
การวิเคราะห์บริบท :
ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต
การวิเคราะห์บริบททาให้ผูบ้ ริหารเกิดความเข้าใจ เห็นความสาคัญในการ
ท าการเปลี่ย นแปลงองค์ก าร หรือ สถานศึก ษา ที่ส อดคล้อ งกับ บริบ ทภายใต้
เทคนิคการดาเนินการตามกระบวนการจิตตปญั ญา คือ การมองเห็นคุณค่าของ
สิง่ ต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบสถานศึกษา และสามารถนาสิง่ ต่าง ๆ เหล่านั ้นมาใช้ให้
เกิดประโยชน์ ต่อการบริหารสถานศึกษาด้วย วิธกี ารคิดวิเคราะห์เชิงระบบ คือ
การมองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันของสิง่ ต่างๆ ที่อยู่แวดล้อมสถานศึกษา
พิจ ารณาถึง ผลกระทบต่ า ง ๆ ที่จ ะเกิด ขึ้น จากบริบ ทของสถานศึก ษา ท าให้
ผูบ้ ริหารสามารถจัดวางยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาได้อย่างถูกต้องสอดคล้องกับ
เป้าหมายในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
เป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้ผูบ้ ริหารเข้าใจหลักการสาคัญของธรรมาภิบาลและ
นาไปสู่การปฏิบตั ิในสถานศึกษา สาหรับการบริหารตามหลักธรรมาภิบ าลนัน้
มีห ลัก การส าคัญ 6 หลัก การได้แ ก่ หลัก นิ ติธ รรม หลัก คุ ณ ธรรม หลัก ความ
โปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุม้ ค่า ซึง่ ใช้เป็ น
หลักการทาให้การบริหารงานภายในสถานศึกษาเกิดความสมดุลระหว่าง ฝ่าย
บริหาร ฝา่ ยปฏิบตั ิ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน้ นัน้ ทาให้ผเู้ กี่ยวข้อง
ทุ ก ฝ่า ยได้ร บั ความสุ ข และความส าเร็จ ในการท างานภายในองค์ก ารของตน
เกิดความมันใจในการบริ
่
หารคุณภาพการจัดการศึกษา เพราะยึดหลักการทางาน
แบบมีสว่ นร่วมและโปร่งใส่สามารถตรวจสอบได้
การนาองค์การและเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
เป็ นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้ผบู้ ริหารทราบถึงวิธกี ารทีผ่ บู้ ริหารองค์การชีน้ าและ
กาหนดวิสยั ทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสัน้ ระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวังในผล
การดาเนินการขององค์การ โดยอาศัยการสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศ ระบบการ
กากับดูแลตนเองทีด่ ี ความรับผิดชอบต่อสังคม และการสนับสนุนชุมชน อีกทัง้
ผูบ้ ริหารยังจะได้ทราบถึงเทคโนโลยีการบริหารการศึกษาและทักษะทีจ่ าเป็ นต่อ
การบริหารให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้
การวางแผนและการกาหนดยุทธศาสตร์
เป็ นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้เห็นแนวทางการวางแผนและการกาหนดยุทธศาสตร์
ในการบริหารองค์การให้ประสบผลสาเร็จและมุง่ สูผ่ ลสัมฤทธิ ์อย่างมีประสิทธิภาพ
กล่าวคือ เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ (Outcome) ที่องค์การปรารถนา ซึ่ง
เชื่อมโยงกับทุก ๆ มิติทงั ้ 4 มิติ เพื่อให้นาไปสู่ผลลัพธ์ท่ีองค์การต้องการ ผ่าน
กระบวนการสร้างคุณค่า (Value-Creating Processes) นอกจากนี้การวางแผน
และการกาหนดยุทธศาสตร์เป็ นเครือ่ งมือทีจ่ ะสือ่ สารให้เราได้ทราบถึงทิศทางและ
การเชื่อมโยงเป้าหมายต่าง ๆ ขององค์การในแต่ละด้านได้อย่างเป็ นรูปธรรม และ
ถ่ายทอดยุทธศาสตร์ไปสูค่ นในองค์การให้มเี ข้าใจได้อย่างชัดเจน ซึ่ งจะทาให้ทงั ้
ผูบ้ ริหาร และบุคลากรทางการศึกษาสามารถนายุทธศาสตร์ไปปฏิบตั ใิ ห้ เกิดผล
ได้อย่างแท้จริง
การนาแผนยุทธศาสตร์ส่กู ารปฏิบตั ิ
เป็ น แนวทางการบริห ารการศึก ษาสาหรับ ผู้บ ริห าร โดยใช้ก ารก าหนด
ตัวชี้วดั ระดับบุคคลเป็ นเครื่องมือช่วยในการถ่ายทอดแผนปฏิบตั ิ การไปสู่การ
ปฏิบตั ใิ ห้บรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์หลัก จัดสรรทรัพยากร ให้
เกิดความมันใจว่
่ าสามารถปฏิบตั ติ ามแผนได้สาเร็จ ทาให้ผลที่เกิ ดขึน้ จากการ
ปฏิบตั ิตามแผนมีความยังยื
่ น โดยใช้การกาหนดตัวชี้วดั ระดับบุค คลขึน้ เพื่อให้
เกิดผูร้ บั ผิดชอบตามแผนปฏิบตั กิ ารของสถานศึกษา
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
เนื่ อ งจากบริบ ทของสัง คมมีก ารเปลี่ย นแปลงของป จั จัย แวดล้อ มอย่ า ง
ต่ อ เนื่ อ งและรวดเร็ว และเป็ น ส่ ว นที่ม ีผ ลกระทบต่ อ การบริห ารการศึก ษ า
สถานศึกษา จึงจาเป็ นต้องดาเนินการเพื่อตอบสนองต่อปจั จัยจากสภาพแวดล้อม
ที่เกิดขึน้ ตัง้ แต่การหาเหตุของการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบที่เกิดขึ้ นหลังจากมี
การเปลี่ย นแปลงและบทบาทหน้ า ที่ข องผู้ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ การขับ เคลื่ อ นการ
เปลี่ยนแปลง โดยสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กบั สถานศึกษาอย่างเป็ นระบบ
และเป็ นรูปธรรมมากขึน้
การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม
กระบวนการสร้ า งเครือ ข่ า ยและการมีส่ ว นร่ ว มเป็ น ป จั จัย ส าคัญ ที่
สนั บ สนุ น และส่ ง เสริม ให้ ส ถานศึก ษามีพ ลัง ในการพัฒ นาประเทศอย่ า ง
สร้า งสรรค์ อัน เป็ น เป้ า หมายหลัก ของการพัฒ นาสถานศึก ษายุค ใหม่ ทัง้ นี้
สถานศึก ษาต้ อ งสร้า งระบบการด าเนิ น งานทางการศึก ษาร่ ว มกับ ภาคีท่ี
เกีย่ วข้อง เพือ่ สร้างเครือข่ายการปฏิบตั งิ านอย่างเป็ นระบบร่วมกัน
การควบคุม การวัดประเมิน และการจัดการความรู้
เป็ นเสมือนเส้นเลือดเชื่อมโยงในการขับเคลื่อนการบริหารสถานศึกษา
จากแผนยุ ท ธศาสตร์ ไ ปสู่ ก ารปฏิ บ ัติ ใ ห้ ค รบวงจรและมี ก ารป้ อนกลั บ
เพื่อดาเนินการปรับปรุง ทาให้การบริหารสถานศึกษามีความพร้อมในการ
รับข้อมูลทีม่ คี ุณภาพเชื่อถือได้และใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์ การจัดการ
ความรูเ้ ป็ นการสร้างสินทรัพย์ทางความรูใ้ ห้อยูก่ บั สถานศึกษาโดยการพัฒนา
อย่างเป็ นระบบ ให้องค์ค วามรู้ถูกถ่ายทอดและเก็บรักษาไว้ท่สี ถานศึกษา
และมีก ารแบ่ ง ป นั ความรู้ใ ห้ เ กิด การแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ อ ย่ า งรวดเร็ว ทัว่
ทัง้ สถานศึกษา
การบริหารงานเพื่อความเป็ นเลิศ
ผูเ้ ข้าอบรมร่วมกันอภิปราย “การบูรณาการหลักการบริหาร
สู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ”
Part 3: กรณี ศึกษา
กิจกรรมกลุ่ม
 ผูเ้ ข้าอบรม แบ่งกลุ่ม ศึกษาการบริหารงานของผู้ บริหาร
สถานศึ ก ษาต้ น แบ บ 2544 นา ยประยู ร กิ ติ ว ง ศ์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านสบขุ่น จาก ชุดเครื่อ งมือการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การปฏิบตั ทิ ่เี ป็ นเลิ ศ พร้อมทัง้
อภิปรายร่วมกันในประเด็น “การบริหารงานอย่าง
บูรณาการ สู่การปฏิบตั ิ ทีเ่ ป็ นเลิศ”
กิจกรรมเดี่ยว
ผูเ้ ข้าอบรมทบทวนหลักการบริหาร จากโมดูล 1 ถึง โมดูล 8 และตอบคาถาม
ต่อไปนี้
คาถาม : จากหลักการบริหารทัง้ 8 โมดูล ท่านมีแนวทางในการบูรณาการ
หลักการดังกล่าว เพื่อนามาสู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ (Best Practice)
ในการบริหารสถานศึกษาของท่านได้อย่างไร
Part 4: สรุปบทเรียน
การเกิดขึน้ ของ Best Practice
 บุคคล
 ปัญหาอุปสรรค
 แรงขับเคลื่อน
กระบวนการกระตุ้นและรวบรวมความคิด
สู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ
กระบวนการกระตุน้ และรวบรวมความคิดสูค่ วามเป็ นเลิศ ประกอบไปด้วย
7 ขัน้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 กระตุ้นและเปิดรับความคิด
ขัน้ ตอนที่ 2 ดาเนินการตามขัน้ ตอนการเสนอความคิด
ขัน้ ตอนที่ 3 ประเมินความคิด และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุง
ขัน้ ตอนที่ 4 นาความคิดไปปฏิบตั ิ
ขัน้ ตอนที่ 5 ทบทวนเพื่อขยายผลความคิด
ขัน้ ตอนที่ 6 ยกย่อง ชมเชย และประกาศความสาเร็จ
ขัน้ ตอนที่ 7 วัดผล ทบทวน และปรับปรุง
หลักการบริหารสู่การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ








การวิเคราะห์บริบท : ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต
การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
การนาองค์การและเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
การวางแผนและการกาหนดยุทธศาสตร์
การนาแผนยุทธศาสตร์ส่กู ารปฏิบตั ิ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม
การควบคุม การวัดประเมิน และการจัดการความรู้
การบริหารงานเพื่อความเป็ นเลิศ
Thank You
for your attention