แฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ สู่ การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ ของนางสาวภาวนา ชาวโคกหม้ อ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ องค์ ประกอบของแฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ ส่ ู การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ ข้ อมูลส่ วนตัว - ประวัติ การศึกษา - ประวัตกิ าร ทางาน การพัฒนาการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงาน การพัฒนาการเรียนรู้ จากการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง -

Download Report

Transcript แฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ สู่ การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ ของนางสาวภาวนา ชาวโคกหม้ อ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ องค์ ประกอบของแฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ ส่ ู การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ ข้ อมูลส่ วนตัว - ประวัติ การศึกษา - ประวัตกิ าร ทางาน การพัฒนาการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงาน การพัฒนาการเรียนรู้ จากการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง -

แฟ้มพัฒนาการเรียนรู้
สู่ การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ
ของนางสาวภาวนา ชาวโคกหม้ อ
ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
องค์ ประกอบของแฟ้มพัฒนาการเรียนรู้ ส่ ู การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ
ข้ อมูลส่ วนตัว
- ประวัติ
การศึกษา
- ประวัตกิ าร
ทางาน
การพัฒนาการเรียนรู้
จากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาการเรียนรู้
จากการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง
- Assignment 1 ศึกษางานการประเมิน
- Assignment 2 วิจารณ์ การประเมิน
- Assignment 3 การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
- Assignment 4 การพัฒนา Portfolio สู่ การเป็ นนัก ประเมิน
มืออาชีพ
- The European Foundation for Quality Management
(EFQM)
- Balanced Scorecard (BSC)
- บันทึกภาคสนามการศึกษาดูงานสานักประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
-รายงานการประชุม
- บทความวิจยั เรื่อง
“ปัจจัยที่ส่งผลต่ อการ
ดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาในโรงเรียนระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน”
-ศึกษาจรรยาบรรณของนัก
ประเมินคุณภาพทางการศึกษา
ประวัติการศึกษา
นางสาวภาวนา ชาวโคกหม้ อ
ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์
สาขาสั งคมศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
กาลังศึกษาปริญญาโทคณะศึกษาศาสตร์
สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัติการทางาน
ผู้จัดการศูนย์ วชิ าการ RAC นครปฐม
www.urrac.com
Assignment 1 ศึกษางานการประเมิน
รายงานการวิเคราะห์ ผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ประจาปี
2547
รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
Assignment 1 ศึกษางานการประเมิน(ต่ อ)
ขั้นตอนการทางาน:
1. เลือกศึกษาการประเมินคุณภาพภายในของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ประจาปี
การศึกษา 2547
2.เลือกศึกษารายงานสรุ ปผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก
คณะผูป้ ระเมินภายนอกสานักรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา(สมศ.) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. ศึกษาวิธีการประเมินการศึกษาขั้นอุดมศึกษาของ สมศ.
4. ศึกษาคู่มือดัชนีและเกณฑ์มาตรฐานระบบประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Assignment 1 ศึกษางานการประเมิน(ต่ อ)
ขั้นตอนการทางาน: (ต่ อ)
5. นาข้อมูลที่ได้ศึกษามาสรุ ปประเด็นสาคัญดังนี้
- แนะนาหน่วยงานที่เลือกศึกษาเกณฑ์และองค์ประกอบ
- สิ่ งที่เด่นของเรื่ องที่เลือกศึกษา นาเสนอข้อมูลที่ได้รับการ ประเมินว่าเด่น
พร้อมทั้งเสนอข้อมูลที่อยูใ่ นรายงานที่แสดงว่าเด่น เสนอด้วย
ข้อมูลอะไร
- สรุ ปข้อเสนอแนะของผูป้ ระเมินในจุดที่ตอ้ งการแก้ไข
6.นาข้อมูลจากข้อ 5 มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบระหว่างการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อศึกษา
ความเหมือนและแตกต่างของการประเมินตนเองและการประเมินจากภายนอก
7.สรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรู้จากการศึกษางานการประเมินการศึกษาขั้นอุดมศึกษา และประโยชน์ที่มี
ต่อตนเองและการทางานอาชีพของตนเองในอนาคต
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้
1. มีความคิดว่าการประกันคุณภาพมีความสาคัญอย่างยิง่ เพราะหาก
ระบบ การประกันคุณภาพเป็ นไปด้วยความบริ สุทธิ์ ยุติธรรม และ
ทุกๆฝ่ ายเห็นความสาคัญ ผูถ้ กู ประเมินยอมรับผลการประเมินทั้งใน
จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา โดยจุดเด่นก็ยนิ ดีที่จะพัฒนาให้ดียงิ่ ขึ้น
หรื อรักษาไว้ให้คงอยู่ ส่ วนจุดที่ควรพัฒนาก็แก้ไขปรับปรุ งให้มี
คุณภาพตามาตรฐานที่กาหนด หากทาได้เช่นนี้ การศึกษาชาติจะพัฒนา
ต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ คนไทยก็จะมีคุณภาพและเป็ นกาลังสาคัญใน
การพัฒนาประเทศต่อไป
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้ (ต่อ)
2.การประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ทาให้
หน่วยงานได้สารวจ ตนเองว่าทั้งในมุมมองของตนเองและมุมมองของ
บุคคลภายนอก
3.มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายใน
และภายนอกในระดับอุดมศึกษา
Assignment 2 วิจารณ์ การประเมิน
การประโครงการทางการศึกษา:ทฤษฎีและการปฏิบัติ
Program Evaluation in Education : Theory and Practics
ของ รศ.ดร.ภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท์
วิจารณ์ การประเมินผลการศึกษารายงานการวิเคราะห์
ผลการตรวจสอบประเมินคุณภาพภายใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตบางเขน
ประจาปี 2547
Assignment 2 วิจารณ์ การประเมิน (ต่อ)
ขั้นตอนการทางาน:
1.ศึกษาเกณฑ์การวิจารณ์การประเมิน 4 ข้อ เพื่อนามา
เป็ นหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์
2.วิจารณ์การประเมินโดยใช้เกณฑ์ 4 ข้อ โดยเขียนรายงาน
แต่ละหัวข้อ (แต่ละมาตรฐาน)
3.สรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรู้จากการทางานในครั้งนี้
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้
“ไม่วา่ เราจะทาอะไรก็ตาม เราไม่ควรกลัวการเริ่ มต้น เพราะถ้าเรามัวแต่
กลัวเราก็จะไม่ได้เรี ยนรู ้หรื อพัฒนาตนเลย แต่ถา้ เรากล้าที่จะเริ่ มต้น เราก็จะมีกา้ ว
ต่อไป เกิดการเรี ยนรู ้และสามารถนาสิ่ งที่เรี ยนรู ้มาพัฒนาตนได้”
Assignment 3
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนการปฏิบัติงานประเมินคุณภาพ
1.
2.
คู่มือ
การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
ของครูโรงเรียนเสนานิคม
ติดต่อประสานงานพร้อมส่ งโครงการประเมินกับ
ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนเสนานิคม
ติดต่ออาจารย์ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เพื่อขอ
เข้าสัมภาษณ์และสังเกตการณ์สอนจานวน 4 คน
แผนการปฏิบัตงิ านประเมินคุณภาพ (ต่อ)
3. เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต สัมภาษณ์และพิจารณาเอกสาร
4.
5.
6.
7.
8.
9.
รายงานความคืบหน้าของการปฏิบตั ิงานประเมินคุณภาพต่อ อ.ภาวิณี
ตรวจสอบข้อมูลที่เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวางแผนการเก็บข้อมูลอีกครั้งใน
ส่ วนที่ยงั มีขอ้ มูลไม่พียงพอ
เก็บรวบรวมข้อมูลอีกครั้ง
ประชุมสรุ ปข้อมูลของผูป้ ระเมินทุกคน
นาเสนอรายงานต่อ อ.ภาวิณี
เสนอรายงานต่อโรงเรี ยนเสนานิคม
Assignment 3
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา (ต่อ)
บันทึกภาคสนาม
เกณฑ์การประเมิน
คู่มือการประเมิน
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การนาเสนอรายงานผลการประเมิน
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้
ศึกษาทฤษฎี+ปฏิบัติ = ความเข้ าใจ นาไปปฏิบัตงิ านจริงได้
Assignment 4
การพัฒนา Portfolio สู่ การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ
แฟ้มสาหรับเก็บรวบรวมข้ อมูลทีเป็ นรูปเล่มเอกสาร
แฟ้มพัฒนาการเรียนรู้สู่ การเป็ นนักประเมินมืออาชีพ
(แฟ้มรวบรวมผลงานทั้งหมดและนาเสนอต่ ออาจารย์ )
The European Foundation for Quality Management (EFQM)
EFQM ครั้งที่ 1
EFQM ครั้งที่ 2
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้
จากการศึกษาเรื่ อง The European Foundation for Quality Management (EFQM)
ข้าพเจ้าคิดว่าระบบการศึกษาไทยกาลังเดินมาถูกทางที่นาวิธีการประเมินคุณภาพเข้ามาใช้กบั การศึกษา เพราะเป็ น
สิ่ งที่ทาให้หน่วยงานต่างๆได้สารวจตนเอง มองเห็นจุดดี จุดด้อยของตนเอง แล้วสามารถพัฒนาจุดดีให้ดียงิ่ ขึ้น
และปรับปรุ งแก้ไขจุดด้อยให้หมดไป ส่งผลให้การศึกษาไทยพัฒนาไปในทิศทางที่ดี และสิ่ งสาคัญที่จะทาให้การ
ประเมินการศึกษามีคุณภาพ คือ การพัฒนามาตรฐาน และตัวบ่งชี้ให้เหมาะสมกับการศึกษาไทยมีความเป็ นสากล
สามารถเทียบเคียงกับต่างประเทศได้ นอกจากนี้ควรจะมีการวิจยั เพื่อติดตามผลว่าโรงเรี ยนหรื อสถาบันการศึกษา
ได้นาผลการประเมินไปปฏิบตั ิหรื อไม่ เมื่อปฏิบตั ิแล้วได้ผลเป็ นอย่างไร หรื อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรี ยนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อหา
แนวทางในการแก้ไขหรื อให้ความช่วยเหลือเพื่อให้ระบบการศึกษาของไทยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
Balanced Scorecard (BSC)
การศึกษาข้ อมูลเพิม่ เติม
การใช้ Balanced Scorecard
ในการบริ หารงานเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย
Balanced Scorecard ผศ.ดร.พสุ เดชะริ นทร์
การนาหลักการ Balanced Scorecard
มาประยุกต ใช กับกองทัพอากาศ
วิธีการเรี ยนรู้ที่ประทับใจ
ข้อสอบ
วิธีการเรี ยนรู้ที่ประทับใจ (ต่อ)
กระดาษคาตอบ
บันทึกการศึกษาดูงานสานักประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
บันทึกภาคสนามการศึกษาดูงานสานักประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ประสบการณ์และสิ่ งที่ได้เรี ยนรู้
มีโอกาสศึกษางานในสภาพจริ งจากผูท้ ี่มีประสบการณ์ทางานจริ ง ทาให้ได้ค วามรู้และ
ข้อ มูล ที่ ละเอี ย ดและเกิ ด ความเข้าใจในระบบการประกัน คุ ณ ภาพในระดับ อุ ด มศึ ก ษามากขึ้ น
นอกจากนี้ขา้ พเจ้ายังมีความคิดเห็นว่าการทางานการประกันคุณภาพเป็ นงานที่ยาก ต้องอาศัยความ
ละเอียดรอบคอบ ความเป็ นระบบระเบียบเป็ นขั้นเป็ นตอน ต้องพัฒนาตนเอง พัฒนาระบบอยูเ่ สมอ
เพื่อให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงไปของสังคม และสิ่ งที่ขา้ พเจ้าเห็นว่ายากและสาคัญอย่างมาก คือ
การทาให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจและเห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพ ยินดีที่จะปฏิบตั ิ
ตาม เพื่อพร้อมที่จะร่ วมพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน
รายงานการประชุ ม
วิชา 153513 การประเมินคุณภาพการศึกษาครั้งที่ 2/2550
รายงานการประชุ ม
นาเสนอรายงานการประชุ มครั้งที่ 3
การพัฒนาการเรียนรู้ จากการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง
บทความวิจัยเรื่อง“ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการ ดาเนินการประกัน
คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน”
ศึกษาจรรยาบรรณของนักประเมินคุณภาพทางการศึกษา
จบการนาเสนอ สวัสดีค่ะ