สารสนเทศหรือสารนิเทศ(Information)

Download Report

Transcript สารสนเทศหรือสารนิเทศ(Information)

ข้อมูล (Data)
• ข้อเท็จจริ งต่างๆ ที่มีอยูธ่ รรม ชาติ ข้อมูลดิบที่ยงั ไม่ผา่ นการวิเคราะห์
หรื อการประมวลผล ข้อมูลอยูใ่ นรู ปของ ตัวเลข ตัวหนังสื อ รู ปภาพ
เสี ยง วีดีโอ แผนภูมิ ไม่วา่ จะเป็ นคน สัตว์ สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ที่
เกี่ยวข้องสัญลักษณ์แทนปริ มาณ
ความรู้ (Knowledge)
• สิ่ งที่มนุษย์สร้าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริ ง โดยใช้ ข้อเท็จจริ ง แสดง
ผ่านภาษา เครื่ องหมาย และสื่ อต่าง ๆ โดยมีเป้ าหมายและวัตถุประสงค์
เป็ นไปตามผูส้ ร้าง ผูผ้ ลิตจะให้ความหมาย หรื อมาจากประสบการณ์ตรง
ความรู้ (ต่อ)
• ราชบัณฑิตสถาน (2555, หน้า 4 ) ให้ความหมาย ความรู ้ไว้วา่ สาระ
ข้อมูล แนวคิด หลักการที่บุคคลรวบรวมได้จากประสบการณ์ในวิถีชีวิต
ที่เกิดขึ้น จากการปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคมและ
เทคโนโลยี ประสบการณ์ การศึกษา อบรม การรับทางวัฒนธรรมการรับรู ้
การคิด การฝึ กปฏิบตั ิจนสามารถสรุ ปสาระความรู ้
และนาไปใช้ประโยชน์ได้
องค์ความรู้(Body of knowledge)
1. กระบวนการรวบรวมค้ นคว้ าอย่ างลึกซึง้ และมีส่วนร่ วม
2. กระบวนการทดลองปฏิบัตแิ ละ เนือ้ หา
3. กระบวนการเกิดแนวคิด เนือ้ หา และ แนวทางพัฒนา
เรียกว่ า ความรู้
4. กระบวนการสังเคราะห์ แนวคิด เนือ้ หา แนวทาง
บูรณาการมาเป็ นองค์ รวม เรียกว่ า องค์ ความรู้
ปัญญา
• ความรู้เหตุถึงผล รู ้อย่างชัดเจน
รู้เรื่ องบาปบุญคุณโทษ รู ้สิ่งที่ควรทาควรเว้น
สติปัญญา (wisdom)
ความสามารถโดยรวมของบุคคลที่จะกระทาตามเป้ าหมาย การคิดอย่างมี
เหตุผล และการจัดการกับสิ่ งรอบตัวได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
หรื อ ความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรี ยนรู ้ การคิดหาเหตุผล การ
ตัดสิ นใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนนาความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การ
ปรับปรุ งตังเองต่อสิ่ งแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
และมีประสิ ทธิภาพ และสามารถดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข
การจัดการความรู้
( Knowledge management - KM)
การรวบรวม การสร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู ้
ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด
ความรู ้ และ ปัญญา
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูล ข่าวสาร ความคิดเห็น หรื อประสบการณ์ ที่ผา่ น
กระบวนการประมวลผล และบันทึกไว้ อย่างเป็ นระบบ
ตามหลักวิชาการในสื่ อประเภทต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ และใช้
ประโยชน์ในด้านการศึกษา ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ
ด้านวัฒนธรรม
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ (learning theory)
การเรี ยนรู ้คือกระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คน
สามารถเรี ยนได้จากการได้ยนิ การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การ
เรี ยนรู ้ของเด็กและผูใ้ หญ่จะต่างกัน เด็กจะเรี ยนรู ้ดว้ ยการเรี ยนในห้อง การ
ซักถาม ผูใ้ หญ่มกั เรี ยนรู ้ดว้ ยประสบการณ์ที่มีอยู่
เป้ าหมายการเรี ยนรู้ของมนุษย์
Learn to know เรี ยนเพื่อให้มีความรู ้และมีวิธีการเรี ยนรู ้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ สามารถนาความรู ้ วิธีการเรี ยนรู ้ที่ได้มาไปต่อยอด
แสวงหาหรื อสร้างความรู ้ใหม่เพิม่ ขึ้นได้เรื่ อยๆ
Learn to do เรี ยนเพื่อที่จะทาเป็ น หรื อใช้ความรู ้ไปประกอบอาชีพ
และสร้างประโยชน์แก่สงั คม
Learn to live with the others เรี ยนเพื่อดารงชีวิตอยู่
ร่ วมกับคนอื่นๆ ในสังคมอย่างมีความสุ ข และสร้างสรรค์
Learn to be เรี ยนเพื่อที่จะเป็ นผูท้ ี่รู้จกั ตนเองอย่างถ่องแท้ สามารถ
พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ
ความสาคัญและบทบาทของสารสนเทศ
สารสนเทศคืออานาจ(Information is power)
• ด้านการศึกษา
• ด้านสังคม
• ด้านเศรษฐกิจ
• ด้านวัฒนธรรม
ความสาคัญและบทบาทของสารสนเทศ
• เกิดความรู ้ (Knowledge) และความเข้าใจ
(Understanding) ในด้านต่าง ๆ
• สารสนเทศช่วยสามารถในการตัดสิ นใจ (Decision Making)
ในเรื่ องต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
• สารสนเทศช่วยให้แก่ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและแม่นยา และรวดเร็ ว
ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
การรู้ สารสนเทศ
(Information literacy)
ความรู้ ทักษะ ความสามารถของบุคคลในการตระหนัก
ถึงความต้องการสารสนเทศ การเข้าถึงสารสนเทศและแหล่ง
สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศ และนาสารสนเทศไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่ วนร่ วม
มาตรฐานการรู้ สารสนทศ 5 ด้ าน
กาหนดสารสนเทศที่ตอ้ งการและมีประโยชน์ได้
สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ตอ้ งการได้
สามารถประเมินสารสนเทศและแหล่งได้
สามารถใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิ ทธิภาพเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์
สามารถใช้และนาเสนอสารสนเทศตามจรรยาบรรณและจริ ยธรรม
ทักษะการแสวงหาสารสนเทศ
• ความสามารถและทักษะการแสวงหาและเข้าถึงสารสนเทศ ผูร้ ู ้
สารสนเทศคือผูท้ ี่มีทกั ษะ 6 ประการ
• 1 ทักษะในการกาหนดเรื่ องที่จะค้น
• 2 ทักษะในการวางแผนกลยุทธ์ในการสื บค้น
• 3 ทักษะการค้นและเข้าถึงสารสนเทศ
• 4 ทักษะการใช้สารสนเทศ
• 5 ทักษะการสังเคราะห์สารสนเทศ
• 6 ทักษะการประเมินสารสนเทศ
การวิเคราะห์ สารสนเทศ
การพิจารณาแยกแยะรายละเอียดใน
สารสนเทศ ให้เห็นจุดเด่น-จุดด้อยของสารสนเทศ
ก่อนนาไปใช้ประโยชน์
การสั งเคราะห์ สารสนเทศ
การจัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน
เอาไว้ดว้ ยกัน สรุ ปให้เป็ นประเด็นเดียว เพื่อให้เกิด
โครงสร้างใหม่
การสั งเคราะห์ สารสนเทศ
วิธีการคือ แล้ วนาสารสนเทศทีม่ แี นวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีก
ครั้ง
1.
การกาหนดเรื่องที่จะค้ น
พิจารณาคาสาคัญจากประเด็นปัญหา
ของเรื่ องโดยใช้พจนานุกรมหรื อ
ศัพท์ควบคุม(thesaurus) เพือ่
ทาความเข้าใจชัดเจน
กาหนดขอบเขตเนื้อหา
ด้วยการตั้งคาถาม
ใคร (who)?
ทาอะไร(What)?
ที่ไหน (Where)?
เมื่อไร(When?
อย่างไร(Why)?
ทาไม (How)?
1. การกาหนดเรื่ องที่จะค้ น(ต่ อ)
คัดเลือกหัวข้อเรื่ องใหญ่
หัวข้อเรื่ องรองที่ตอ้ งการ
ด้วยการตั้งคาถาม KWL
ฉันรู ้อะไร (What I know)
มีอะไรบ้างที่ฉนั ควรรู ้
(What I would like to know)
อะไรที่ฉนั รู ้แล้ว
(What I have already know)
กาหนดสารสนเทศที่ตอ้ งการจะค้น
เตรี ยมแผนการค้น
การวางแผนกลยุทธ์ การสืบค้ น
• คิดถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
• ใช้เครื่ องมือ โอแพค อินเตอร์ เน็ต
ดัชนีและสาระสังเขป
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2. การวางแผนกลยุทธ์ การสืบค้ น(ต่ อ)
• เรี ยนรู้การใช้โปรแกรม เทคนิคการใช้
คาสั่งในการสื บค้นและการค้นคืน
ข้อมูล ฯลฯ
3. การค้ นหาและเข้ าถึงสารสนเทศ
แนวทางปฏิบตั ิในการค้นหาหรื อเข้าถึงสารสนเทศ
ทาความเข้าใจในการ
ใช้เครื่ องมือและเทคนิค
วิธีใช้ที่เหมาะสม
กับระบบ
เตรี ยมคาค้นและ
ดาเนินการสื บค้น
ปรับปรุ งคาถามหรื อ
วิธีการสื บค้น
ตรวจสอบ
ผลการสื บค้น
ผลลัพท์
ค้นหาและค้นคืน
สารสนเทศ
การใช้สารสนเทศ
• สารสนเทศมีรูปแบบการนาเสนอที่หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ น
ข้อความตัวเลข ภาพวาด หรื อ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สื่อ
มัลติมีเดีย ผูใ้ ช้จะต้องทราบว่าจะใช้สารสนเทศนั้นได้อย่างไร
และฝึ กปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความชานาญ ที่สาคัญจะต้องมี
จรรยาบรรณในการใช้สารสนเทศ
คุณลักษณะสารสนเทศทีด่ ี





สารสนเทศมีเนื้อหาถูกต้ อง ครบถ้ วน และสมบูรณ์
สารสนเทศตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้
สารสนเทศมีการเรี ยบเรี ยงเนื้อหาเข้าใจง่าย
สารสนเทศมีความเชื่อถือได้ พิจารณาสารสนเทศจากแหล่งที่มา
สารสนเทศมีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์
ความรู้ทเี่ กีย่ วข้ องสารสนเทศ
o
o
o
o
o
o
o
o
o
การรู ้หอ้ งสมุด (Library literacy)
การรู ้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
การรู ้เครื อข่าย (Network Literacy)
การรู ้เกี่ยวกับสิ่ งที่เห็น (Visual Literacy)
การรู ้เกี่ยวกับสิ่ งที่เห็น (Visual Literacy)
การรู ้สารสนเทศดิจิทลั (Digital Literacy)
การมีความรู ้ดา้ นภาษา (Language Literacy)
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
การมีจริ ยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic)
การประเมินสารสนเทศ
สารสนเทศมีเนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์
สารสนเทศตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้
สารสนเทศมีการเรี ยบเรี ยงเนื้อหาเข้าใจง่าย
สารสนเทศมีความเชื่อถือได้ พิจารณาสารสนเทศจาก
แหล่งที่มา
• สารสนเทศมีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์
•
•
•
•
จริ ยธรรม (Moral)
จริ ยธรรม คือ จิตสานึกหรื อพฤติกรรมของบุคคลนั้น ๆ
สิ่ งที่ได้รับการอบรมสัง่ สอนขดเกลาเพื่อให้มีพฤติกรรมตามที่
สังคมกาหนด ไว้ พัฒนาการทางจริ ยธรรมเป็ นผลรวมของพัฒนาการทาง
สติปัญญากับการเรี ยนรู ้ทางสังคมหรื อกระบวนการทางสังคม
แต่ไม่จาเป็ นว่าคนสติปัญญาสูงจะประพฤติตนเป็ นคนดี
และคนสติปัญญาต่าจะต้องเป็ นคนไม่ดี
การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ
(Information Ethic)
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ มีความสาคัญ
ในการใช้ สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพืน้ ฐานของจริยธรรม
ทางสารสนเทศ เช่ น การนาข้ อความหรือแนวคิดของผู้อ่ ืนมา
ใช้ ในงานของตนจาเป็ นต้ องอ้ างอิงเจ้ าของผลงานเดิม การไม่
นาข้ อมูลที่ขัดต่ อศีลธรรมและจรรยาบรรณของสังคมไป
เผยแพร่
สรุป
• สารสนเทศ คือข้อมูลข่าวสาร ความรู ้ ข้อเท็จจริ ง ความคิด
ผ่านการประมวลผล มีการบันทึกรวบรวมไว้ในสื่ อต่าง ๆ
พร้อมเผยแพร่ และใช้ประโยชน์
• เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เครื่ องมือและวิธีการที่นามาใช้
กับสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศ คือ ระบบจัดเก็บข้อมูลในด้านต่าง ๆ เพื่อ
นาข้อมูลมาประมวลให้เป็ นสารสนเทศ
สรุ ป (ต่อ)
• การจัดการความรู ้ คือ กระบวนการค้นหา การสร้าง การสื บทอด การ
แลกเปลี่ยนและการประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทางาน และนา
ความรู ้ไปพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
• สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ช่วย
พัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพ สามารถดาเนินชีวิตอยูก่ บั ผูอ้ นื่ ในสังคมได้
อย่างมีความสุ ข เป็ นปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคใหม่ที่
เรี ยกว่า เศรษฐกิจบนฐานความรู ้