ทักษะการรู้สารสนเทศทางวิ

Download Report

Transcript ทักษะการรู้สารสนเทศทางวิ

การรูส้ ารสนเทศ
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลนุ
การรูส้ ารสนเทศ (Information Literacy)

ความหมาย หมายถึง ความรูค้ วามสามารถและทักษะ
ของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่
ค้น มาได้ และใช้ส ารสนเทศอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทุ ก
รูปแบบ ผูร้ ูส้ ารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น
ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละ / หรื อ การคิ ด อย่ า งมี
วิ จารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้หอ้ งสมุ ด
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการรูส้ ารสนเทศ
สร้างบุคคลให้เป็ นผูเ้ รียนรูต้ ลอดชีวิต
Lifelong Learning
ความจาเป็ นที่ตอ้ งรูส้ ารสนเทศ
1.การทะลักทะลายของสารสนเทศ (Information explosion)
2.ความเจริญรุดหน้าของ ICT
ความสาคัญของการรูส้ ารสนเทศ
1. การศึกษา
 2. การดารงชีวิตประจาวัน
 3. การประกอบอาชีพ
 4. สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

องค์ประกอบของการรูส้ ารสนเทศ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการ
สารสนเทศ
2. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
5. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ความรู/้ ทักษะเพิ่มเติมที่ตอ้ งมี
1. การรูห้ อ้ งสมุด (Library literacy
 2. การรูค
้ อมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
 3. การรูเ้ ครือข่าย (Network Literacy)
 4. การรูเ้ กี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy)
 5. การรูส
้ ื่อ (Media Literacy)

ความรู/้ ทักษะเพิ่มเติมที่ตอ้ งมี
6. การรูส้ ารสนเทศดิจทิ ลั (Digital Literacy)
 7. การมีความรูด
้ า้ นภาษา (Language Literacy)
 8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information
Ethic)

ลักษณะของผูร้ ูส้ ารสนเทศ






มีความต้องการสารสนเทศ
สามารถจาแนกความต้องการสารสนเทศได้
สามารถกาหนดขอบเขตสารสนเทศที่ตอ้ งการได้
สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ตอ้ งการได้
สามารถประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้
สามารถนามาผนวกเข้าเป็ นพื้นฐานความรูไ้ ด้
ลักษณะของผูร้ ูส้ ารสนเทศ






เข้าถึงสารสนเทศอย่างมีศีลธรรมและจริยธรรม
สามารถจัดกลุ่ม จัดเก็บ จัดการ และเขียนสารสนเทศขึ้นมาใหม่ได้
มีความเป็ นอิสระและมีศกั ยภาพในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
รูว้ ่าอะไรคือสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ
สามารถใช้และมีความมั ่นใจในสารสนเทศในการแก้ไขปั ญหาได้
รูจ้ กั ใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เพื่อการเข้าถึงและสื่อสารสนเทศ
การรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความหมาย
 ความรู ้ค วามสามารถของบุ ค คลในการระบุ ค วามต้อ งการ
สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสามารถในการ
เข้าถึงสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ ความสามารถในการประเมิน
และใช้ส ารสนเทศได้อ ย่ า งถู ก ต้อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง ผู ร้ ู ้
สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องมีความเข้าใจ
เกี่ยวกับลักษณะของสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ว่ า มี ลัก ษณะเป็ นข้อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บ ความรู ท้ างด้า นนี้ หรื อ การ
นาเสนอความก้าวหน้าใหม่ๆ ผ่านสื่อประเภทต่างๆ
มาตรฐานการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานที่ 1 ผูร้ ูส้ ารสนเทศสามารถกาหนดขอบเขต
สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ตอ้ งการได้
 ความสามารถในการระบุและแสดงความต้องการสารสนเทศ
 การระบุประเภทและรูปแบบของแหล่งสารสนเทศ
 ความรูเ้ กี่ยวกับวรรณกรรมและการผลิตวรรณกรรมใน
สาขาวิชา
 การพิจารณาราคาหรือค่าใช้จา่ ย และประโยชน์ที่จะได้รบ
ั
มาตรฐานการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานที่ 2 ผูร้ ูส้ ารสนเทศสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่
ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
 ความสามารถในการเลือกวิธีการศึกษาค้นคว้า
หรือเลือก
ระบบการค้นคืนที่เหมาะสม
 การสร้างและใช้กลยุทธ์การสืบค้นที่ถูกออกแบบไว้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 การค้นคืนที่มีประสิทธิภาพ การตัดทอน บันทึก ถ่ายโอน และ
จัดการสารสนเทศ
มาตรฐานการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานที่ 3 ผูร้ ูส้ ารสนเทศสามารถประเมินสารสนเทศและ
แหล่งสารสนเทศที่หามาได้อย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงการ
พิจารณาปรับปรุงคาถามหรือแสวงหาเพิ่มเติม
 ความสามารถในการสรุปแนวคิดสาคัญจากสารสนเทศที่รวบรวมได้
 การเลือกสารสนเทศด้วยการอธิบายและใช้เกณฑ์การประเมินสารสนเทศ
และแหล่งสารสนเทศ
 การสังเคราะห์แนวคิดสาคัญเพื่อสร้างแนวคิดใหม่
 เปรียบเทียบความรูเ้ ดิมกับความรูใ้ หม่เพื่อให้ทราบคุณค่าที่เพิ่มขึ้น หรือสิ่งที่
ขัดแย้งกัน
 การปรับปรุงข้อคาถามในเบื้องต้น
 การประเมินสารสนเทศ
มาตรฐานการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มาตรฐานที่ 4 ผูร้ ูส้ ารสนเทศมีความเข้าใจประเด็นทางเศรษฐกิจ
จริยธรรม กฎหมายและสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถใช้สารสนเทศได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 การเข้าใจประเด็นทางจริยธรรม กฎหมายและเศรษฐสังคมที่
เกี่ยวข้องกับสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 การปฏิบต
ั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ นโยบายสถาบันและมารยาทใน
การเข้าถึงและใช้สารสนเทศ
 การใช้แหล่งสารสนเทศในการนาเสนอผลผลิตหรือการดาเนินงาน
 การประเมินผลผลิตและปรับปรุงด้วยการใช้กระบวนการพัฒนา
มาตรฐานการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานที่ 5 ผูร้ ูส้ ารสนเทศเข้าใจได้ว่าการรูส้ ารสนเทศเป็ น
กระบวนการที่ตอ้ งดาเนินต่อไปและเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการ
เรียนรูต้ ลอดชีวิต และมีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ
 การรูค
้ ณ
ุ ค่าของการเรียนรูแ้ ละเข้าใจการเก็บรักษาความรูใ้ น
สาขาวิชา และการใช้วิธีการศึกษาที่หลากหลายและใช้
เทคโนโลยีเพื่อจัดเก็บข่าวสารต่างๆ ในสาขาวิชา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
 ทักษะการคานวณ
 ทักษะการจัดทาและสื่อความหมายข้อมูล
 ทักษะการจาแนกประเภท
้ สมมติฐาน
 ทักษะการตัง
 ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
 ทักษะการทดลอง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร
 ทักษะการพยากรณ์
 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
 ทักษะการวัด
 ทักษะการสังเกต
 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิตก
ิ บั มิติ และมิตกิ บั
เวลา
ความสัมพันธ์การรูส้ ารสนเทศกับทักษะทางวิทยาศาสตร์

ทั ก ษะการรู ้ส ารสนเทศมี ก ารจั ด ล าดั บ ขั้ น ตอน เพื่ อ
ประสิ ท ธิ ภ าพในการน าสารสนเทศไปใช้ เช่ น เดี ย วกับ
ทั ก ษะทางด้า นวิ ท ยาศาสตร์ ที่ มี ข้ั น ตอนการด าเนิ น
กิจกรรมอย่างเป็ นระบบ และตรวจสอบได้
 การมี ทั ก ษะทางวิ ท ยาศาสตร์จ ะส่ ง เสริ ม ให้เ ราเป็ นผู ้ มี
ทักษะการรูส้ ารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ที่มีประสิท ธิภาพ
มากยิง่ ขึ้น
ความสัมพันธ์การรูส้ ารสนเทศกับทักษะทางวิทยาศาสตร์

การรูส้ ารสนเทศในมุมมองของสายวิทยาศาสตร์ คือ การ
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และในมุมมองของสาย
สังคมศาสตร์คือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 ทักษะเชิงกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
เป็ นทักษะการวิเคราะห์วิจยั + การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 กระบวนการแสวงหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์และ
สังคมศาสตร์
กระบวนการแสวงหาความรู้
วิทยาศาสตร์ = ทักษะ
การวิเคราะห์ วิจัย
สังคมศาสตร์ = การคิด
อย่ างมีวจิ ารณญาณ
สรุป

ทัก ษะการรู ส้ ารสนเทศทางวิ ท ยาศาสตร์แ ละ
เทคโนโลยีมีความจาเป็ นและสาคัญสาหรับนัก
สารสนเทศและผูเ้ รียนรู ใ้ นสาขาวิ ทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เนื่ อ งจากเป็ นทัก ษะที่ ท าให้
บุ ค คลสามารถเรี ย นรู ้แ ละใช้ส ารสนเทศใน
สาขาวิชานี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดชีวิต