ภาพนิ่ง 1 - Information Science, RERU

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - Information Science, RERU

• อาจารย์ วรพจน์ พรหมจักร
• ติดต่อที่ ห้องพักคณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์
• เบอร์โทรศัพท์ 0872354434 (เฉพาะกรณี เกี่ยวกับ
รายวิชาที่เรี ยนเท่านั้น)
• อีเมล์ [email protected]
GEL1103
สารสนเทศและการศึกษาค้ นคว้ า
Information and Education
1
บทที่
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
(Information literacy)
[email protected]
วัตถุประสงค์
 ผู้เรียน รู้ และเข้ าใจความหมายความสาคัญ
ของสารสนเทศต่ อการศึกษาในมหาวิทยาลัย
และการดาเนินชีวติ
 ผู้เรียน รู้ และเข้ าใจความหมายและความสาคัญ
ของการรู้ สารสนเทศ
 ผู้เรียน รู้ และเข้ าใจความหมายและองค์ ประกอบ
ของผู้รู้ สารสนเทศ
 ผู้เรียน รู้ และเข้ าใจลักษณะของผู้รู้ สารสนเทศ
หัวข้ อนาเสนอ
14 แนวคิ
ดเกีย่ วกับสารสนเทศ
การกาหนดความต้
องการสารสนเทศ
ความหมายของความต้ องการสารสนเทศ
21 ความหมายของสารสนเทศ
32 ลัความส
าคัญของสารสนเทศ
กษณะของสารสนเทศที
่ดี
ความหมายของความต้
องการสารสนเทศ
41 ความส
าคัญของสารสนเทศ
53 บทบาทของสารสนเทศ
การวิเคราะห์ ความต้ องการสารสนเทศ
64 การรู
ารสนเทศ องการสารสนเทศ
การก้ สาหนดความต้
74 ผูการก
้ รู้สารสนเทศ
าหนดความต้ องการสารสนเทศ
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
สั งคมฐานความรู้
สั งคมฐานความรู้ (Knowledge Based Society)
ข้ อมูล ข่ าวสาร และสารสนเทศ เป็ นสิ่ งสาคัญอย่ างยิง่ ต่ อการดาเนินงาน
ทั้งของภาครัฐและเอกชน ข้ อมูลและสารสนเทศเป็ นทรัพยากรหลัก
ทีท่ ุกองค์ กรให้ ความสาคัญ เนื่องมาจากการดาเนินงานทางธุรกิจมีความ
ซับซ้ อนมากขึน้ และมีการแข่ งขันกันสู ง ทาให้ ข่าวสารเป็ นสิ่ งทีท่ ุกคน
จาเป็ นต้ องรับทราบและเข้ าถึงได้ อย่ างรวดเร็ว
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
พีระมิดความรู้
(Knowledge pyramid)
พีระมิดความรู้เป็ นเครื่องมือทีจ่ ะทาให้ เข้ าใจในความแตกต่ างระหว่ าง
Data, Information, Knowledge และ Wisdom รวมทั้งความสั มพันธ์ ระหว่ างกัน
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
ข้ อมูล
ข้ อมูล (Data) คือ ข้ อเท็จจริงทีย่ งั ไม่ มีการปรุงแต่ ง
หรือประมวลผลใดๆ อาจแบ่ งเป็ น 3 ประเภท คือ
1. ข้ อเท็จจริงทีเ่ ป็ น จานวน ปริมาณ ระยะทาง
2. ข้ อเท็จจริงทีไ่ ม่ เป็ นตัวเลข เช่ น ชื่ อ ทีอ่ ยู่
ประวัติการศึกษา
3. ข่ าวสารทีย่ งั ไม่ ประเมิน เช่ น รายงาน บันทึก
คาสั่ ง ระเบียบ กฎหมาย และเหตุการณ์
หรือสภาพการณ์ ต่างๆ
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
สารสนเทศ
สารสนเทศ (Information)
คือ ข้ อมูลข่ าวสาร ความรู้ ต่างๆ ทีไ่ ด้ รับการสรุป
คานวณ จัดเรียง หรือประมวลแล้ วจากข้ อมูล
ต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องอย่ างเป็ นระบบตามหลัก
วิชาการ จนได้ เป็ นข้ อความรู้ เพือ่ นามาเผยแพร่
และใช้ ประโยชน์ ในงานด้ านต่ าง ๆ
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
ความรู้
ความรู้ (Knowledge)
คือ สิ่ งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่ าเรียน การค้ นคว้ า
หรือประสบการณ์ เป็ นความรู้ ทถี่ ูกพัฒนาขึน้ อีกระดับหนึ่ง
เป็ นความรู้ ทไี่ ด้ ศึกษาจากสารสนเทศ จนเป็ นความรู้
ของตัวเอง รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติหรือทักษะ
ความเข้ าใจ
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
ความรู้
ความรู้ แบ่ งเป็ น 2 ประเภท
1. ความร้ ูฝังลึก (tacit knowledge) คือ ความรู้ ทเี่ กิดจากการเรียนรู้
ผ่านประสบการณ์ การลงมือปฏิบัติ หรือเป็ นพรสวรรค์
ของตนเองทีม่ อี ยู่ สิ่ งเหล่ านีจ้ ัดเป็ นความรู้ ชนิดทีย่ ากต่ อการถ่ ายทอด
หรือสื่ อสารให้ ผ้ อู นื่ เข้ าใจ
2. ความร้ ูชัดแจ้ ง (explicit knowledge) คือความรู้ ทสี่ ามารถถ่ ายทอด
หรือสื่ อสารให้ ผ้ อู นื่ เข้ าใจได้ ความรู้ ประเภทนี้ คือ ความรู้ ทถี่ ูกเขียนออกมา
เป็ นตารา เป็ นคู่มอื หรือเอกสารต่ างๆ
1
แนวคิดเกีย่ วกับสารสนเทศ
ความฉลาด หรือ สติปัญญา (Wisdom)
ความฉลาดหรือสติปัญญา (Wisdom)
คือ การรวบรวมความรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์
เข้ ากับประสบการณ์ และเหตุผลกลายเป็ น
ภูมิปัญญา
2
ความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information)
คือ สิ่ งทีไ่ ด้ จากการประมวลผลข้ อมูล
สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ในการ
วางแผน การตัดสิ นใจ และการคาดการณ์
อนาคตได้
สารสนเทศอาจแสดงผลออกมาในรู ปแบบ
ต่ างๆ เช่ น หนังสื อ วารสาร แผนที่ แผนภูมิ
หรือรู ปภาพ หรือสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อนื่ ๆ
2
ความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ (information)
คือ ข้ อเท็จจริง (facts) เหตุการณ์ ทผี่ ่ านกระบวนการประมวลผล
ตามหลักวิชาการและมีผู้ถ่ายทอดบันทึกไว้ ในรูปแบบต่ าง ๆ
ทั้งในรูปของวัสดุตพี มิ พ์และวัสดุไม่ ตีพมิ พ์ โดยมีวตั ถุประสงค์
เพือ่ ใช้ ประโยชน์ และเพือ่ เผยแพร่ ให้ ผู้รับสารสนเทศได้ ทราบ
(นงลักษณ์ ไม่ หน่ ายกิจ,2526 ; ประภาวดี สื บสนธิ์, 2530)
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)







มีความความถูกต้ องแม่ นยา (Accuracy)
สามารถเข้ าถึงได้ ง่าย (Accessibility)
ต้ องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้ใช้ (Relevance)
ตรวจสอบได้ (Verifiability)
ทันต่ อความต้ องการใช้ (Timeliness)
มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบนั (Up to date)
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 ต้ องมีความความถูกต้ องแม่ นยา (Accuracy)
สารสนเทศทีด่ ีจะต้ องมีความถูกต้ อง ตรงกับความเป็ นจริง และ
เชื่อถือได้ สารสนเทศบางอย่ างมีความสาคัญ หากไม่ ตรงกับความ
เป็ นจริงแล้ว อาจก่อให้ เกิดความเสี ยหายได้ สารสนเทศทีถ่ ูกต้ อง
แม่ นยาจะต้ องเกิดจากการป้อนข้ อมูลรวมถึงโปรแกรมทีป่ ระมวลผล
จะต้ องถูกต้ อง
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 ต้ องมีความสมบูรณ์ ครบถ้ วน (complete)
สารสนเทศทีด่ ีจะต้ องมีความสมบูรณ์ ในเนือ้ หาของสารสนเทศ
โดยเฉพาะข้ อเท็จจริงทีส่ าคัญทั้งหมด สามารถตอบโจทย์ หรื อข้ อ
สงสั ยของผู้ใช้ ได้ อย่ างครบถ้ วน ข้ อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาต้ องเป็ น
ข้ อมูลทีใ่ ห้ ข้อเท็จจริง (facts) หรือข่ าวสาร (information) ทีค่ รบถ้ วน
ทุกด้ านทุกประการ มิใช่ ขาดส่ วนหนึ่งส่ วนใดไปทาให้ นาไปใช้ การ
ไม่ ได้
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 สามารถเข้ าถึงได้ ง่าย (Accessibility)
ผู้ใช้ ต้องการสารสนเทศทุกเวลาไม่ ว่าจะเป็ นเวลากลางวันหรือ
เวลากลางคืน รวมทั้งต้ องการเข้ าถึงสารสนเทศจากทุกสถานที่
ในทุกมุมโลก สารสนเทศที่ดีต้องมีความสะดวก และรวดเร็ว
ในการเข้ าถึงสารสนเทศ ในการนาสารสนเทศมาใช้ ประกอบการ
ตัดสิ นใจ ความรวดเร็วในการค้ น คือ สารสนเทศสามารถวัดได้
เช่ น หนึ่งนาที หรือหนึ่งชั่วโมง
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 มีความสอดคล้องกับความต้ องการของผู้ใช้ (Relevancy)
ข้ อมูลทีจ่ ัดทาขึน้ มาควรเป็ นข้ อมูลทีผ่ ้ใู ช้ ข้อมูลต้ องการใช้
และจาเป็ นต้ องรู้ / ทราบ หรือเป็ นประโยชน์ ต่อการจัดทาแผน
กาหนดนโยบายหรือตัดสิ นปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ ใช่ เป็ นข้ อมูล
ที่จัดทาขึน้ มาอย่ างมากมาย แต่ ไม่ มีใครต้ องการใช้ หรือไม่ ตรงกับ
ความต้ องการของผู้ใช้ ข้อมูล
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 สามารถพิสูจน์ ได้ (verifiable)
สารสนเทศนั้น ต้ องสามารถพิสูจน์ หรือตรวจสอบได้ ว่าเป็ นความจริง
เช่ น สารสนเทศที่ดีจะต้ องตรวจสอบแหล่งทีม่ าได้ ความสม่าเสมอ
ของข้ อมูล ความสอดคล้องของข้ อมูล ทั้งนีเ้ พือ่ ให้ ผู้ใช้ ตรวจสอบ
ความถูกต้ องของสารสนเทศได้ ถ้ าเป็ นสารสนเทศทีด่ ี จะต้ องได้ รับ
ผลทีเ่ หมือนกัน เป็ นต้ น
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 ทันต่ อความต้ องการใช้ (Timeliness)
หมายถึง ทันในเวลาทีผ่ ู้ใช้ ต้องการ ไม่ ช้าเกินไปจนนาไปใช้ ประโยชน์
ไม่ ได้ สารสนเทศนั้นต้ องใช้ ระยะเวลาสั้ น และมีความรวดเร็ ว
ในการประมวลผล เพือ่ ให้ ผู้ใช้ ได้ รับสารสนเทศทันเวลา ถ้ าผลิตข้ อมูล
ออกมาช้ า ก็ไม่ มีคุณค่ าถึงแม้ จะเป็ นข้ อมูลทีถ่ ูกต้ องแม่ นยาก็ตาม
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (Characteristics of good information)
 มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบัน (Up to date)
สารสนเทศทีด่ ีต้องทันสมัย เป็ นปัจจุบัน หมายถึง ข้ อมูลที่ป้อนให้ กบั
เครื่องคอมพิวเตอร์ ต้องมีความเป็ นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
เพือ่ การนาไปใช้ ประโยชน์ ได้ จริง ตัวอย่ างเช่ น ข้ อมูลหมายเลข
โทรศัพท์ ของผู้ปกครองนักเรียน จะต้ องมีการปรับปรุงให้ ทนั สมัย
หากหมายเลขโทรศัพท์ ล้าสมัยก็จะไม่ สามารถติดต่ อกับผู้ปกครองได้
หากเกิดกรณีฉุกเฉิน
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ
สารสนเทศเป็ นรากฐานจาเป็ นสาหรับความก้าวหน้ าของสั งคม
เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการสร้ างสรรค์ หรือการใช้ ทรัพยากร
เป็ นสิ่ งสาคัญทีใ่ ช้ ในการตัดสิ นใจ มีความสาคัญต่ อรั ฐบาล
วงการธุรกิจ การศึกษาวิจัย นักวิชาการสาขาต่ าง ๆ และบุคคลทัว่ ไป
ดังนี้ (ชุ ติมา สั จจานันท์ , 2530)
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ (ต่ อ)
 รัฐบาล ต้ องการสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ ประกอบการวินิจฉัย สั่ ง
การ และวางแผนงาน เพือ่ พัฒนาประเทศ
 วงการธุรกิจ สารสนเทศเป็ นปัจจัยสาคัญต่ อความสาเร็จในการ
ดา เนินงานประจา วันของธุรกิจและวงการอาชีพ ช่ วยในการตัดสิ นใจ
การปฏิบัติงานประจา วัน การวางแผนการ คาดการณ์ สาหรับอนาคต
 ส่ วนบุคคลทัว่ ไป ต้ องการสารสนเทศเพือ่ ใช้ ในการพัฒนาอาชี พ
การศึกษาในเรื่องทีน่ ่ าสนใจ และเพือ่ ความบันเทิง เป็ นต้ น
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ (ต่ อ)
 วงการศึกษาและวิจัย สารสนเทศเป็ นปัจจัยพืน้ ฐานช่ วยพัฒนา
ความรู้ ความเชี่ยวชาญทางวิชาการ และเป็ นปัจจัยพืน้ ฐานของการ
เรียนการสอน การค้ นคว้ าวิจัยของนักเรียน ครู อาจารย์ นักวิชาการ
และนักวิจัย
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศในด้ านการศึกษา
ลักษณะของการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
 การจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาในปัจจุบนั มุ่งเน้ นผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง (Student Centered Learning) การเรียนแบบนีช้ ่ วยพัฒนา
ไปสู่ การเรียนรู้ ตลอดชีวติ (Life Long Learning)
 ครู ผู้สอนทาหน้ าทีเ่ ป็ นผู้แนะนาช่ วยเหลือ และกระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ ศึกษา
ค้ นคว้ าหาความรู้ ด้วยตนเองโดยอาศัยทรัพยากรสารสนเทศต่ างๆ
(Resource Based Learning) ส่ งผลให้ สารสนเทศมีความสาคัญต่ อการ
เรียนการสอนในทุกระดับการศึกษา
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศในด้ านการศึกษา (ต่ อ)
ความสาคัญของสารสนเทศในด้ านการศึกษา
 สารสนเทศที่ดมี ีคุณค่ าและทันสมัย จะช่ วยให้ การเรียนการสอนมีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผล
 การศึกษาค้ นคว้ าวิจัยเพือ่ พัฒนาองค์ ความรู้ ใหม่ ๆ จาเป็ นต้ องใช้ สารสนเทศที่มีอยู่
อย่ างสมบูรณ์ ถูกต้ องจากหลายแขนงวิชามาพัฒนาให้ เกิดความรู้ ใหม่ ขนึ้ มาได้
 นักศึกษาใช้ สารสนเทศในการเรียนรู้ นอกตาราเรียน เพือ่ ให้ ตนเองมีความรู้มากขึน้
 นักศึกษาทาการศึกษาค้ นคว้ าเพือ่ ให้ ได้ สารสนเทศมาใช้ ประกอบในการเรียน
 ทาให้ นักศึกษาดารงอยู่ในสั งคมปัจจุบันที่เรียกว่ า "สั งคมสารสนเทศ" ได้ ทาให้ มี
ความสามารถในการแข่ งขันและประสบความสาเร็จได้
4
ความสาคัญของสารสนเทศ
ความสาคัญของสารสนเทศ (สรุป)
สารสนเทศมีความสาคัญต่ อทุกด้ าน เช่ น การเมือง เศรษฐกิจ สั งคม
การศึกษา ในลักษณะที่
 ทาให้ ผู้บริโภคหรือผู้รับสารสนเทศนั้นเกิดความรู้ (Knowledge)
และความเข้ าใจ (Understanding) ในเรื่องทีเ่ กิดขึน้
 เมื่อรู้ และเข้ าใจเรื่องต่ างๆแล้ ว ทาให้ สามารถวางแผน ตัดสิ นใจ
(Decision Making) ในเรื่องต่ างๆได้ อย่ างเหมาะสม
 ทาให้ สามารถแก้ ไขปัญหา (Solving Problem) ทีเ่ กิดขึน้ อยู่ได้ อย่ างถูกต้ อง
แม่ นยา รวดเร็ว ลดความซ้าซ้ อน ทันกับสถานการณ์ ต่างๆทีเ่ กิดขึน้
5
บทบาทของสารสนเทศ
บทบาทของสารสนเทศ
 ช่ วยลดความเสี่ ยงในการตัดสิ นใจ (Decision) หรือช่ วยชี้แนวทางในการแก้ไข
ปัญหา (Problem Solving)
 ช่ วย หรือสนับสนุนการจัดการ (Management) หรือการดาเนินงาน
ขององค์ การ ให้ มีประสิ ทธิภาพและเกิด ประสิ ทธิผลมากขึน้
 สารสนเทศเป็ นช่ องทางโน้ มน้ าว หรือชักจูงใจ (Motivation) ในกรณี
ของการโฆษณาทีท่ าให้ ผ้ ชู ม, ผู้ฟัง ตัดสิ นใจ เลือกสิ นค้ า หรือบริการนั้น
 สารสนเทศเป็ นองค์ ประกอบสาคัญทีส่ ่ งเสริมวัฒนธรรม และสั นทนาการ
(Culture & Recreation) ในด้ าน ของการเผยแพร่ ในรู ปแบบต่ างๆ
เช่ น วีดทิ ศั น์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็ นต้ น
5
บทบาทของสารสนเทศ
บทบาทของสารสนเทศ (ต่ อ)
 สารสนเทศเป็ นสิ นค้ าและบริการ (Goods & Services) ทีส่ ามารถซื้อขายได้
 สารสนเทศเป็ นทรัพยากรทีต่ ้ องลงทุน (Investment) จึงจะได้ ผลผลิต
และบริการ เพือ่ เป็ นรากฐานของการ จัดการ และการดาเนินงาน
6
การรู้ สารสนเทศ
ความหมายของการรู้ สารสนเทศ
การรู้ สารสนเทศ (Information Literacy)
หมายถึง ความรู้ ความสามารถและทักษะของบุคคล
ในการเข้ าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศทีค่ ้ นมา
ได้ และใช้ สารสนเทศอย่ างมีประสิ ทธิภาพทุกรู ปแบบ
ผู้ร้ ู สารสนเทศจะต้ องมีทกั ษะในด้ านต่ างๆ เช่ น ทักษะ
การคิดวิเคราะห์ และ / หรือ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ทักษะการใช้ ภาษา ทักษะการใช้
ห้ องสมุด ทักษะการใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น
6
การรู้ สารสนเทศ
ความหมายของการรู้ สารสนเทศ
Literacy :
- ความสามารถในการอ่ านและเขียน
-ความสามารถอ่ านออกเขียนได้ , การรู้ หนังสื อ
Literate :
- สามารถอ่ านและเขียนหนังสื อได้ ,
มีการศึกษา, มีความรู้ ดี
- ผู้สามารถอ่ านและเขียนหนังสื อได้ , ผู้มีความรู้ ดี
6
การรู้ สารสนเทศ
ความจาเป็ นของการรู้ สารสนเทศ
สารสนเทศคืออานาจ” (Information is Power)
หมายถึง ผู้ทมี่ ีสารสนเทศ
หรือได้ รับสารสนเทศทีม่ ีคุณค่ า
และทันสมัย มีความต่ อเนื่อง
ทันเหตุการณ์ และสามารถใช้
สารสนเทศให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
ผู้น้ันย่ อมมีพลังหรือมีอานาจ
ได้ เปรียบผู้อนื่ ในทุกๆ ด้ าน
6
การรู้ สารสนเทศ
ความจาเป็ นของการรู้ สารสนเทศ
ความจาเป็ นทีจ่ ะต้ องมีทกั ษะการรู้ สารสนเทศ เนื่องจากปัจจัยหลัก 2 ข้ อ คือ
1. การทะลักทะลายของสารสนเทศ (Information explosion)
สารสนเทศมีการเพิ่มปริ มาณและแพร่ กระจายอย่ างรวดเร็ ว
2. ความเจริญรุ ดหน้ าของ ICT
ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เป็ นเครื่ องมือในการจัดเก็บ และค้ นหา
สารสนเทศ
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่ อความสาเร็จของบุคคลด้ านต่ างๆ ดังนี้
 การศึกษา
 การดารงชีวติ ประจาวัน
 การประกอบอาชีพ
 สั งคม เศรษฐกิจ และการเมือง
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
 ด้ านการศึกษา
การรู้ สารสนเทศเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการศึกษาของบุคคลทุกระดับ
ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษา
ตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ ตลอดชีวติ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ การศึกษา
ในปัจจุบนั ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 มีการปฏิรูป
การเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ดังนั้นบทบาทของผู้สอนจึงเปลีย่ นเป็ น
ผู้ให้ คาแนะนาชี้แนะโดยอาศัยทรัพยากรเป็ นพืน้ ฐานสาคัญ
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
 การดารงชีวติ ประจาวัน
การรู้สารสนเทศเป็ นสิ่ งสาคัญยิง่ ในการดารงชีวติ ประจาวัน เพราะผู้รู้
สารสนเทศจะเป็ นผู้ทสี่ ามารถวิเคราะห์ ประเมินและใช้ สารสนเทศให้ เกิด
ประโยชน์ สูงสุ ดแก่ตนเองเมื่อต้ องการตัดสิ นใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ เช่ น ถ้ าต้ องการซื้อเครื่องปรับอากาศของบริษัทใด
บริษัทหนึ่งก็ต้องพิจารณามาตรฐาน คุณภาพ บริการหลังการขาย
และเปรียบเทียบราคา แล้วจึงค่ อยตัดสิ นใจ เป็ นต้ น
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
 การประกอบอาชีพ
การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่ อการประกอบอาชีพของบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศทีม่ ี
ความจาเป็ นต่ อการประกอบอาชีพของตนเองได้ เช่ น เกษตรกร
เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน
ก็สามารถหาตัวยาหรือสารเคมีเพือ่ มากาจัดโรคระบาด ดังกล่าวได้
เป็ นต้ น
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ
 สั งคม เศรษฐกิจ และการเมือง
การรู้ สารสนเทศเป็ นสิ่ งสาคัญโดยเฉพาะสั งคมในยุคสารสนเทศ (Information
Age) บุคคลจาเป็ นต้ องรู้ สารสนเทศเพือ่ ปรับตนเองให้ เข้ ากับสั งคม เศรษฐกิจ
และการเมือง เช่ น การอยู่ร่วมกันในสั งคม การบริหารจัดการ การดาเนินธุรกิจ
และการแข่ งขัน การบริหารบ้ านเมืองของผู้นาประเทศ เป็ นต้ น อาจกล่ าวได้ ว่า
ผู้ร้ ู สารสนเทศ คือ ผู้ทมี่ อี านาจสามารถาชี้วดั ความสามารถขององค์ กรหรือ
ประเทศชาติได้ ดังนั้นประชากรทีเ่ ป็ นผู้ร้ ู สารสนเทศจึงถือว่ าเป็ นทรัพยากร
ทีม่ คี ่ ามากทีส่ ุ ดของประเทศ
6
การรู้ สารสนเทศ
ความสาคัญของการรู้ สารสนเทศ (สรุป)
 บุคคลสามารถแสวงหาสารสนเทศตามความต้ องการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
 ได้ รับรู้ โอกาสในการเลือกใช้ แหล่ งสารสนเทศและแยกแยะแหล่ งสารสนเทศได้
 ได้ วเิ คราะห์ และเลือกใช้ สารสนเทศจากเครื่องมือสื บค้ นสารสนเทศ
เช่ น จากคอมพิวเตอร์ และจากเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอืน่ ๆ
 มีความสะดวกต่ อการใช้ สื่อ หรือทรัพยากรสารสนเทศทีห่ ลากหลาย
ทีเ่ หมาะสมทีส่ ุ ด
 มีความระมัดระวังต่ อการใช้ สารสนเทศทั้งทีเ่ ชื่อถือได้ และเชื่อถือไม่ ได้
 สามารถถ่ ายทอดสารสนเทศทีร่ ู้ ให้ ผู้อนื่ ทราบได้
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ
สมาคมห้ องสมุดอเมริกนั ได้ กาหนดองค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศไว้
5 ประการ คือ
1. ความสามารถในการตระหนัก/การรู้ ว่าเมือ่ ใดจาเป็ นต้ องใช้ สารสนเทศ
2. ความสามารถในการค้ นหาสารสนเทศ
3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
5. ความสามารถในการใช้ และถ่ ายทอดสารสนเทศที่ต้องการ
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ของตนเองได้ ตลอดจนการเข้ าถึง
และการใช้ สารสนเทศอย่ างมีจริยธรรมและถูกกฎหมาย
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ (ต่ อ)
1. ความสามารถในการตระหนัก/การรู้ ว่าเมื่อใดจาเป็ นต้ องใช้ สารสนเทศ
ผู้เรียนจะต้ องกาหนดเรื่องทีจ่ ะศึกษาค้ นคว้ า กาหนดความต้ องการสารสนเทศ
ระบุชนิดและรู ปแบบทีห่ ลากหลายของแหล่ งสารสนเทศทีจ่ ะศึกษา เช่ น ห้ องสมุด
ศูนย์ สารสนเทศ พิพธิ ภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ บุคคล สถานที่ อินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น
รวมทั้งตระหนักถึงค่ าใช้ จ่ายและประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ และทราบขอบเขตของ
สารสนเทศที่จาเป็ น
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ (ต่ อ)
2. ความสามารถในการค้ นหาสารสนเทศ
ผู้เรียนสามารถเลือกวิธีการค้ นคืนสารสนเทศทีเ่ หมาะสม กาหนดกลยุทธ์ การค้ นคืน
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ สามารถค้ นคืนสารสนเทศออนไลน์ หรือสารสนเทศจากบุคคล
โดยใช้ วธิ ีการทีห่ ลากหลายสามารถปรับกลยุทธ์ การค้ นคืนทีเ่ หมาะสมตามความ
จาเป็ น รวมถึงการตัดตอน บันทึก และการจัดการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ (ต่ อ)
3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
ผู้เรียนสามารถสรุ ปแนวคิดสาคัญจากสารสนเทศทีร่ วบรวม โดยใช้ เกณฑ์ การ
ประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ ได้ แก่ ความน่ าเชื่อถือ ความเทีย่ งตรง
ความถูกต้ อง และความทันสมัย สามารถสั งเคราะห์ แนวคิดหลักเพือ่ สร้ างแนวคิด
ใหม่ เปรียบเทียบความรู้ ใหม่ กบั ความรู้ เดิมเพือ่ พิจารณาว่ าอะไรคือสิ่ งที่เพิม่ ขึน้
อะไรคือสิ่ งที่ขัดแย้งกัน และอะไรคือสิ่ งที่คล้อยตามกัน
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ (ต่ อ)
4. ความสามารถในการใช้ และถ่ ายทอดสารสนเทศที่ต้องการ
ผู้เรียนสามารถใช้ สารสนเทศใหม่ ผนวกกับสารสนเทศทีม่ อี ยู่ในการวางแผน
และสร้ างผลงาน หรือการกระทาตามหัวข้ อที่กาหนดทบทวนกระบวนการ
พัฒนาการผลิตผลงานของตนเอง และสามารถสื่ อสารหรือเผยแพร่ ผลงาน
ของตนเองต่ อบุคคลอืน่ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
6
การรู้ สารสนเทศ
องค์ ประกอบของการรู้ สารสนเทศ (ต่ อ)
นอกจากความสามารถดังกล่ าวแล้ ว ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติในด้านอืน่ ๆ ประกอบอีกได้ แก่
 การรู้ ห้องสมุด (Library literacy)
 การรู้ คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
 การรู้ เครือข่ าย (Network Literacy)
 การรู้ เกีย่ วกับสิ่ งที่เห็น (Visual Literacy)
 การรู้ สื่อ (Media Literacy)
 การรู้ สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy)
 การมีความรู้ ด้านภาษา (Language Literacy)
 การคิดอย่ างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic)
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ผู้รู้ สารสนเทศ
ผู้รู้ สารสนเทศ (Information Literate Person)
หมายถึง บุคคลทีม่ ที กั ษะและวิธีการในการเรียนรู้ หรือ บุคคลทีร่ ้ ู ว่าจะเรียนรู้
ด้ วยตนเองได้ อย่างไร (People who have learned how to learn)
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ลักษณะของผู้รู้ สารสนเทศ
1. มีความเป็ นอิสระและมีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. มีความต้ องการสารสนเทศ
3. รู้ว่าอะไรคือสารสนเทศทีต่ รงกับความต้ องการ
4. สามารถใช้ และมีความมั่นใจในสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้
5. รู้จักใช้ เครื่องมือทางเทคโนโลยีต่างๆเพือ่ การเข้ าถึง
และสื่ อสารสารสนเทศ
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ความสามารถของผู้รู้ สารสนเทศ
1. มีความตระหนักถึงความสาคัญของสารสนเทศว่ า ใช้ ประโยชน์
ต่ อการตัดสิ นใจ และช่ วยในการทางานหรือการเรียนได้ ดีขึน้
2. มีความสามารถและรู้ว่าจะได้ สารสนเทศทีต่ นต้ องการได้ จากที่ใด
และจะสื บค้ นสารสนเทศได้ อย่ างไร
3. มีความสามารถในการประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ
ได้ อย่ างมีวจิ ารณญาณ
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ความสามารถของผู้รู้ สารสนเทศ
4. มีความสามารถในการประมวลสารสนเทศ คือการคิดและการ
วิเคราะห์ สารสนเทศที่ได้ มา
5. มีความสามารถในการใช้ และสื่ อสารสารสนเทศให้ บรรลุ
วัตถุประสงค์ ของตนเองได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
6. มีความเข้ าใจประเด็นต่ างๆ ทั้งด้ านเศรษฐกิจ การเมือง และสั งคม
ที่เกีย่ วข้ องกับการใช้ สารสนเทศ ตลอดจนการเข้ าถึงและการใช้
สารสนเทศอย่ างมีจริยธรรมและถูกกฎหมาย
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ทักษะการรู้ สารสนเทศ (Information Literacy Skill)
 หมายถึง ทักษะความสามารถในการตระหนักถึงความสาคัญ
ของสารสนเทศ สามารถนา ความต้ องการสารสนเทศไปสร้ างคาถาม
ที่ตอบสนองความต้ องการสารสนเทศได้ รวมทั้งสามารถ บูรณาการ
ความรู้ใหม่ กบั องค์ความรู้เดิมได้ และประยุกต์ ใช้ งานในสถานการณ์
ต่ าง ๆ ได้ เป็ นอย่ างดี
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ทักษะการรู้ สารสนเทศ (Information Literacy Skill)
ทักษะการรู้สารสนเทศ มี 5 ทักษะ
 ทักษะที่ 1 การกาหนดความต้ องการสารสนเทศหรือเข้ าใจปัญหาของตนเอง
หมายถึง ความสามารถในการกาหนดคาถามปัญหาและหัวข้ อสาคัญทีเ่ กี่ยวข้ อง
 ทักษะที่ 2 การใช้ แหล่ งและทรัพยากรสารสนเทศ
หมายถึง ความสามารถในการใช้ แหล่ งและทรัพยากรสารสนเทศ
 ทักษะที่ 3 การสื บค้ นสารสนเทศ
หมายถึงความสามารถในการใช้ ฐานข้ อมูล รายการบรรณานุกรมทรัพยากร
สารสนเทศ
7
ผู้ร้ ู สารสนเทศ
ทักษะการรู้ สารสนเทศ (Information Literacy Skill) (ต่ อ)
 ทักษะที่ 4 การประเมินสารสนเทศ
หมายถึง ความสามารถในการประเมินความน่ าเชื่อถือของแหล่ งทรัพยากร
สารสนเทศ เช่ น ผู้แต่ ง ความถูกต้ อง ความทันสมัย
 ทักษะที่ 5 การวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และการเขียนรายงาน
หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ และการสั งเคราะห์ เนือ้ หาของสารสนเทศ
เพือ่ นาเสนอ การอ้ างอิงและการเขียนบรรณานุกรมได้
ตระหนักถึงความสาคัญของข้ อมูล
สารสนเทศ ความรู้ ต่ อการเรียนรู้
ตลอดชีวติ
จริยธรรมในการ
ใช้ สารสนเทศ
นามาใช้
วิเคราะห์ ความต้ องการ
รู ปแบบการนาเสนอ การอ้างอิง
ทักษะการรู้
สารสนเทศ
รู้ จักแหล่ ง/ทรัพยากรสารสนเทศ
ลักษณะสาคัญ การนามาใช้ ประโยชน์
ลิขสิ ทธิ์ และการใช้ ที่เป็ นธรรม2
ประมวล
วิเคราะห์ จดบันทึก
สังเคราะห์ วางโครงร่ าง
เรี ยบเรี ยงเนื้อหา
- วางแผนค้นคว้า
- ระดมความคิด
- แผนที่ความคิด
- ลักษณะสารสนเทศ
ค้ นหา
ประเมิน
เกณฑ์ในการประเมิน
หลักการอ่านเพื่อการเลือกมาใช้
รู้จกั เครื่ องมือและกลยุทธ์
ในการเข้าถึงสารสนเทศ
แบบฝึ กหัด
• 1. ทักษะการเรี ยนรู ้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษาอย่างไรใน
มหาวิทยาลัย
• 2. ผูร้ ู ้สารสนเทศ คือบุคคลที่รู้วา่ เรี ยนรู ้ได้อย่างไรนั้นต้องมี
ความสามารถในด้านใด
• 3. คากล่าวที่วา่ “Information is Power” มีความหมายว่า
อย่างไร