งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

Download Report

Transcript งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

ระบบงบประมาณแบบมุ่ ง เน้ น ผลงานใช้ กั บ ทุ ก
หน่ วยงานในประเทศไทยตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 จนถึง
ปัจจุบนั
ความหมายของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ระบบงานงบประมาณที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่าง
ทรั พ ยากรที่ ใ ช้กับ ผลตอบแทนที่ ไ ด้รั บ และผลลัพ ธ์ ที่
เกิ ดขึ้ น มี ก ารระบุ พ นั ธกิ จ เป้ าหมาย และวัตถุ ป ระสงค์
ขององค์ ก รอย่ า งเป็ นระบบ ผลผลิ ต และผลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้
จะต้องสัมพันธ์กบั เป้ าหมายและนโยบายของรัฐบาล
ระบบงบประมาณแบบมุ่ ง เน้ น ผลงานมี ล ัก ษณะ
สาคัญดังนี้
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมีลกั ษณะสาคัญดังนี้
1) ให้ความสาคัญกับผลผลิตมากกว่าทรัพยากรที่ใช้ และ
สามารถเชื่ อ มโยงกับ ผลลัพ ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมทั้ง ความ
สอดคล้องกับเป้ าหมายและนโยบายของรัฐบาล
2) มี ก ารก าหนดทิ ศ ทางในเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ที่ มี ร ะยะ
เวลานานกว่า 1 ปี ( 3 - 5 ปี ) เน้นการกระจายอานาจ
จากหน่ วยงานปฏิบตั ิท้ งั ระบบกระทรวง และองค์การ
ปกครองท้องถิ่น
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมีลกั ษณะสาคัญดังนี้
3) ส่ งเสริ มระบบการตรวจสอบภายในและการ
รั บ ผิ ด ชอบของผู้บ ริ หารโดยการสร้ า งระบบการ
รายงานผลการดาเนินงานและการเงินเป็ นระยะๆ แทน
การควบคุมแบบเดิมโดยกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ
4) มีการกาหนดตัวชี้วดั ผลการดาเนินงาน โดยมีหน่วยนับ
ที่ ชัดเจน สามารถวัดผลได้อ ย่า งสมบู ร ณ์ และนามา
ใช้ได้จริ งอย่างเหมาะสมกับเวลา
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมีลกั ษณะสาคัญดังนี้
5) ให้ความสาคัญกับการวางแผนกลยุทธ์ของหน่ วยงาน
จ่ ายงบประมาณตามแผนกลยุทธ์ โดยใช้แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็ นตัวชี้นา
6) เป้ าหมายของนโยบาย เน้นความรับผิดชอบและความ
โปร่ ง ใสในการด าเนิ น งานจัด สรรงบประมาณเป็ น
วงเงิ น รวม ส าหรั บ รายจ่ า ยแต่ ล ะด้า น ได้แ ก่ 4 งบ
บุคลากร งบดาเนินงาน งบลงทุน เป็ นต้น
ในปี 2544 คณะรั ฐ มนตรี ภายใต้ ก ารน าของ
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้แถลงนโยบายในการปฏิ รูป
ระบบราชการใหม่ 5 ประการ คือ
1) ปฏิ รู ป ระบบราชการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี
โครงสร้ า งที่ ก ระชับ เหมาะสมกับ สถานการณ์ ใ น
ปั จจุ บนั สามารถตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิ จ
และสังคมของประเทศ
2) เปลี่ ยนบทบาทของภาครั ฐจากผูป้ ฏิบตั ิ และผู ้
ควบคุมเป็ นผูส้ นับสนุนและให้ความสะดวก
3) ปรั บ กระบวนการบริ หารราชการโดยใช้
เทคโนโลยี เ พื่ อ ให้ ป ระชาชนได้รั บ บริ การข้อ มู ล
ข่าวสารอย่างกว้างขวางและเท่าเทียม
4) เร่ งพัฒนาคุณภาพข้าราชการให้มีทศั นคติเอื้อ
ต่อการบริ การประชาชน
5) เร่ งรั ดการเปลี่ ยนแปลงกระบวนการจัดท าและ
จัด สรรงบประมาณให้ เ ป็ นเครื่ องมื อ ในการจั ด สรร
ทรั พยากรที่ มีประสิ ทธิ ภาพสอดคล้องกับนโยบาย และ
ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการพั ฒ นาประเทศและส่ งเสริ มให้
กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาทในการตัดสิ นใจมากขึ้ น
พร้ อมทั้งให้มีระบบควบคุ มตรวจสอบที่ มีประสิ ทธิ ภาพ
และโปร่ งใส
การปฏิ รู ป งบประมาณยุค ใหม่ ไ ด้ด าเนิ น การ 2
ระดับ คือ
1. ระดับ นโยบายด าเนิ น การโดยรั ฐ บาล หรื อ
คณะรับมนตรี
2. ระดับปฏิบตั ิการโดยสานักงบประมาณ
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
คณะกรรมการได้กาหนดกรอบและแนวทาง
ในการปรับปรุงกฎหมายวิธีการงบประมาณ ดังนี้
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
1) รวมศูนย์อานาจไว้ที่หน่ วยงานกลางน้ อย
เพื่อให้สามารถใช้ระบบงบประมาณเป็ นเครื่อ งมือ
ในการบริหารและสนองนโยบายในภาพรวม
2) มี ม าตรฐานเงิ น เดื อ นหลายมาตรฐาน
เพื่อให้ความสามารถกาหนดมาตรฐานที่แตกต่ าง
กันโดยเฉพาะเรื่องเงินเดือน
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
3) มีคณะกรรมการในการพิจารณางบประมารแทน
การให้สานั กงานงบประมาณมีอานาจแบบรวมศูนย์ เพื่ อ
ความเหมาะสมกับสถานการณ์และส่งเสริมหลักการบริหาร
จัดการที่ดี
4) จัดระบบงบประมาณให้สนองความเป็ นจริงในการ
กระจายอานาจสู่ทอ้ งถิ่น สามารถบอกได้ว่างานใดเป็ นงาน
ระดับชาติ และงานใดเป็ นงานระดับท้องถิ่น แก้ปัญหาความ
สับสนในบทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่น
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
5) กาหนดวิธีการงบประมาณให้รองรับกับการ
แบ่งแยกอานาจรัฐธรรมนู ญ โดยวิธีการงบประมาณ
สาหรับองค์กรอิสระ
6) กาหนดให้จงั หวัดเป็ นส่วนราชการ ซึ่งจะทาให้
สามารถจัดงบประมาณได้โดยตรง ซึ่งจะทาให้คล่องตัว
และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูประบบราชการที่
ให้ผู้ว่า ราชการจัง หวัด เป็ นผู้ว่า ราชการจัง หวัด แบบ
บูรณาการหรือ CEO
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
7) ก าหนดโครงสร้า งและเนื้ อหาของ พ.ร.บ.
วิธีการงบประมารให้สอดคล้องกัน และให้มีลักษณะ
กระบวนการ มิใช่กาหนดในลักษณะวิธีการ
8) ก าหนดให้ง บประมาณเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ
นโยบาย โดยจะต้องกาหนดเรื่องการคลังในภาพรวม
ไว้ดว้ ย
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
9) วิธีการบริหารการเงินมีหลากหลาย และให้รฐั
มีอานาจจักงบประมาณ ให้องค์กรเอกชนที่ดาเนิ นการ
ในลักษณะสาธารณประโยชน์ดว้ ย
10) กาหนดวิธีการให้สามารถใช้งบประมาณเป็ น
เครื่องมือในการบริหารประเทศของฝ่ ายบริหารและ
ฝ่ ายนิ ติบญ
ั ญัติ
11) มีการกาหนดผลผลิตและผลลัพธ์ โดยมีก าร
ทบทวนอย่างต่อเนื่ อง
การปฏิรูปงบประมาณระดับนโยบาย
12) ระบบงบประมาณต้อ งครอบคลุ ม การใช้
จ่ายเงินของภาครัฐทั้งหมด โดยแยกรัฐวิสาหกิจ และ
องค์กรอิสระไว้ต่างหาก
13) กาหนดความยืดหยุ่นในการนาเงินคงคลั ง
มาใช้
14) ให้มีการศึกษานโยบายงบประมาณ จากนั้ น
คณะอนุ กรรมการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปั ญหา
1) สาเหตุทางด้านภาพรวมของงบประมาณ ได้แก่
(1) กระบวนการและกลไกบริ ห ารคลั ง มหา
ภาครัฐ ไม่สามารถบริหารการเงินเข้าสู่ระบบได้อย่าง
แท้จริง
(2) ขาดการเสนอภาพรวมฐานะการเงิ น ของ
ภาครัฐอย่างแท้จริง
(3) ขาดความเชื่อมโยงในการจัดสรรงบประมาร
ให้สนองตอบต่อนโยบายของรัฐบาล
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปั ญหา
2) สาเหตุทางด้านการบริหารงบประมาณ ได้แก่
(1) ระบบการจัดสรรงบประมาณ ไม่ส่งเสริมให้มี
การบริ หารการตัดสิ นใจ และความรับผิ ดชอบอย่าง
ชัดเจน
(2) ขาดความยื ด หยุ่ น ในการบริ ห ารจั ด การ
งบประมาณ
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปั ญหา
2) สาเหตุทางด้านการบริหารงบประมาณ ได้แก่
(3) เน้ น การก ากับ โดยระเบี ย บมากกว่ า การแสดง
ความรับ ผิ ด ชอบและการตรวจสอบผลสัม ฤทธิ์ จ ากการ
จัดสรรงบประมาณ
(4) ขาดกระบวนการที่ ชั ด เจนในการจั ด ล าดั บ
ความสาคัญของโครงการในการจัดสรรงบประมาณ
(5) ขาดความสัม พัน ธ์เ ชิ ง บทบาทหน้ า ที่ แ ละความ
รับผิดชอบของฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนิ ติบญ
ั ญัติ หน่ วยงานกลาง
และหน่ วยงานปฏิบตั ิ
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปั ญหา
3) สาเหตุทางด้านการติดตามและประเมินผล
(1) ขาดกรอบและกลไกในการใช้ผลการประเมิน
มาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย
(2) ขาดกลไกในการประเมิ น ความคุ ้ม ค่ า และ
สัมฤทธิ์ผลของการใช้จา่ ยงบประมาณ
ขั้น ตอนที่ 2 ก าหนดกรอบแนวความคิ ด และ
หลักการปรับปรุ ง พ.ร.บ. วิ ธีการงบประมาณ
พ.ศ. 2502
ขั้ น ตอนที่ 3 ยกร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ วิ ธี ก าร
งบประมาณ คณะทางานกาหนดหลักการและ
วิ ธี ก า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ โ ด ย ย ก ร่ า ง พ . ร . บ .
งบประมาณใหม่ท้งั ฉบับ
สานักงบประมาณ ดาเนินการดังนี้
1. กาหนดรูปแบบการมอบความเป็ นอิสระ
ทางการเงินแก่ส่วนราชการ
2. จัดทาแผนประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า
3 ปี
3. กระทรวงต้น สัง กัด และส่ ว นราชการที่
เป็ นหน่วยงานนาร่องดาเนินการดังนี้
1) จัดทารายงานทางการเงินและรายงานผล
การด าเนิ น งานโดยเปรี ย บเที ย บกับ เป้ าหมายที่
กาหนดไว้กบั สานักงบประมาณ
2) จัด ท ารายงานงบประมาณการณ์รายจ่า ย
ล่วงหน้าระยะ 3 ปี ร่วมกับสานักงานงบประมาณ
3) พัฒนากลไกการตรวจสอบทางการเงินและ
ผลการดาเนินงานของหน่วยงาน
กระบวนการจัดทางบประมาณระบบมุ่งเน้น
ผลงานของไทยมี ข้ัน ตอนการปฏิ บัติ ที่ ส าคัญ
ได้แก่
1. ขั้นตอนการเตรียมงบประมาณ
2. การอนุมตั ิงบประมาณ
3. การบริหารงบประมาณ
4. การควบคุมติดตามงบประมาณ
1. ขั้นตอนการเตรียมงบประมาณ
เ ป็ น ขั้ น ต อ น แ ร ก ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร
งบประมาณ ซึ่งมีกิจกรรมที่สาคัญ 2 กิจกรรม
คื อ การวางแผนงบประมาณ และการจัด ท า
งบประมาณ
การวางแผนงบประมาณ
เป็ นการสร้า งความเชื่ อ มโยงระหว่ า งสภาพ
เศรษฐกิ จในภาพรวม แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและ
สังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงเพื่ อ
ก าหนดนโยบายงบประมาณ วงเงิ น งบประมาณ
รายจ่า ยประจ าปี และทิ ศ ทางจัด ท างบประมาณ
การวางแผนงบประมาณจะประกอบด้ว ยการ
ดาเนินการดังนี้
การวางแผนงบประมาณ
1) การคาดการณ์ เศรษฐกิจ และการคลังมหภาค
2) การประมาณการรายได้
3) การประมาณการณ์ หนีส้ าธารณะ
4) การเชื่ อ มโยงนโยบายของคณะรั ฐ มนตรี แ ละ
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ไ ปสู่ การจั ด ท า
ทิ ศ ทางหรื อ ยุ ท ธศาสตร์ การจั ด สรรงบประมาณรายจ่ า ย
ประจาปี
การวางแผนงบประมาณ
5) การกาหนดนโยบายงบประมาณและการกาหนด
วงเงิ น งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี เป็ นการน าผล
วิ เ คราะห์ จ ากการคาดการณ์ ท างเศรษฐกิ จ และการ
คลังมหภาค การประมาณการณ์ รายได้ การประมาณการ
หนีส้ าธารณะ
การจัดทางบประมาณ
ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
จะมีการดาเนินการเป็ นขั้นตอนดังนี้
การจัดทางบประมาณ
1) เมื่ อ เริ่ ม ต้ น ปี งบประมาณ ส านั ก งานงบประมาณจะ
นาเสนอปฏิทินงบประมาณรายจ่ ายประจาปี ต่ อคณะรั ฐมนตรี ให้
ความเห็นชอบ
2) เมื่อคณะรั ฐมนตรี ให้ ความเห็นชอบนโยบายงบประมาณ
ทิ ศ ทางหรื อ ยุ ท ธศาสตร์ การจั ด สรรงบประมาณ และวงเงิ น
งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
การจัดทางบประมาณ
3) แต่ ละกระทรวงแจ้ งหน่ วยงานในสั งกัดเพื่อจัดทาคาของ
งบประมาณ
4) สานักงานงบประมาณที่ส่วนราชการเสนอวิเคราะห์ สรุ ป
จัดทาเป็ นร่ างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ ายประจาปี ต่ อ
นายกรัฐมนตรี เพือ่ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณา
5) นายกรั ฐมนตรี เสนอร่ างงบประมาณรายจ่ ายประจาปี ต่ อ
รัฐสภา
ขั้นการอนุมตั งิ บประมาณ
ห ลั ง จ า ก ส ภ า ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร ไ ด้ รั บ ร่ า ง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี จาก
คณะรัฐมนตรีแล้วก็ดาเนิ นการพิจารณาเพื่ออนุ มตั ิ
งบประมาณโดยการพิจารณา 3 วาระ คือ
ขั้นการอนุมตั งิ บประมาณ
วาระที่ 1 ขั้นรั บหลักการ เป็ นการพิจารณาหลักการ
ในเบื้ อ งต้น ว่า พระราชบัญ ญัติ ที่ น าเสนอมี ค วามจ าเป็ น
เหมาะสมเพียงใด
วาร ะที่ 2 ขั้ น พิ จ า รณ า ว าร ะนี้ ก าร พิ จ า รณ า
รายละเอี ยดตามลาดับมาตรา และเสนอคาแปรญัตติ ให้
สภาพิ จ ารณา ซึ่ งสภาอาจเห็ น ด้ ว ยกั บ ร่ างเดิ ม หรื อที่
คณะกรรมาธิ การเสนอ แต่อาจใช้กรรมาธิ การเต็มสภาก็ได้
ขั้นการอนุมตั งิ บประมาณ
วาระที่ 3 ขั้นลงมติ เป็ นขั้นตอนการลงมติ ว่าจะรั บ
หรื อไม่ รั บ ร่ างพระราชบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ่ า ย
ประจาปี
ขั้นการบริหารงบประมาณ
เป็ นขั้นตอนการดาเนิ นงานหลังจากได้รับอนุ มัติ
จากรั ฐ สภาแล้ว แต่ ล ะหน่ ว ยงานจะเป็ นผู้บ ริ ห าร
งบประมาณที่ รับ จัด สรร การบริ ห ารงบประมาณมี
วัตถุ ประสงค์ให้หน่ วยงานภาครัฐบริ หารงานและใช้
จ่ายงบประมาณที่ได้รบั การจัดสรรให้บรรลุเป้ าหมาย
อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส
ขั้นการติดตามและประเมินผล
หลั ง จากการใช้จ่ า ยงบประมาณแล้ว จะมี ก าร
ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานว่าการบริห าร
งบประมาณสอดคล้อ งกับ นโยบายของรัฐ บาลและ
เป้าหมายการให้บริการหรือไม่ การประเมินผลงาน
ต้อ งค านึ งถึ ง ความถู ก ต้ อ ง รวดเร็ ว คุ ้ม ค่ า แล ะ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนโดยมีระบบการ
รายงาน 2 ระบบคือ
ขั้นการติดตามและประเมินผล
1) การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
2) การรายงานด้านกานเงิน
ขั้นการติดตามและประเมินผล
เพื่อให้การดาเนิ นการตามวิธีงบประมาณใหม่ มี
ประสิ ท ธิ ภ าพ ได้ ก าหนดมาตรการตรวจสอบ
ดังต่อไปนี้
1) คณะกรรมการนโยบายงบประมาณ
2) ฝ่ ายนิ ติ บัญ ญัติ ท าหน้ า ที่ ต รวจสอบผลงาน
ของรั ฐ บาลโดยใช้เ ป้ าหมายระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ ที่
คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภามาตรวัดผลงานระดับ
นโยบาย
ขั้นการติดตามและประเมินผล
3) คณะรั ฐ มนตรี รั ฐ มนตรี แ ต่ ล ะกระทรวงมี
หน้ า ที่ ใ นการก าหนดเป้ าหมายการให้ บ ริ ก าร
สาธารณะที่สอดคล้องกับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
4) ข้อตกลงการให้บริการสาธารณะประกอบด้วย
เป้าหมายระดับนโยบาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
การปฏิ บั ติ ความคุ ้ม ค่ า การใช้ท รั พ ยากร และ
ผูร้ บั ผิดชอบในการดาเนิ นการให้บรรลุขอ้ ตกลง
ขั้นการติดตามและประเมินผล
5) ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิ มี
ระบบติ ด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ เ พื่ อ
ตรวจสอบผลการดาเนิ นงานของทุกหน่ วยงานว่า
สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล
ขั้นการติดตามและประเมินผล
6) อานาจในการปรับเปลี่ยนงบประมาณ
7) การรับ งบประมาณโดยตรงขององค์ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่ น ให้องค์กรปกครองท้องถิ่ น
สามารถรับงบประมาณได้โดยตรง