Transcript Power Point

Knowledge Forum and the
Best Practice 52
นพพร เพียรพิกลุ
งานบริการ ฝ่ ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ
มีนาคม 2553
มหกรรม Knowledge Forum
and The Best Practice 52
กิจกรรม: กิจกรรม KM ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กรุงเทพฯ
เจ้ าภาพ: มหาวิทยาลัย
สถานที่จัด: ห้ องประชุมใหญ่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
วัน-เวลา: 30 กรกฎาคม 2552 9.00-16.30 น.
กิจกรรม
• การเสวนาหัวข้ อ การพัฒนาบุคลากรและการ
จัดการความรู้
• การจัดนิทรรศการกิจกรรมการจัดการความรู้
• การประกวดแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
(กิจกรรม KM ของคณะ/สานัก)
NIDA KM
• แผนยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้ (แผนพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้ )
• Sharing
– Knowledge Forum
– การศึกษาดูงาน
– NIDA KM: Wisdom for Change
– www.km.nida.ac.th
– การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ภายในองค์กร
• Doing
– Best Practice
– NIDA Academic Bank
– KM Active
• Training
– การสัมมนาการจัดการความรู้ประจาปี (NIDA KM Seminar) + การประกวดและนาเสนอผลงาน
บรรยากาศในห้ องประชุม
บรรยากาศในห้ องประชุ ม
Feedback
Memory Tree
ผลการประกวด
• รางวัลที่ 1
โครงการ Students’ Journey: Way to Success (คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ )
• รางวัลที่ 2
โครงการ Helpdesk Service System (สานักการศึกษาระบบสารสนเทศ)
• รางวัลที่ 3
โครงการฐานข้ อมูลคณะพัฒนาสั งคมและสิ่ งแวดล้ อมเพือ่ การบริหารและบริการ
ผลการประกวด
รางวัลชมเชย
โครงการ Book Delivery Service
(สำนักบรรณสำรกำรพัฒนำ)
โครงกำรพัฒนำเว็บไซต์ คณะรัฐประศำสน
ศำสตร์ (คณะรัฐประศำสนศำสตร์ )
รางวัลชนะเลิศ
รางวัลชนะเลิศ Best Practice 52
โครงการ “Students’ Journey: Way to Success”
ของ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
วัตถุประสงค์ : เพือ่ พัฒนาระบบการสื่ อสารภายในคณะ
ระหว่ างคน 3 กลุ่ม คือ คณาจารย์ เจ้ าหน้ าทีค่ ณะ
และนักศึกษา โดยใช้ แหล่ งข้ อมูลเดียวกัน (เว็บไซต์ )
ขั้นตอน
• วางโครงร่ างและเนือ้ หาทีจ่ ะบรรจุในโครงการ
• ฝ่ ายการศึกษาของคณะกาหนดตารางกิจกรรมว่าช่ วงไหนนักศึกษา
ต้ องทาอะไร โดยละเอียดตามลาดับเหตุการณ์ ในตลอด 2 ปี (โดยขอให้
อาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ และนักศึกษาช่ วยกันพิจารณาข้ อมูลทั้งหมด)
• จัดทาข้ อมูลบนเว็บไซต์
• สร้ างห้ องเรียน (E-Classroom) เพือ่ เป็ นช่ องทางให้ อาจารย์ และนักศึกษา
ติดต่ อกัน ในการ มอบหมายงาน ส่ งงาน และส่ งการบ้ าน
ฯลฯ
รางวัลชมเชย (สานัก
บรรณสารการพัฒนา)
สำนักบรรณสำรกำรพัฒนำ
สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
กุมภาพันธ์ 2553
เหตุผลความเป็ นมา
สาเหตุ
• หนังสื อที่อาจารย์เสนอซื้อ ทาบันทึกแจ้ งรายชื่อไปแล้วไม่ มายืม นานจนต้ องนาขึน้ ชั้น
• มีการจองหนังสื อทีม่ คี นยืมแล้ ว รอจนหมดอายุการจอง ไม่ มายืม (อายุการจอง 5 วัน)
วัตถุประสงค์
•
•
•
•
เพือ่ ให้ หนังสื อพบกับผู้ใช้ ทตี่ ้ องการใช้ อย่ างรวดเร็ว ไม่ ต้องรอบนชั้นนาน
เพือ่ ให้ เกิดความคุ้มค่ าของงบประมาณทีจ่ ัดหามา
เป็ นบริการเชิงรุ ก
เพือ่ สร้ างความพึงพอใจต่ อผู้ใช้ บริการ
ข้ อได้ เปรียบ
• เป็ นมหำวิทยำลัยเล็ก ทัง้ ในด้ ำนพืน้ ที่ และด้ ำน
จำนวนบุคลำกร
• มีกำรส่ งหนังสือประจำวันอยู่แล้ ว
• เป็ นโอกำสประชำสัมพันธ์ งำนบริกำรห้ องสมุด
• ใช้ ส่ งิ ที่มีอยู่แล้ ว ไม่ ต้องของบประมำณเพิ่ม ได้ แก่
แรงงำน รถจักรยำน
การดาเนินการระยะแรก
• 9 มีนาคม 2552 โครงการนาร่ อง บริการเฉพาะคณาจารย์ (ประมาณ 180 คน) เพือ่ ดู
ปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ก่ อนขยายโครงการไปสู่ บุคลากรทั้งสถาบัน
• 1 มิถุนายน 2552 ขยายการบริการให้ กบั บุคลากรทั้งสถาบัน (ประมาณ 750 คน)
ผลสรุป
• ประเภทบุคลากรทีใ่ ช้ มากทีส่ ุ ด คือ อาจารย์
• ประเภทหนังสื อที่ยมื วิชาการ
• ช่ องทางทีใ่ ช้ มากสุ ดคือ จองผ่ านระบบ OPAC รองลงมาคือ โทรศัพท์ อีเมล
เสนอซื้อ
ช่ องทางการขอรับบริการ
• โทรศัพท์ Hotline สายด่ วน 3737 (One Stop Service)
• E-mail: [email protected], [email protected]
• การจองผ่ าน OPAC (คนละ 3 เล่ ม)
• จองผ่ านระบบ ICS (Internal Communication System) ของ
สถาบัน
• ช่ องทางใหม่ MSN: [email protected]
ระบบ ICS ของสถาบัน
Message Boards
BDS
ปัญหาและอุปสรรค
• แรก ๆ ตอนเปิ ดตัวใหม่ ๆ ผูใ้ ช้ยงั ไม่ค่อยทราบช่องทางการขอรับบริ การ
• ด้านเทคโนโลยี อีเมลช้า ต้องโทรศัพท์มาสอบถาม (โทรศัพท์เร็ วที่สุด)
• ต้องใช้โปรแกรมเสริ มในการดึงข้อมูลการจองหนังสื อที่มีสถานภาพ On
shelf, In Process, In Cataloging
• ต้องตรวจสอบหนังสื อที่อยูบ่ นชั้นจอง ว่ามีหนังสื อที่ควร Delivery
หรื อไม่ ตลอดเวลา
• ต้องตรวจสอบตลอดเวลาเพื่อให้ทนั กับรอบการส่ ง (วันละ 4 รอบ 9.00,
11.00, 12.00 และ 16.00 น.)
• ต้องมีหลักฐานยืนยันการรับบริ การ
ข้ อดี
• ทาให้ ประชาคมรู้ จกั สานักบรรณสารการพัฒนามากขึน้
• ทาให้ ผ้ ูปฏิบัตงิ านต้ องตืน่ ตัวอยู่ตลอดเวลา
• หนังสื อมีการใช้ อย่ างคุ้มค่ า
• หนังสื อไม่ ต้องรอผู้ใช้ มายืมเอง
• สร้ างความพึงพอใจต่ อผู้ใช้ บริการ ซึ่งเป็ น End User
• เป็ นไปตามคาขวัญของสานัก “ทรัพยากรทันสมัย ตอบสนอง
ฉับไว สร้ างความพึงใจ เพือ่ ผู้ใช้ บริการ”
แผนงานในอนาคต
• จัดวางตู้ Book Drop ตามอาคารต่ าง ๆ เพือ่ อานวยความสะดวกในการมา
คืน
ข้ อค้ นพบ
• ผู้ใช้ บางคนยังต้ องการมาห้ องสมุดเพือ่ เลือกดูหนังสื อเองจากชั้น ซึ่งมี
หลากหลาย และมีอรรถรสมากว่ า Shop ทาง OPAC แล้วขอ BDS
• ผู้ใช้ ไม่ สามารถดูหน้ าสารบัญได้ อ่านชื่อแล้วน่ าสนใจ แต่ ไม่ รู้เนือ้ หาตรง
หรือไม่ (ห้ องสมุดเพิง่ เริ่มสแกนหน้ าปก หน้ าสารบัญและ เนือ้ หา 10 หน้ า
แรกเข้ า OPAC ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ไม่ นาน)
• ดูคลิป BDS ที่ http://www.km.nida.ac.th/librarykm
บริการหนังสื อด่ วน บุคคลภายนอก (10.2)
• ปี 2551 บริการภายใน 14 ช.ม. เวลาทาการ (บริการผู้ใช้ ทุกประเภทใช้ เวลา
เท่ ากัน)
• ปี 2552 เริ่ม 4 มกราคม 2553 บริการภายใน 6 ช.ม. เวลาทาการ สาหรับบุ
คลภายนอกเท่ านั้น ประเภทอืน่ ยังคงเวลาประกันเท่ าเดิม
เงื่อนไข
• บริการเฉพาะบุคคลภายนอกทีม่ าติดต่ อด้ วยตนเองเท่ านั้น
• หนังสื อทีต่ ้ องการต้ องอยู่ในสถานภาพ In Process และ In Cataloging
• ขอรับบริการได้ คนละ 2 เล่ม
ขั้นตอนการบริการ
•
•
•
•
ผู้ใช้ มาติดต่ อ เขียนแบบฟอร์ ม
โทรศัพท์ แจ้ งงานวิเคราะห์ ฯ
โพสต์ คาขอในระบบ ICS ห้ องบริการหนังสื อด่ วน
งานวิเคราะห์ ฯดาเนินการทุกขั้นตอนจนเสร็จส่ งให้ บรรณารักษ์ งานบริการ และ
โพสต์ ว่าดาเนินการแล้ว
• บรรณารักษ์ งานบริการโทรศัพท์ หรืออีเมลแจ้ งผู้ใช้ บริการ และโพสต์ ว่าติดต่ อผู้ใช้
แล้วช่ องทางใด วันที่ เวลา
• สานักงานเลขานุการเก็บข้ อมูล โดยคานวณเวลาตั้งแต่ เริ่มติดต่ อขอรับบริการจนงาน
บริการแจ้ งผู้ใช้
งานหนังสื อด่วน
ปัญหา
• สร้างแรงกดดันให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานพอสมควร
• แรก ๆ มีปัญหา เนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจ ไม่ทราบวัตถุประสงค์ของ
การบริ การนี้ จึงรอให้เสร็ จพร้อมด่วนทัว่ ไป ค่อยลงมาให้บริ การทีเดียว
• ปัญหาเรื่ องสถานที่ งานเทคนิคอยูช่ ้ นั 6 งานบริ การอยูช่ ้ นั 2 ขึ้นลงบ่อยไม่
สะดวก
การแก้ปัญหา
• ประชุมชี้แจงให้บุคลากรทราบอย่างทัว่ ถึง
• ชี้แจงเฉพาะผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรง
• ปรึ กษาหารื อกันเพื่อแก้ปัญหาความเข้าใจผิด
ขัน้ ตอนกำรปฏิบตั ิ งำน
หนัง สือ ด่วน
สำหรับบุคคลภำยนอก
สำนักบรรณสำรกำรพัฒนำ
เริ่มต้ น
รับรายการขอหนังสือด่ วน
ตรวจสอบรายการและจองในระบบ OPAC 10 นาที
ส่ งรายการให้ งานวิเคราะห์ ทาง ICS
10 นาที
ตรวจสอบตัวเล่ม 1 ชม.
N
วิเคราะห์ หมวดหมู่ 1.20ชม.
สิ่งพิมพ์
สถาบัน
เตรียมตัวเล่ม 50 นาที
ส่ งงานบริการ 10 นาที
รับหนังสือเข้ าระบบ
และตรวจสอบ
20 นาที
Y
สแกนตัวเล่ม
N
3 ชม.
วิเคราะห์ หมวดหมู่
และลิงค์เอกสารฉบับเต็ม
1.30 ชม.
แจ้ งงานบริการ 5 นาที
แจ้ งผู้ใช้ บริการทาง E-mail หรือโทรศัพท์ 5 นาที
สิ้นสุ ด
ระยะ เวลา
6 ชม.
ตรวจสอบ
Y
ปัญหาและข้ อเสนอแนะ