- ศูนย์สุขภาพจิตที่ 6

Download Report

Transcript - ศูนย์สุขภาพจิตที่ 6

“การเสริมสร ้างความสุขในการทางาน
ของบุคลากรสาธารณสุขทีร่ ับผิดชอบ
งานด้านสุขภาพจิต
ในเขตนครช ัยบุรน
ิ ทร ์”
โดย
กลุ่มงานวิชาการ
สุขภาพจิต
ศู นย ์สุขภาพจิตที่ 5
อ ันดับจิตแพทย ์ต่อประชากรแสนคน ปี 2555
อัตราต่อประชากรแสนคน
6
5,45
5
4
3
2
1
1,89
1,11 0,97
0,84 0,78 0,75
1,16
0,53 0,420,41 0,37 0,35 0,32
0
ทีม
่ า ศูนย์ปฏิบต
ั ก
ิ าร กรม
2
อ ันด ับพยาบาลจิตเวชต่อประชากรแสนคน
ปี 2555
14,00
12,00
10,00
8,00
6,00
4,00
12,13
10,07 10,05
9,00
6,69 6,19
4,82 4,80
6,19
3,96 3,68 3,47
2,94 2,71
2,00
0,00
ทีม
่ า ศูนย์ปฏิบต
ั ก
ิ าร กรม
3
สถานการณ์ของบุคลากรด้านสุขภาพจิต
เขตนครช ัยบุรน
ิ ทร ์
ั บุรน
• ปี 2555 – 2556 เครือข่ายสุขภาพจิตเขตนครชย
ิ ทร์ มีการโยกย ้าย
เปลีย
่ นงาน รวมถึงการลาออกของผู ้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตระดับ
โรงพยาบาลชุมชน ร ้อยละ 17.0 (15 รพช. จาก 88 รพช.)
ั บุรน
• ผลการสารวจความต ้องการของเครือข่ายสุขภาพจิตเขตนครชย
ิ ทร์
โดยศูนย์สข
ุ ภาพจิตที่ 5
ในปี 2553 –2556 พบปั ญหาส าคั ญ คือ งานสุ ข ภาพจิต เป็ นงานฝาก
โอกาสก ้าวหน ้ามีน ้อย หากต ้องการความก ้าวหน ้าในหน ้าทีก
่ ารงานหรือมี
ต าแหน่ ง สู ง ขึ้น ต อ
้ งเปลี่ ย นงานหรื อ ต อ
้ งรั บ งานอื่ น ๆ นอกจากงาน
สุขภาพจิตด ้วย นั กจิตวิทยาสว่ นใหญ่ยังเป็ นลูกจ ้างชวั่ คราว
่ ความสัมพันธ ์กับความสุขในการ
ระด ับความสุขและปั จจัยทีมี
ทางานของบุคลากรสาธารณสุข
ทีร่ ับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิต ในเขตนครช ัยบุรน
ิ ทร ์
• “แบบสารวจความสุขด ้วยตนเอง : Happinometer” ของ รศ.ดร.
ศริ น
ิ ั นท์ กิตติสข
ุ สถิต หัวหน ้าโครงการจับตาสถานการณ์ความสุขของ
คนทางานในประเทศไทย มหาวิทยาลัยมหิดล
• สว่ นที่ 1 เป็ นคาถามทั่วไปเกีย
่ วกับสถานภาพทั่วไปของผู ้ตอบ
แบบสอบถาม จานวน 10 ข ้อ สว่ นที่ 2 เป็ นคาถามปลายปิ ดแบบ
ตรวจสอบรายการ (Check list) และประเมินค่า 5 ระดับได ้แก่ คะแนน
เฉลีย
่ 1.00-1.49 มีความสุขน ้อยทีส
่ ด
ุ , 1.50-2.49 มีความสุขน ้อย,
2.50-3.49 มีความสุขปานกลาง, 3.50-4.49 มีความสุขมาก และ
คะแนนเฉลีย
่ 4.50-5.00 มีความสุขมากทีส
่ ด
ุ
• สอบถามความสุขในเรือ
่ งสุขภาพดี (Happy Body) ผ่อนคลายดี
(Happy Relax) น้ าใจดี (Happy Heart) จิตวิญญาณดี (Happy Soul)
www.themegallery.com
Company Logo
กรสาธารณสุขโดยรวม
ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลีย
่ ของความสุขในการทางานของ
บุคลากรสาธารณสุขโดยรวม
ความสุข
ความสุขในการทางานของบุคลากร
สาธารณสุขโดยภาพรวม
สุขภาพดี (Happy Body)
ผ่อนคลายดี (Happy Relax)
น้ าใจดี (Happy Heart)
จิตวิญญาณดี (Happy Soul)
ครอบคร ัวดี (Happy Family)
สังคมดี (Happy Society)
ใฝ่รู ้ดี (Happy Brain)
สุขภาพเงินดี (Happy Money)
การงานดี (Happy Work Life)
่
ค่าเฉลีย
3.7
S.D.
0.3
3.7
3.4
4.0
3.9
3.7
3.7
3.9
3.0
3.6
0.5
0.5
0.4
0.5
0.8
0.6
0.5
0.7
0.5
โครงการเสริมสร ้างความสุขในการทางาน
ของบุคลากรสาธารณสุขทีร่ ับผิดชอบงานด ้าน
ั บุรน
สุขภาพจิต ในเขตนครชย
ิ ทร์
• วัตถุประสงค ์
เพือ
่ เสริมสร ้างความสุขในการทางานของบุคลากรสาธารณสุขทีร่ ับผิดชอบ
ั บุรน
งานด ้านสุขภาพจิตในเขตนครชย
ิ ทร์
• วิธก
ี ารดาเนิ นงาน
• นาความสาคัญของปั ญหามาวิเคราะห์และค ้นหาแหล่งสนับสนุน
• นาเสนอผลการวิเคราะห์แก่ผู ้จัดการโครงการเสริมสร ้างสงั คมขององค์กร
แห่งความสุขภาคอีสาน
• เขียนโครงการขอรับการสนับสนุนวิทยากรและงบประมาณดาเนินงาน
• เสริมสร ้างความสุขในการทางานด ้วย Happy 8 workplace นาเสนอผลงาน
ขององค์กรต ้นแบบ และพัฒนาด ้านจิตวิญญาณดี และสุขภาพเงินดี
• ติดตามประเมินผล ปรับปรุงพัฒนาและร่วมแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้กับองค์กรอืน
่ ๆ
• วางแผนพัฒนาอย่างต่อเนือ
่ ง
กิจกรรม
สาคัญ มีดงั นี ้
• โครงการประชุมเชงิ ปฏิบต
ั ก
ิ ารพัฒนาสุขภาพจิตวัย
ทางาน
“Happy Money…เคล็ด (ไม่) ลับสร ้างความสุขทาง
การเงิน”
กิจกรรม
สาคัญ (ต่อ)
ั มนาเชงิ ปฏิบต
• โครงการสม
ั ก
ิ าร “เสริมสุข ลดทุกข์
ทีใ่ จ”
กิจกรรม
สาคัญ (ต่อ)
• ร่วมแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้และจัดนิทรรศการกับองค์กรเครือข่าย
ของโครงการเสริมสร ้างสงั คม ขององค์กรแห่งความสุข
๊ ใจ๋กะบ ้านเอ๋ง”
ภาคอีสานในงาน “ความสุขทะลุไห สุข
การประเมิ
น
ผล
บุคลากรสาธารณสุขทีเ่ ข ้าร่วมโครงการประเมินว่าจะนาความรู ้
้
ทีไ่ ด ้ไปใชในการเสริ
มสร ้างความสุขในชวี ต
ิ และการทางาน
ั บุรน
ร ้อยละ 100 มีองค์กรสาธารณสุขในพืน
้ ทีเ่ ขตนครชย
ิ ทร์
หลายแห่งสมัครเข ้าร่วมโครงการเพือ
่ พัฒนาเป็ นองค์กรสร ้าง
สุขต่อไป
ข้อเสนอแนะ
• การนา Happinometer มาใช ้ สามารถนาไปพัฒนาเสริมสร ้างความสุขของคนทางาน
ได ้ถูกทิศทาง
• การนา Happy 8 workplace มาใชกั้ บองค์กรหรือหน่วยงาน สง่ ผลต่อการขับเคลือ
่ น
การสร ้างสุขให ้กับบุคลากรและองค์กรอย่างเป็ นรูปธรรมต่อไป
ึ ษาความสุขทัง้ 9 ด ้านพบว่า ด ้านการเงินดีมค
• การศก
ี ่าคะแนนเฉลีย
่ อยูใ่ นระดับต่า
ทีส
่ ด
ุ ดังนั น
้ ผู ้บริหารองค์กรควรสนั บสนุนให ้บุคลากรมีการวางแผนการเงิน จัดอบรม
การใชช้ วี ต
ิ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ปรับปรุงสวัสดิการ เพือ
่ กระตุ ้นและจูงใจ
ให เ้ กิด ผลสั ม ฤทธิ์ใ นการท างาน ที่ จ ะน าไปสู่ ก ารเพิ่ ม ความสุ ข ในการท างาน
นอกจากนี้ควรจัดกิจกรรมผ่อนคลายความเครียดเพิม
่ เติม เนื่องจากผลจากการวิจัย
พบว่าความสุขด ้านผ่อนคลายดีทแ
ี่ ม ้จะมีค่าคะแนนเฉลีย
่ อยู่ในระดับปานกลาง แต่ม ี
คะแนนค่อนข ้างน ้อยเมือ
่ เทียบกับด ้านอืน
่ ๆ โดยผู ้บริหารอาจจัดให ้มีกจ
ิ กรรมการผ่อน
คลายความเครียดในการทางาน สันทนาการ สร ้างทัศนคติทางบวก มองโลกในแง่ด ี
ให ้แก่บุคลากร มีการให ้คาปรึกษา และ สติบาบัด เพื่อให ้เกิดการผ่อนคลายอย่าง
เหมาะสม