2. สวนป่าแม่มาย - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือบน

Download Report

Transcript 2. สวนป่าแม่มาย - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือบน

ประวัติสวนป่า
- สวนป่าแม่มาย เป็นสวนป่าโครงการที่ 1
- เริ่มดาเนินการปลูกสร้างสวนป่า ตั้งแต่ปี 2510
- ใช้ระบบหมู่บ้านป่าไม้เป็นแรงงาน
- ชนิดไม้ที่ปลูกเป็นสักทั้งหมด
- มีพื้นที่สวนป่าจานวน 18 แปลง เนื้อที่ 21,243.29 ไร่
- เริ่มตัดสางขยายระยะไม้สักออกมาจาหน่ายตั้งแต่ปี 2538
- ปลูกเสริมรอบตัดฟันที่ 2 เมื่อปี 2544 แปลงปี 2511 และ 2512
ข้อมูลทั่วไป
- ที่ตั้ง พิกัด 568375 E 2044747 N
- ตั้งอยู่ที่ หมู่ 12 ต.บ้านแลง อ.เมือง จ.ลาปาง
- ห่างจาก จังหวัดลาปางระยะทางประมาณ 32
- สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 280-450 เมตร
- อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 25.89 องศาเซลเซียส
- ปริมาณน้าฝน 1,340.65 มิลลิเมตร/ปี
บทบาทและภารกิจของสวนป่า
 บริหารจัดการสวนป่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ตามมาตรฐานของ Forest
Stewardship Council (FSC)
 เป็นฐานการผลิตไม้สักท่อนที่ได้มาตรฐาน เพื่อตอบสนองความต้องการใช้ไม้
ในประเทศและนอกประเทศ
 บริหารจัดการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
 พัฒนาชุมชนรอบสวนป่า โดยสวนป่าช่วยสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ชุมชน
รอบสวนป่า
 ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่สวนป่า
และปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
Total area
rai.
ha.
= 21,243.29
= 3,398.93
• Productive Area
rai.
=
=
ha.
• Non-Productive Area
rai.
=
ha.
• Conservation Area
18,245.17
2,919.23
=
737.02
117.92
=
2,256.50
Map
Species within Plantation
ชือ
่ วิทยาศาสตร ์ Tectona grandis L.f.
วงศ์ VERBENACEAE
 ชือ
่ สามัญ Teak
 ชือ
่ อืน
่ ๆ เซบายี
่ ้ ปี ฮือ ปายี้ เป้อยี
 ไม้ต้น
ขนาดใหญผลั
่ ดใบในฤดูรอน
้

ลาต้นเปลาตรงเปลือกเรียบ
หรือแตกเป็ นรองเล็
ก ๆ สี
่
เทา โคนเป็ นพูพอนตา่ ๆ เรือนยอดเป็ นพุมทรงกลมค
อนข
่
่
้าง
ทึบ เปลือกสี เทา เรียบ
หรือแตกเป็ นรองตื
น
้ ตามความยาวลาตน
่
้

ใบ

ดอก
เดีย
่ วใหญมาก
ออกตรงข้ามกันเป็ นคู่ ปลายใบแหลม
่
โคนมน ยาว 25 – 30
เซนติเมตร กว้างเกือบเทายาว
ใบของตนอ
กว
่
้ อนจะใหญ
่
่ า่ นี้
มาก ผิวใบขนสากคายสี
เขียวเข้ม
ขยีใ้ บสดจะมีสีแดงเหมือนเลือด
ขนาดเล็ก สี ขาวนวลออกเป็ นช่อตาม ปลายกิง่
Summary of Production

Summary Production Previous Year
แปลงปี ชนิดไม้ ระยะปลูก พืน้ ทีต่ าม พืน้ ที่ GPS
ทีป่ ลูก (มXม) ทะเบียน (ไร่)
(ไร่)
2515 สัก
4X4
1,235.00
971.36
2516 สัก
4X4
1,223.00 1,140.19
2519 สัก
4X4
850.00
893.83
2520 สัก
4X4
1,160.00 1,200.98
2521 สัก
4X4
755.00
797.36
2522 สัก
4X4
1,120.00 1,213.07
2523 สัก
4X4
2,500.00 2,590.43
2524 สัก
4X4
1,720.00 1,448.51
2525 สัก
4X4
825.00
758.55
2526 สัก
4X4
1,040.00 1,232.62
2527 สัก
4X4
978.00 1,019.36
2528 สัก
2X4
880.00
973.53
รวม
14,286.00 14,239.79
หมายเหตุ : สารวจกาลังผลิตเมือ่ ปี 2555
พืน้ ทีใ่ ห้
ผลผลิต (ไร่)
662.99
951.11
863.44
1,024.44
737.56
1,140.86
766.84
348.33
731.96
965.78
918.84
961.37
10,073.52
จานวน % รอด ความโต
ต้น/ไร่ ตาย (ต้น) เฉลี่ย (ซ .ม.)
60.44
60.44
60.43
46.78
46.78
64.38
45.38
45.38
79.46
50.67
50.67
68.69
53.15
53.15
69.00
37.36
37.36
77.80
39.40
39.40
68.54
30.99
30.99
65.60
59.52
59.52
68.47
41.53
41.53
64.82
82.90
82.90
65.14
85.36
42.68
64.84
ปริมาตร ปริมาตรทัง้ หมด
ต่อไร่
8.07
5,347.33
8.23
7,827.68
12.76
11,020.65
9.5
9,730.04
10.18
7,512.01
10.32
11,777.96
7.91
6,067.44
6.50
2,264.15
13.58
9,940.93
8.30
8,016.32
14.44
13,269.50
14.36
13,805.33
10.35 106,579.34
FSC Criteria to be evaluated
1.1 การเคารพกฎหมาย
1.2 การยื่นแบบประเมินเพื่อชาระภาษีโรงเรือนและที่ดิน
และใบเสร็จภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ตัวอย่าง การยื่นชาระภาษีโรงงานประดิษฐ์กรรม
การตรวจตราป้องกันพื้นที่สวนป่าโดยใช้ชุดสายตรวจ ร่วมกับหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31
1.6 นโยบายสนับสนุนการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืน
ตามมาตรฐาน อ.อ.ป. และ FSC ของ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
2.1 โฉนดที่ดินและหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนที่ดิน
เป็นสวนป่า(สป.3)
การปักหลักหมายแนวเขตและตรวจสอบประชาสัมพันธ์พื้นที่แก่ชาวบ้านรอบเขตพื้นที่สวนป่า
4. ความสัมพันธ์กับชุมชนและสิทธิคนงาน
Workers
Activity
1. Harvesting
2. Planting
3. Protection
Total
No. of workers No. of sub - contractors
Male Female Male Female
7 3
3 2
1 11 5
-
No. of currently employed
Male Female
19
9
6
28
1
25
38
Total
38
39
1
78
4.2 สวัสดิการลูกจ้าง
 Accident procedure
ขัน
้ ตอนปฏิบต
ั ห
ิ ากเกิด
อุบต
ั เิ หตุ
เกิดอุบต
ั เิ หตุขณะปฏิบต
ั งิ าน
คนงาน,หัวหน้าคนงาน,พนักงาน
ทราบเหตุ
ปฐมพยาบาลเบือ
้ งตนตามลั
กษณะอาการ
้
รักษาได้
หยุดปฏิบต
ั งิ านรอ
กลับพรอมคนงาน
้
อืน
่ ๆ
รักษาไมได
่ ้
ปฏิบต
ั งิ านตอ
่
นาส่งสถานพยาบาลใกลเคี
้ ยง
การให้ความรู้ พนักงาน คนงาน เรื่อง เทคนิคการใช้เรื่อยยนต์โค่นล้มไม้ ความปลอดภัยในการ
ใช้อุปกรณ์
การให้ความรู้ พนักงาน คนงาน เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
เบื้องต้น
4.4 การประเมินค่าผลกระทบทางสังคม
1. การสารวจ IEE การประเมินค่าทางสังคม
2. การค้นหาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3. กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชุนทั้งเชิงรุกและเชิงรับ
4. กระบวนรับฟังความคิดเห็นและการแก้ไขข้อขัดแย้งหรือข้อ
ร้องเรียน
กระบวนการสรรหาผู้มีส่วนได้ - ส่วนเสีย
กิจกรรมการมีส่วนร่วมกันชุมชน/มวลชนสัมพันธ์
ถวายผ้าป่าวันวิสาขบูชา ประจาปี 2557
จัดงานปลูกป่าร่วมกับ อบต.บ้างแลง
แผนภูมิขั้นตอนการแก้ไขข้อขัดแย้งหรือข้อเรียกร้อง
6.1 การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
นาผลการศึกษา IEE มาบริหารจัดการในพื้นที่สวนป่า เช่น
การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินของสวนป่า โดยใช้ระบบวนเกษตร โดยชุมชนมีส่วนร่วม
แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ในสวนป่า
พื้นที่อนุรักษ์ในพื้นที่สวนป่า
พื้นที่นี้จะไม่มีการเข้าไปทาไม้
อนุรักษ์ให้เป็นแหล่งหาของป่า
เช่น เห็ด หน่อไม้ ต่างๆ
แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ในสวนป่า
พื้นที่อนุรักษ์สองฝั่งลาห้วย
(Stream Bank)
เป็นพื้นที่อนุรักษ์ไว้เพื่อสร้างความ
ชุ่มชื้นและอนุรักษ์ดินและน้า บริเวณ
ลาห้วยที่มีนาไหลผ่
้
านตลอดปี
แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ในสวนป่า
พื้นที่แนวป้องกันรอบนอก
(Buffer Zone Area)
เป็นพื้นที่อนุรักษ์ไว้เพื่อเป็นแนวกันชน
ระหว่างพื้นที่สวนป่าและพื้นที่เกษตรกรรม
ชองชาวบ้านเว้นระยะไว้ประมาณ
10 - 15 เมตร
แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ในสวนป่า
พื้นที่ที่มีคุณค่าสูงเพื่อการอนุรักษ์ (HCV) ซึ่งเป็น
พื้นที่ที่ร่วมกับชุมชุนอนุรักษ์ไว้ เช่น พื้นที่ต้นน้า
ลาธาร พื้นที่แหล่งน้า ตาน้า เป็นต้น
แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ในสวนป่า
ต้นไม้อนุรักษ์ในพื้นที่สวนป่า
มีการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยร่วมมือกับ ม.เชียงใหม่ และ ม.แม่โจ้
เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ
ของสวนป่าอยู่เสมอ
กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม
การสารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่สวนป่า
6.4 การปกป้องและแสดงแนวเขตพืน้ ที่ตัวอย่างของระบบนิเวศที่คงเหลือไว้
6.5 การลดความเสียหายที่เกิดกับป่าไม้
สารวจ Site Inspection
การลดความเสียหายที่เกิดกับป่าไม้ (ต่อ)
6.6 ระบบการจัดการการใช้สารเคมีและการป้องกันอันตรายในพื้นที่สวนป่า
สวนป่าฯได้ปฏิบัติตามข้อตกลงของ
องค์การอนามัยโลก(World Health
Organization : WHO)
เรื่องการใช้สารเคมี ซึ่งสวนป่าได้ห้ามการใช้มี
การใช้สารเคมีในการจัดการศัตรูพืชและยา
ฆาแมลง ประเภท 1A และ 1B เชน
คลอริเนต ไฮโดรคาร์บอน , ในพื้นที่สวนป่า
6.7 การจัดการสารเคมีที่ใช้แล้ว
6.8 การใช้ตัวควบคุมทางด้านชีวภาพ
• สวนป่า ฯ ไม่ได้มีการใช้ตัว
ควบคุมทางชีวภาพ ในพื้นที่สวนป่า
แต่มีการสารวจการทาลายและศัตรู
ไม้สักในพื้นที่สวนป่า
6.9 การนาพืชต่างถิ่นเข้ามาปลูก
ทางสวนป่าฯ ไมมี
การนาพืชตางถิ่นเข้ามาปลูกใน
พื้นที่ และได้ปลูกเพียงพืชที่ขอ
ขึ้นทะเบียนกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้
เทานั้น
6.10 การแปลงสภาพจากป่าไม้เป็นพื้นที่สวนป่า
ทางสวนป่าฯไมได้มีการแปรสภาพป่าไม้เป็นพื้นที่สวนป่า
และมีการใช้ประโยชน์พื้นที่เทาที่ได้ขอขึ้นทะเบียนไว้เทานั้นและมีการ
กาหนดขอบเขตพื้นที่แนนอน
9.4 การตรวจติดตามการตรวจวัดการจ้างงานรายปี
10.6 การป้องกันการเสือ่ มดิน
ทรัพยากรดิน
การดาเนินการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ในระยะเริ่มต้นได้มีการใช้วิธีการด้านวนเกษตร
โดยปลูกพืชอื่นผสมผสานในชองวางระหวางการปลูกต้นไม้ ทั้งนี้เพื่อนลดผลกระทบที่จะเกิดข้นจากกาชะ
ล้างพังทลายของดินได้เป็นอยางดี ซึ่งในการดาเนินการของ อ.อ.ป. ก็ได้มีหลักการดังกลาวอยางตอเนื่อง
และเป็นรูปธรรมตอไป
10.7 การควบคุมโรคแมลงและศัตรูป่าไม้ในสวนป่า
ถางทาแนวป้องกันไฟในพื้นที่สวนป่า
การติดป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่องไฟป่า
10.8 การวิเคราะห์และควบคุมความเหมาะสมในการบริหารจัดการพื้นที่
ทางสวนป่าฯ ได้นาผลจากการศึกษา IEE ของสวนป่าฯ ในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ได้ศึกษาและนามาเป็นแนวทางการเขียนแผนปฏิบัติงานประจาปี ของสวนป่าฯ
จบการนาเสนอ
Thank you