พิธีทำบุญทอดกฐิน

Download Report

Transcript พิธีทำบุญทอดกฐิน

พิธีทำบุญทอดกฐิน
การทอดกฐิน
กฐิ น เป็ นงานบุญใหญ่ที่มีปีละครัง้ จัดเป็ น กาลทาน แปลว่า ถวายตามกาลสมัย กาหนดทากันตังแต่
้ วนั แรม ๑ ค่า เดือน
๑๑ ถึงวันขึ ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ คาว่า กฐิ น แปลว่า กรอบไม้ หรื อสะดึง สาหรับขึงผ้ าเย็บจีวรของภิกษุ การทอดกฐิ น คือการนาผ้ ากฐิ นไป
วางไว้ ต่อหน้ าพระสงฆ์อย่างน้ อย ๕ รูป แล้ วให้ พระสงฆ์รูปใดรูปหนึง่ ที่ได้ รับมอบหมายจากคณะสงฆ์เป็ นเอกฉันท์เป็ นผู้รับผ้ ากฐิ นนัน้
ประวัตกิ ฐิน
ในคัมภีร์วินยั ปิ ฎก กฐิ นขันธกะ กล่าวไว้ เป็ นใจความว่า สมัยหนึง่ ภิกษุชาวเมืองปาฐา ประมาณ ๓๐ รูป เดินทางจาก
เมืปาฐาไปเฝ้าพระพุทธเจ้ า ณ เมืองสาวัตถี พอไปถึงเมืองสาเกต ซึง่ อยู่ห่างเมืองสาวัตถี ประมาณ ๖ โยชน์ (๙๖ ก.ม.) ก็พอดี
ถึงวัเข้ าพรรษา จึงต้ องพักจาพรรษาที่เมืองสาเกต พอออกพรรษาแล้ วก็รีบเดินทางต่อไปเวลานันฝนยั
้
งชุกอยู่ ทางเดินจึงเป็ นตมเป็ น
โเปรอะเปื อ้ น ต้ องกราแดดกราฝนจนจีวรเปี ยกชุ่ม พระพุทธเจ้ าจึงทรงอนุญาตให้ รับกฐิ นเพื่อเปลี่ยนจีวรใหม่ได้ เริ่มตังแต่
้ วนั แรม ๑ ค่า
เดือน ๑๑ ถึงขึ ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ โดยมีกาหนดว่า เมื่อได้ ผ้ามาแล้ ว จะต้ องช่วยกันทาพิธีกรานกฐิ นให้ เสร็จภายในวันนัน้ (คือก่อนรุ่ง
อรุณที่จะมาถึง) เรื่ องกฐิ นนี ้ในชันเดิ
้ มเป็ นเรื่ องของภิกษุสงฆ์โดยเฉพาะ เป็ นสังฆกรรม ภิกษุสงฆ์ต้องจัดการขวนขวายหาผ้ ามาเองซึง่ เป็ น
การลาบากอยู่มาก ภายหลังคฤหัสถ์ผ้ มู ีศรัทธาปรารถนาจะอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ ประกอบทังหวั
้ งบุญกุศลด้ วย จึงถือเป็ นหน้ าที่จดั ถวาย
มิใช่แต่คฤหัสถ์เท่านัน้ แม้ พระภิกษุสงฆ์ด้วยกันเองจะทอดกฐิ นก็ได้ ไม่เป็ นการขัดข้ องแต่อย่างใด (แต่จะทอดในวัดที่ตนเองจาพรรษาอยู่
มิได้ )
ประเภทกฐิน
กฐิ นมี ๒ ประเภท คือกฐิ นหลวง และกฐิ นราษฎร์ กฐิ นที่ใช้ ผ้าองค์กฐิ นของพระ
เจ้ าแผ่นดินและทอด ณ พระอารามหลวง เรี ยกว่า กฐิ นหลวง กฐิ นที่ราษฎรทากันทัว่ ๆ ไป
เรี ยกว่า กฐิ นราษฎร์
กฐินหลวง
มีประวัติวา่ เมื่อพระพุทธศาสนาได้ แพร่หลาย
เข้ ามาประดิษฐานอยู่ในประเทศไทย และ
ประชาชนคนไทยที่ตงหลั
ั ้ กแหล่งอยู่บนผืน
แผ่นดินไทย ได้ ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา
ว่าเป็ นศาสนาประจาชาติแล้ ว การทอดกฐิ นก็
ได้ กลายเป็ นประเพณีของบ้ านเมืองมาโดย
ลาดับ พระเจ้ าแผ่นดินผู้ปกครองบ้ านเมือง ได้
ทรงรับเรื่ องกฐิ นนี ้ขึ ้นเป็ นพระราชพิธีอย่างหนึ่งซึ่งทรงบาเพ็ญ
เป็ นการประจาเมื่อถึงเทศกาลทอดกฐิ น การที่พระเจ้ าแผ่นดินทรงบาเพ็ญพระราชกุศลเกี่ยวกับกฐิ นเป็ นพระราช
พิธีดงั กล่าวนี ้ เป็ นเหตุให้ เรี ยกกันว่า กฐิ นหลวง วัดใดก็ตามไม่วา่ จะเป็ นวัดหลวงหรื อวัดราษฎร์ หากพระเจ้ า
แผ่นดินเสด็จพระราชดาเนินไปทรงถวายผ้ าพระกฐิ นแล้ ว เรี ยกว่า กฐิ นหลวงทังสิ
้ ้น
สมัยต่อมา เรื่ องของกฐิ นหลวงได้ เปลี่ยนไปตามภาวการณ์ของบ้ านเมือง เช่น ประชาชนมีศรัทธา
เจริ ญรอยตามพระราชศรัทธาของพระเจ้ าแผ่นดิน ได้ รับพระมหากรุณาธิคณ
ุ ให้ ถวายผ้ ากฐิ นได้ ตามสมควรแก่
ฐานะเป็ นต้ น เป็ นเหตุให้ แบ่งกฐิ นหลวงออกเป็ น ๓ ประเภท คือ
๑. พระกฐิ นที่กาหนดเป็ นพระราชพิธี
๒. พระกฐิ นต้ น
๓. กฐิ นพระราชทาน (สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๑
หน้ า ๕๙ ใช้ คาว่า “กฐิ นพระราชทาน”ไม่มีคาว่า “พระ”นาหน้ า)
พระกฐินที่กาหนดเป็ นพระราชพิธี (พระกฐิ นเสด็จพระราชดาเนิน)
พระกฐิ นดังกล่าวนี ้ พระเจ้ าแผ่นดินเสด็จพระราชดาเนินไปถวายด้ วยพระองค์เองเป็ นประจา ณ วัดสาคัญ ๆ ซึง่ ทางราชการกาหนดขึ ้น มี
หมายกาหนดการเสด็จพระราชดาเนินไว้ อย่างเรี ยบร้ อย ปั จจุบนั พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั เสด็จพระราชดาเนินไปทรงถวายผ้ าพระกฐิ น ณ วัด ต่าง ๆ ทังใน
้
กรุ งเทพมหานครและส่วนภูมิภาค ๑๖ วัด ซึง่ ล้ วนแล้ วแต่เป็ นพระอารามหลวง
๑. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
กรุ งเทพมหานคร
๒. วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์
กรุ งเทพมหานคร
๓. วัดสุทศั นเทพวราราม
กรุ งเทพมหานคร
๔. วัดบวรนิเวศวิหาร
กรุ งเทพมหานคร
๕. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
กรุ งเทพมหานคร
๖. วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
กรุ งเทพมหานคร
๗. วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม
กรุ งเทพมหานคร
๘. วัดเทพศิรินทราวาส
กรุ งเทพมหานคร
๙. วัดราชาธิวาส
กรุ งเทพมหานคร
๑๐. วัดมกุฏกษัตริ ยาราม
กรุ งเทพมหานคร
๑๑. วัดอรุ ณราชวราราม
กรุ งเทพมหานคร
๑๒. วัดราชโอรสาราม
กรุ งเทพมหานคร
๑๓. วัดพระปฐมเจดีย์
นครปฐม
๑๔. วัดสุวรรณดาราราม
พระนครศรี อยุธยา
๑๕. วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ
พระนครศรี อยุธยา
๑๖. วัดพระศรี รัตนมหาธาตุ
พิษณุโลก
พระอารามหลวงเหล่านี ้ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั จะเสด็จพระราชดาเนินไปถวายผ้ าพระกฐิ นด้ วยพระองค์เอง แต่มิได้ เสด็จไปทัง้ ๑๖ วัด
จะเสด็จพระราชดาเนินเพียงปี ละ ๘ หรื อ ๙ วัด เท่านัน้ นอกนันทรงพระกรุ
้
ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ พระบรมวงศานุวงศ์ หรื อองคมนตรี หรื อผู้ทรงเห็นสมควรเป็ นผู้แทน
พระองค์ไปถวาย
พระกฐิ นที่กาหนดเป็ นพระราชพิธีนี ้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ สานักพระราชวังออกหมายกาหนดการเป็ นประจาปี จึงไม่มีก ารจองล่วงหน้ า
พระกฐินต้ น (พระกฐิ นส่วนพระองค์)
พระกฐิ นดังกล่าวนี ้ พระเจ้ าแผ่นดินเสด็จพระราชดาเนินไปถวาย ณ วัดที่มใิ ช่วดั หลวง
และมิได้ เสด็จไปอย่างเป็ นทางราชการหรื ออย่างเป็ นพระราชพิธี แต่เป็ นการบาเพ็ญพระราชกุศล
ส่วนพระองค์อีกด้ วย พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (ม.ร.ว.เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) ได้ เล่าประวัติ
เรื่ องการเกิดขึ ้นของพระกฐิ นต้ นนี ้ไว้ วา่
“พระกฐิ นส่วนพระองค์นี ้ ในสมัยก่อนรัชกาลที่ ๕ จะเรี ยกว่าอย่างไรนัน้
ยังไม่พบ
หลักฐาน มาเรี ยกกันว่า พระกฐิ นต้ น ในรัชกาลที่ ๕ ภายหลังที่ได้ มีการเสด็จประพาสหัวเมืองต่าง ๆ
เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๗ การเสด็จประพาสครัง้ นัน้ โปรดให้ จดั ให้ งา่ ยกว่าการเสด็จประพาสเพื่อสาราญ
พระราชอิริยาบถอย่างสามัญ คือโปรดไม่ให้ มีท้องตราสัง่ หัวเมืองให้ จดั ทาที่ประทับแรม ณ ที่ใด ๆ
พอพระราชหฤทัยจะประทับที่ไหนก็ประทับที่นนั่ บางคราวก็ทรงเรื อเล็กหรื อเสด็จรถไฟไปโดยมิให้
ใครรู้ การประพาสครัง้ นั ้นเรี ยกกันว่า เสด็จประพาสต้ น เหตุที่เรี ยกว่าประพาสต้ นก็เพราะเมื่อวันที่
๑๘ กรกฎาคม ๒๔๔๗ เสด็จทรงเรื อมาด ๔ แจว ประพาสในแม่น ้าอ้ อม ได้ ทรงกรุณาโปรดเกล้ าฯ
ให้ เรื อมาด ๔ แจว เพิ่มขึ ้นอีกลาหนึง่ สาหรับแจวตามเรื อมาดพระที่นงั่ เวลามีพระราชประสงค์ที่
จะเสด็จพระราชดาเนินโดยมิให้ มีใครรู้จกั พระองค์ เมื่อซือ้ เรื อมาดได้ ดังพระราชประสงค์ แล้ ว
ก็ทรงพระราชทานชื่อเรื อลานัน้ ว่ า เรื อต้ น ในวันนันกว่
้ าจะเสด็จพระราชดาเนินกลับถึงที่
ประทับแรมที่เมืองราชบุรีเกือบ ๓ ทุม่ เพราะน ้าเชี่ยว ผู้คนในขบวนเสด็จเหนื่อยหอบตามกัน และ
ได้ เริ่ มเรี ยกการเสด็จประพาสในวันที่กล่าวนี ้ว่า ประพาสต้ น จึงเป็ นมูลเหตุ ให้ เรี ยกการเสด็จพระ
ราชดาเนินถวายผ้ าพระกฐิ นเป็ นการส่วนพระองค์วา่ พระกฐินต้ น เรี ยกแบบเรื อนไทยที่ทรงสร้ าง
สาหรับประทับอย่างชาวบ้ านว่า เรื อนต้ น กันต่อมา”
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลปั จจุบนั ทรงดาเนินตาม
พระยุคลบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โปรดเสด็จพระราช
ดาเนินไปทรงบาเพ็ญ พระราชกุศลถวายผ้ าพระกฐิ นต้ นเป็ นประจาทุกปี
การจะเสด็จฯ ไปถวายผ้ าพระกฐิ นต้ นที่วดั ใดนันมี
้ หลักเกณฑ์ ดังนี ้
๑. เป็ นวัดที่ยงั ไม่เคยเสด็จพระราชดาเนินถวายผ้ าพระกฐิ นมาก่อน
๒. ประชาชนมีความเลื่อมใสในวัดนันมาก
้
๓. ประชาชนในท้ องถิ่นนันไม่
้ คอ่ ยมีโอกาสได้
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เมื่อเสด็จพระราชดาเนินไป จะได้ มีโอกาสเข้ า
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทอย่างใกล้ ชิดด้ วย
กฐินพระราชทาน
เป็ นกฐิ นที่พระเจ้ าแผ่นดินพระราชทานผ้ าของหลวงแก่ผ้ ทู ี่กราบ
บังคมทูลขอพระราชทานเพื่อไปถวายยังวัดหลวง นอกจากวัดสาคัญที่ทรง
กาหนดไว้ วา่ จะเสด็จพระราชดาเนินด้ วยพระองค์เอง ปั จจุบนั ก็เว้ น ๑๖ วัด
ดังกล่าวแล้ ว เหตุที่เกิดกฐิ นพระราชทานก็เพราะว่าปั จจุบนั วัดหลวงมีเป็ น
จานวนมาก จึงเปิ ดโอกาสให้ กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตลอดจนคณะ
บุคคลหรื อบุคคลที่สมควรรับพระราชทานผ้ ากฐิ นไปถวายได้ และผู้ที่ได้ รับ
พระราชทานจะเพิ่มไทยธรรมเป็ นส่วนตนโดยเสด็จพระราชกุศลด้ วยตาม
กาลังศรัทธาก็ได้
ปั จจุบนั กระทรวง ทบวง กรม คณะบุคคลหรื อบุคคลใดมีความ
ประสงค์จะรับพระราชทานผ้ ากฐิ นไปถวาย ณ วัดหลวงวัดใดก็ติดต่อไปยัง
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ตามระเบียบซึง่ เท่ากับเป็ นการจองกฐิ น
ไว้ ก่อน
กฐินราษฎร์
กฐิ นราษฎร์ เป็ นกฐิ นที่ราษฎร หรื อประชาชน ผู้มีศรัทธานาผ้ ากฐิ น
ของตนไปทอด ณ วัดต่าง ๆ เว้ นไว้ แต่วดั ที่ได้ กล่าวมาแล้ วในเรื่ องกฐิ นหลวง
การทอดกฐิ นของราษฎรตังแต่
้ สมัยกรุงสุโขทัยเป็ นต้ นมาจนกระทัง่ ปั จจุบนั มี
ชื่อเรี ยกแตกต่างกันตามที่มาของผ้ าองค์กฐิ นและตามลักษณะของเจ้ าภาพที่
นากฐิ นไปทอด คือ
๑. กฐิ น หรื อมหากฐิ น
๒. จุลกฐิ น
๓. กฐิ นสามัคคี
๔. กฐิ นตกค้ าง
กฐินหรื อมหากฐิน
เป็ นกฐิ นที่ราษฎรนาไปทอด ณ วัดใดวัดหนึง่ ซึง่ ตนมีศรัทธา กล่าวคือ
ท่านผู้ใดมีศรัทธาจะทอดกฐิ น ณ วัดใด ก็นาผ้ ากฐิ น บางครัง้ เรี ยกว่า ผ้ าที่เป็ นองค์
กฐิ นซึง่ จะเป็ นผ้ าผืนเดียวก็ได้ หลายผืนก็ได้ เป็ นผ้ าขาวซึง่ ยังมิได้ ตดั ก็ได้ ตัด
ออกเป็ นชิ ้น ๆ พอที่จะประกอบเข้ าเป็ นจีวรผืนใดผืนหนึง่ ก็ได้ ทาเสร็ จแล้ วยังมิได้
ย้ อมหรื อย้ อมแล้ วก็ได้ อย่างใดอย่างหนึ่ง จัดเป็ นองค์กฐิ น
ความนิยมที่นากฐิ นไปทอด ณ วัดต่าง ๆ ของราษฎรนันมิ
้ ใช่จะมีแต่องค์
กฐิ นดังกล่าวมาแล้ วเท่านัน้ เจ้ าภาพบางรายอาจมีศรัทธาถวายของอื่น ๆ ไปพร้ อม
กับองค์กฐิ น เรี ยกกันว่า บริ วารกฐิ น ตามที่นิยมกันนันมี
้ ปัจจัย ๔ คือเครื่ องอาศัย
ของพระภิกษุสามเณร มีไตรจีวร บริ ขารอื่น ๆ ที่จาเป็ น หรื อเครื่ องใช้ ประจาที่มีม้ งุ
หมอน ที่นอน เตียงตัง่ โต๊ ะ เก้ าอี ้ โอ่งน ้า กระถาง กระทะ กระโถน เตา ภาชนะ
สาหรับใส่อาหารคาวหวาน เครื่ องซ่อมเสนาสนะมีมีด ขวาน กบ สิ่ว เลื่อย ไม้ กวาด
จอบ เสียม เครื่ องคิลานเภสัช มียารักษาโรค ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ตลอดจน
เครื่ องครัวมีข้าวสาร ผลไม้ เป็ นต้ น หรื อจะมีอย่างอื่นนอกจากกล่าวถึงนี ้ก็ได้ ขอให้
เป็ นของที่สมควรแก่พระภิกษุสามเณรจะบริ โภคเท่านัน้ หากจะมีของสาหรับ
แจกจ่ายแก่คนที่อยูใ่ นวัดหรื อคนที่มาร่วมงานกฐิ นด้ วยก็ได้ สุดแต่กาลังศรัทธา
และอัธยาศัยไมตรี
นอกจากที่ได้ กล่าวมานัน้ ยังมีธรรมเนียมที่เจ้ าภาพผู้ทอดกฐิ นจะต้ องมี
ผ้ าห่ มพระประธาน อีกหนึ่งผืน เทียนสาหรับจุดในเวลาที่พระภิกษุสวดพระ
ปาติโมกข์ที่เรี ยกกันสัน้ ๆ ว่า เทียนปาติโมกข์ จานวน ๒๔ เล่ม และมีธงผ้ าขาว
เขียนรูปจระเข้ หรื อสัตว์น ้าอย่างอื่น ๆ เช่น ปลา นางเงือก เป็ นต้ น สาหรับปั กหน้ า
วัดที่อยูต่ ามริ มน ้า เมื่อทอดกฐิ นเสร็ จแล้ ว และมีธงผ้ าขาวเขียนเป็ นรูปตะขาบ ปั ก
ไว้ หน้ าวัดสาหรับวัดที่ตงอยู
ั ้ บ่ นดอยไกลแม่น ้า ที่ใช้ ปักนีเ้ ป็ นเครื่ องแสดงให้ ทราบว่า
วัดนัน้ ๆ ได้ รับกฐิ นแล้ วและอนุโมทนาร่วมกุศลด้ วยได้
อนึง่ ยังมีประเพณีนิยมอีกอย่างหนึง่ เกี่ยวกับเวลาของการทอดกฐิ น ถ้ า
เป็ นเวลาเช้ าจะมีการทาบุญถวายอาหารเพลแก่ภิกษุสามเณรในวัด
กฐิ นที่ราษฎรผู้เป็ นเจ้ าภาพนาองค์กฐิ นและบริ วารกฐิ นไปทอดยังวัดต่างๆ
ดังกล่าวนี ้เรี ยกกันว่า กฐินหรื อมหากฐิน เป็ นลักษณะของกฐิ นที่ราษฎรทอดกัน
เป็ นส่วนใหญ่อยูใ่ นปั จจุบนั แต่เหตุที่เรี ยกว่ามหากฐิ นนัน้ เพราะเป็ นกฐิ นที่มีเวลา
เตรี ยมการนานวัน จะเป็ นกฐิ นหลวง หรื อกฐิ นราษฎร์ ก็ตาม เรี ยกว่า มหากฐิ น แต่
มักเรี ยกสัน้ ๆ ว่า กฐิน
จุลกฐิน
เป็ นกฐิ น ที่ ต้ อ งท าด้ ว ยความเร่ ง รี บ เดิ ม เรี ย กกั น เป็ นแบบไทย ๆ ว่ า
กฐินแล่ น เจ้ าภาพผู้ที่จะทอดกฐิ นเช่นนี ้ได้ ต้องมีพวกมากมีกาลังมากเพราะต้ อง
เริ่ ม ตัง้ แต่การท าผ้ า ที่ นาไปทอดตัง้ แต่ต้น กล่า วคือ เริ่ มตั ง้ แต่นาฝ้ายที่ แ ก่ ใ ช้ ไ ด้
แล้ วแต่ยงั อยู่ในฝั กมีปริ มาณให้ พอแก่การที่จะทาเป็ นผ้ าจีวรผื นใดผืนหนึ่งได้ แล้ ว
ทาพิธีสมมติว่าฝ้ายจานวนนันได้
้ มีการหว่านแตกงอกออกต้ น เติบโต ผลิดอก
ออกฝั ก แก่ สุก แล้ วเก็บมาอิว้ เอาเมล็ดออกดีดเป็ นผง ทาเป็ นเส้ นด้ ายเปี ยออก
เป็ นไจ กรอออกเป็ นเข็ ด แล้ ว ฆ่ า ด้ ว ยน า้ ข้ า ว ตากให้ แ ห้ ง ใส่ก งปั่ น เส้ นหลอด
ฅใส่กระสวยเครื อแล้ วทอเป็ นแผ่นผ้ าตามขนาดที่ต้องการนาไปทอดเป็ นผ้ ากฐิ น
เมื่อพระสงฆ์รับผ้ านันแล้
้ ว มอบแก่พระภิกษุ ผ้ เู ป็ นองค์ครองซึ่งพระองค์
ครองจะจัดการต่อไปตามพระวินยั
หลังจากนัน้ ผู้ทอดต้ องช่วยทาต่อ คือนาผ้ านัน้ มาขยาทุบซักแล้ วเอาไป
ตากแห้ ง แล้ วนามาตัดเป็ นจีวรผืนใดผืนหนึ่ง แล้ วเย็บ ย้ อม ตากแห้ ง พับ ทับรี ด
เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ วนาไปถวายองค์ครองอีกครัง้ หนึง่ เพื่อให้ ทา่ นทาพินทุอธิษฐาน
เสร็ จ การพิ น ทุ อ ธิ ษ ฐานแล้ ว จะมี ก ารประชุ ม สงฆ์ แ จ้ งให้ ทราบ
พระภิกษุสงฆ์ทงหมดจะอนุ
ั้
โมทนา เป็ นเสร็จพิธีจลุ กฐิ น
แต่อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ผ้ ทู อดจุลกฐิ นไม่มีกาลังคนมากพอ จะตัด
พิ ธี ก ารในตอนต้ น ๆ ออกเสี ย ก็ ไ ด้ โดยเริ่ ม ด้ ว ยการเอาผ้ า ขาวผื น ให ญ่
มากะประมาณให้ พอที่ จ ะตั ด เป็ นจี ว รผื น ใดผื น หนึ่ ง แล้ วน าไปทอด
เมื่อพระภิกษุ สงฆ์ ท่านนาไปดาเนินการตามพระวินัยแล้ วก็ ช่ว ยทาต่อจาก
ท่าน คือซัก กะ ตัด เย็บย้ อมให้ เสร็ จ แล้ วนากลับไปถวายองค์ครอง เพื่อพินทุ
อธิษฐานต่อไป เหมือนวิธีทาที่กล่าวมาแล้ วในการทาจุลกฐิ นเต็มตามรูปแบบ
อนึง่ ข้ อที่ควรกาหนดจดจาไว้ ก็คือจุลกฐิ นจะเป็ นวิธีใดวิธีหนึ่งก็ตาม
จะต้ องทาให้ เสร็ จในวันเดียว เริ่ มต้ นตังแต่
้ เวลาเช้ าถึงย่ารุ่ งของวันรุ่ งขึ ้น คือ
ต้ องทาให้ เสร็จก่อนรุ่งอรุณของวันใหม่ ไม่เช่นนันแล้
้ วกฐิ นนันไม่
้ เป็ นกฐิ น
ส่วนบริ วารของจุลกฐิ น ผ้ าห่มประธานและเทียนปาติโมกข์ตลอดจน
ธงจระเข้ ธงตะขาบ ก็คงเป็ นเช่นที่กล่าวมาแล้ วในเรื่ องกฐิ นหรื อมหากฐิ น
กฐินสามัคคี
กฐิ น ที่ มี เ จ้ า ภาพหลายคนหรื อ หลายคณะ แต่ร วมตัว เป็ น
คณะเดีย วกัน ใช้ ผ้ า องค์ กฐิ นชุด เดี ยวกัน น าไปทอดเรี ย กว่ า กฐิ น
สามัคคี ทุก คนเป็ นเจ้ าภาพทัง้ หมด ใครบริ จาคมากน้ อยอย่ า งไร
ไม่ เ ป็ นประมาณ แต่เ พื่ อ ไม่ ใ ห้ ก ารจัด งานกฐิ น ยุ่ง ยากสับ สนมาก
เกิ น ไป ก็ มั ก จะตัง้ คณะกรรมการขึ น้ คณะหนึ่ ง ด าเนิ น การแล้ ว
มีหนังสือบอกบุญไปยังผู้อื่นด้ วย เมื่อได้ ปัจจัยมาเท่าไรก็จัดผ้ าอัน
เป็ นองค์กฐิ น รวมทังบริ
้ วารดังกล่าวแล้ วนัน้ เมื่อมีปัจจัยเหลือก็ถวาย
วัดไว้ เพื่อทางวัดจะนาไปใช้ จ่ายในทางที่ควร เช่น การก่อสร้ างศาสน
สถาน การบูรณปฏิสงั ขรณ์ กุฏิ โบสถ์ เจดีย์ เป็ นต้ น
กฐินตกค้ าง
กฐิ นประเภทนี ้มีชื่อเรี ยกอย่างอื่นอีกว่า กฐิ นตก กฐิ นโจร ศาสตราจารย์
พระยาอนุมานราชธน ได้ กล่าวถึงเหตุผลที่เกิดกฐิ นชนิดนีต้ ลอดจนชื่ อที่เรี ยก
ไปเป็ นต่าง ๆ กันของกฐิ นประเภทนี ้ไว้ ในเรื่ องเทศกาลออกพรรษาว่า
“แต่ที่ทากันเช่นนี ้ ทากันอยู่ในท้ องถิ่นที่มีวดั มาก ซึ่งอาจมีวัดตกค้ าง
ไม่ มี ใ ครทอดก็ ไ ด้ จึ ง มัก มี ผ้ ูศ รั ท ธาไปสื บ เสาะหาวัด อย่ า งนี เ้ พื่ อ ทอดกฐิ น
ตามปกติในวันใกล้ ๆ จะสิ ้นหน้ าทอดกฐิ น หรื อในวันสุดท้ ายคือวัน ก่อนแรม
ค่าหนึ่งของเดือน ๑๒ ทอดกฐิ นอย่างนี ้ เรี ยกกันว่า กฐิ นตกค้ าง หรื อเรี ยกว่า
กฐิ นตก บางถิ่นก็เรี ยกว่า กฐิ นโจร เพราะกิริยาอาการที่ไปทอดอย่างไม่ร้ ู เนื อ้
ไม่ร้ ูตวั จู่ ๆ ก็ไปทอด ไม่บอกกล่าวเล่าสิบล่วงหน้ าไว้ ให้ วดั รู้ เพื่อเตรี ยมตัวกันได้
พร้ อม และเรี ยบร้ อย การทอดกฐิ นตกถือว่าได้ บุญอานิ สงส์แรงกว่าทอดกฐิ น
ตามธรรมดา บางทีเตรี ยมข้ าวของไปทอดกฐิ นหลาย ๆ วัดแต่ได้ วดั ทอดน้ อยวัด
เครื่ องไทยธรรมที่ตระเตรี ยมเอาไปทอด ยังมีเหลืออยู่ หรื อทางวัดทอดไม่ได้ ก็เอา
เครื่ องไทยธรรมเหล่านันจั
้ ดทาเป็ นผ้ าป่ า เรี ยกกันว่า “ผ้ าป่ าแถมกฐิ น”
กฐิ นแม้ จะรี ยกชื่อแตกต่างกันตามที่กล่าวมา แต่เมื่อจะทอดย่อมต้ องใช้
หลักเกณฑ์และวิธีการเดียวกันทังสิ
้ ้น กล่าวคือ
๑.ต้ องทอดภายในระยะเวลาที่กาหนด คือตังแต่
้ วนั ออกพรรษา(แรมค่า ๑
เดือน ๑๑) จนถึงวันลอยกระทง (ขึ ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒) (= เดือนเดียว)
๒.วัดแห่งหนึ่ง ในฤดูกฐิ นปี หนึ่ง ทอดได้ เพียงครัง้ เดียว และพระสงฆ์ก็รับ
ได้ เ พี ย งครั ง้ เดี ย ว ค าว่ า “ครั ง้ ” ในที่ นี ห้ มายถึ ง กิ ริ ย าที่ ป ระเคนผ้ า กฐิ น ให้ แ ก่
พระสงฆ์ และกิ ริยาที่ พระสงฆ์ รับผ้ านัน้ ไว้ แล้ ว การทอดและรั บดังกล่าวนี ย้ ่อม
กระทาได้ เพียงครัง้ เดียวเท่านัน้ ทันทีที่รับผ้ ากฐิ นผืนนันแล้
้ วย่อมหมดสิทธิ์ที่รับผ้ า
กฐิ นผืนอื่นอีก (=ครัง้ เดียว)
๓.ผ้ าที่จะสาเร็ จเป็ นกฐิ นได้ มีเพียงผืนเดียว คือเป็ นจีวร สบงหรื อสังฆาฏิ
ผืนใดผืนหนึ่งเท่านัน้ ผ้ าอื่นที่ถวายในคราวเดียวกันนี ้ไม่ใช่ผ้ากฐิ น (=ผืนเดียว)
๔. พระสงฆ์ที่รับจะรับกฐิ นได้ ต้ องจาพรรษาอยู่ในวัดเดียวกันโดยไม่ขาด
พรรษา มีจานวนอย่างน้ อย ๕ รูป (=๕ รูป)
การจองกฐิน
๑. วัดราษฎร์ บุคคลหรื อคณะบุคคลทัว่ ไป จะไปทอดหรื อ
รวมกันไปทอด โดยการจองล่วงหน้ าไว้ ก่อนตังแต่
้ ในพรรษา วัดใดถ้ า
ไม่มีผ้ จู อง เมื่อใกล้ เทศกาลกฐิ น ประชาชน ทายกทายิกาแห่งวัดนันก็
้
จะรวมกันจัดการทอดกฐิ น ณ วัดนัน้ วิธีการจองนิยมทาเป็ นหนังสือ
จองกฐิ นไปติดประกาศไว้ ณ วัดที่จะทอดถวาย เป็ นการเผดียงสงฆ์
ให้ ทราบ วัน เวลา ที่จะไปทอด หรื อจะไปนมัสการท่านเจ้ าอาวาสให้
ทราบไว้ ก็ได้ ในการนี ข้ อน าก าหนดการพิ ธี ท อดกฐิ น สามั ค คี
กองทัพเรื อ ณ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ปี ๒๕๔๗ มาเป็ นตัวอย่าง
ดังนี ้
กาหนดการงานทอดกฐินสามัคคีกองทัพเรื อ
ณ วัดปากคลองมะขามเฒ่ า อาเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
๒๐ - ๒๑ พ.ย.๔๗
------------------กาหนดการ
วันเสาร์ ที่ ๒๐ พ.ย.๔๗
เวลา ๑๕๐๐
เวลา ๑๙๓๐
วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พ.ย.๔๗
เวลา ๐๖๓๐
เวลา ๐๙๔๕
เวลา ๐๙๕๕
- ตังองค์
้ กฐิ น ณ โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม
- การแสดงของวงดนตรี ดย.ทร. และของทางจังหวัดชัยนาท
- ขบวนรถคณะกรรมการฯ และผู้ร่วมพิธีออกจาก ฐท.กท.
- คณะกรรมการฯ ผู้ร่วมพิธีพร้ อมบริ เวณพิธี
- คณะกรรมการฯ เตรี ยมรอรับ ผบ.ทร. ประธานในพิธี
ณ บริ เวณหน้ าอุโบสถวัดปากคลองมะขามเฒ่า
เวลา ๑๐๐๐ - ผบ.ทร. เดินทางถึงบริ เวณหน้ าอุโบสถวัดปากคลองมะขามเฒ่า
- ประธานกรรมการฯ (จก.ยศ.ทร.) และคณะกรรมการฯ ต้ อนรับและเชิญ ผบ.ทร.เข้ าสูอ่ โุ บสถ
- ผบ.ทร.จุดธูปเทียนบูชาพระประธานแล้ วชมภาพเขียนในอุโบสถ
- ผบ.ทร.ไปถวายเครื่ องสักการะรู ปหล่อหลวงปู่ ศุข และถวายเครื่ องสักการะพระรู ป พล.ร.อ.พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ า
อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ณ ศาลฯ
- ผบ.ทร.พร้ อมคณะ ปล่อยปลาที่ท่าน ้าหน้ าวัด/ปลูกต้ นไม้ ที่ระลึก
เวลา ๑๐๔๐ - ผบ.ทร. เข้ าสูส่ ถานที่ประกอบพิธีถวายผ้ ากฐิ นสามัคคี ทร. (โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม)
- จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย แล้ วนัง่ ณ ที่รับรอง
- พระสงฆ์ทงวั
ั ้ ด เจริ ญพระพุทธมนต์ จบ
เวลา ๑๑๐๐ - ถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุ สามเณรทังวั
้ ด จานวน ๓๓ รู ป
เวลา ๑๑๑๕ - ผู้ร่วมพิธีรับประทานอาหาร
เวลา ๑๒๓๐ - พิธีถวายผ้ ากฐิ น
- ประธานกรรมการฯ กล่าวรายงาน และเรี ยนเชิญ ผบ.ทร. ประกอบพิธีถวายผ้ ากฐิ นสามัคคี ทร.
- ผบ.ทร. รับผ้ ากฐิ นจากเจ้ าหน้ าที่ ยืนประนมมือ หันหน้ าไปทางพระพุทธรู ป (บนโต๊ ะหมู่บชู า) กล่าว นะโม ๓ จบ แล้ ว
หันหน้ ามาทางพระสงฆ์ กล่าวนาถวายผ้ ากฐิ น ว่า “อิมงั ภันเต, สะปะริ วารัง, กะฐิ นะทุสสัง, สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ,
สาธุ โน
ภันเต, สังโฆ, อิมงั สะปะริ วารัง, กะฐิ นะทุสสัง, ปะฏิคคัณหาตุ, ปะฏิคคะเหตวา จะ, อิมินา ทุสเสนะ, กะฐิ นงั อัตถะระตุ, อัมหากัง,
ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.
ข้ าแต่พระสงฆ์ผ้ เู จริญ, ข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้
ขอน้ อมถวาย, ผ้ ากฐิ น, พร้ อมทังของบริ
้
วารนี ้, แด่พระสงฆ์, ขอพระสงฆ์จงรับ,
ผ้ ากฐิ น, พร้ อมทังของบริ
้
วารนี ้, ของข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้
และครัน้ รับแล้ ว, ขอจงกรานกฐิ น, ด้ วยผ้ านี ้, เพื่อประโยชน์, เพื่อความสุข, แก่
ข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้
ตลอดกาลนาน เทอญ.”
- นาผ้ ากฐิ นไปวางบนพานแว่นฟ้า หยิบผ้ าห่มพระประธานส่งให้ เจ้ าหน้ าที่แล้ วยกผ้ ากฐิ นประเคนพระสงฆ์ รูปที่ ๒ พร้ อม
ทังประเคนเที
้
ยนพระปาติโมกข์ เสร็จแล้ วกลับไปนัง่ ณ ที่รับรอง
- พระสงฆ์กระทาพิธีอปโลกนกรรม (ประกาศมอบให้ พระภิกษุ รูปหนึง่ รูปใดครองผ้ ากฐิ น)
- ผบ.ทร. ถวายเครื่ องบริวารกฐิ นแด่พระภิกษุรูปครองผ้ า (ผู้ร่วมพิธีถวายเครื่ องไทยธรรมแด่พระสงฆ์)
- ผบ.ทร. กล่าวคาถวายเงินบารุงวัด แล้ วนาไปถวายพระเถระประธานสงฆ์
- พระสงฆ์อนุโมทนา
- ผบ.ทร. กรวดน ้า
- ผบ.ทร.มอบเงินสนับสนุนการศึกษาแก่โรงเรี ยนอนุบาลวัดสิงห์
- นายกสมาคมภริยา ทร.มอบเงินสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันแก่โรงเรี ยนอนุบาลวัดสิงห์
- ประธานสงฆ์มอบของที่ระลึกแก่ ผบ.ทร.และคณะกฐิ นสามัคคี
- ผวจ.ชัยนาท มอบของที่ระลึกแก่ ผบ.ทร. (ผบ.ทร. มอบของที่ระลึกตอบแก่ ผวจ.ฯ )
- ภริ ยา ผวจ.ชัยนาท มอบของที่ระลึกแก่นายกสมาคมภริ ยา ทร. (นายกสมาคมภริ ยา ทร. มอบของที่ระลึกตอบแก่
ภริยา ผวจ.ฯ)
- สภาวัฒนธรรม อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท มอบของที่ระลึกแก่ ผบ.ทร. และนายกสมาคมภริยา ทร.
- ผบ.ทร. กราบพระรัตนตรัย และประธานสงฆ์
- เสร็จพิธี เดินทางกลับ
* การแต่ งกาย - ข้ าราชการทหาร แต่งเครื่ องแบบหมายเลข ๒
- ผู้ร่วมพิธี ชุดสุภาพ
รายการเครื่ องกฐินราษฎร์
๑. ไตรจีวรพระองค์ครอง
๒. ไตรจีวรพระคู่สวด
๓. บาตรพร้ อมธรรมกรก (เครื่ องกรองน ้า) มีดโกน เข็ม
๔. ตาลปั ตร และย่าม
๕. เสื่อ ที่นอน หมอน ผ้ าห่มนอน มุ้ง
๖. ร่ม
๗. ปิ่ นโตเคลือบ
๘. รองเท้ า
๙. กาต้ มน ้า
๑๐. ถังกานวม, ถ้ วยชา
๑๑. กระโถน
๑๒. ช้ อนส้ อม จานข้ าว
๑๓.ผ้ าขนหนูเช็ดตัว
๑๔. ตะเกียง
๑๕. ไม้ กวาด, สายระเดียง, ธงตะเข้
๑๖. ผ้ าห่มพระประธาน
๑๗. เทียนปาติโมกข์
๑๘. เครื่ องมือช่าง
๑๙. พานแว่นฟ้า, ดอกไม้ คลุมไตร
๒๐. สัปทน
๒๑. เครื่ องไทยธรรม จานวนเท่าพระภิกษุ-สามเณรทังวั
้ ด
(เจ้ าภาพตัดหรื อเติมได้ ตามความเหมาะสม)
๑
๒
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๓
๑
ไตร
ไตร
ชุด
ชุด
ชุด
คัน
เถา
คู่
ใบ
ชุด
ใบ
ชุด
ผืน
ดวง
ชุด
ผืน
ห่อ
ชุด
ชุด
คัน
๒. พระอารามหลวง การขอพระราชทานผ้ ากฐิ นไปทอดให้ แจ้ ง
กรมการศาสนา ซึ่งกรมการศาสนาจะได้ ขึ ้นบัญชีผ้ ขู อพระราชทานไว้ กราบ
บัง คมทูล และแจ้ งให้ ทางวัดทราบ ในทางปฏิบัติ ผู้ขอพระราชทานจะไป
ติ ด ต่อ กับ ทางวัด ในการก าหนดวัน น าผ้ า กฐิ น พระราชทานไปถวาย และ
รายละเอียดต่าง ๆ จนถึงก่อนวันกาหนดวันทอด จึงมารับผ้ ากฐิ นและเครื่ อง
กฐิ นพระราชทานจากกรมการศาสนาหรื อกรมการศาสนาจัดส่งไปให้ สุดแท้
แต่จะตกลงกัน
ข้ อแนะนาแนวปฏิบัติ ในการถวายผ้ ากฐินพระราชทาน
๑. โดยพระราชประเพณี การพระราชทานทรงบาเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้ าพระกฐิ น ณ พระอาราม
หลวง (จานวน ๑๖ อาราม) จะเริ่ มในวันแรม ๖ ค่า เดือน ๑๑ หลังจากออกพรรษาแล้ ว ๖ วัน การถวายผ้ ากฐิ น
พระราชทาน ควรถวายภายหลังจากกฐิ นที่กาหนดเป็ นพระราชพิธีวนั แรกแล้ ว แต่ในกรณีที่มีความจาเป็ นสาคัญ
จะถวายผ้ ากฐิ นพระราชทานตังแต่
้ วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ซึง่ เป็ นวันแรกของกฐิ นกาลก็ได้
๒. ธรรมเนียมของพระอารามหลวงทุกพระอาราม เวลารับผ้ ากฐิ น
จะจัดประกอบพิธี
ในพระอุโบสถและตังอาสน์
้
สงฆ์ทางด้ านขวาพระหัตถ์พระประธานเสมอ
๓. ใช้ เพลงสรรเสริ ญพระบารมีบรรเลงในขณะที่ผ้ ูเป็ นประธานในพิธีรับผ้ ากฐิ นพระราชทาน
ที่หน้ าพระอุโบสถ
๔. การรับผ้ ากฐิ นพระราชทาน ก่อนที่จะเชิญเข้ าไปทาพิธีถวายในพระอุโบสถ มีวิธีป ฏิบตั ิ ๒ วิธี
คือ
๔.๑ จัด เจ้ า หน้ า ที่ ซึ่ง แต่ ง เครื่ อ งแบบปกติ ข าว คอยส่ ง ผ้ า กฐิ น ให้ ป ระธานในพิ ธี ที่ เ ชิ ง บัน ได
พระอุโบสถหรื อหน้ าประตูเข้ าพระอุโบสถ
๔.๒ จัดโต๊ ะหมู่บูชาที่หน้ าพระอุโบสถหรื อเชิ งบันไดพระอุโบสถตามความเหมาะสม โดยตัง้
พระบรมฉายาลักษณ์หรื อพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั มีแจกันดอกไม้ สดหรื อพาน
พุ่มดอกไม้ ๑ คู่ (จัดประดับได้ ตามความเหมาะสมของโต๊ ะหมู่) ตัวกลางที่ ๒ วางพานแว่นฟ้า หรื อตะลุ่มมุก
สาหรับวางผ้ ากฐิ นตัวกลางล่างวางธูปเทียนแพและกรวยดอกไม้ ๑ ชุด เมื่อใกล้ ถึงเวลาตามกาหนดการ ให้ นาผ้ า
กฐิ นไปวางบนพานแว่นฟ้าที่จดั ไว้ นนไม่
ั ้ ต้องใช้ พ่มุ ครอบไตร
๕. การแต่งกาย
๕.๑ ข้ าราชการ - พนักงานรัฐวิสาหกิจ
- ผู้เป็ นประธานในพิธี แต่งเครื่ องแบบปกติ
- ผู้ร่วมพิธี แต่งเครื่ องแบบปกติขาว ชุดเครื่ องแบบปฏิบตั ิงาน ชุดพระราชทาน
ชุดสากลนิยม หรื อชุดสุภาพ
๕.๒ หน่วยงานเอกชน
- ผู้เป็ นประธานในพิธี สุภาพบุรุษ แต่งชุดขาวคอขอเข้ าเฝ้าฯ ชุดพระราชทาน
แขนยาว ชุดสูทแบบฟอร์ มประจาหน่วยงาน/สถานศึกษา ชุดสากลนิยม สุภาพสตรี แต่งชุ ดไทย
แขนยาว - แขนสั ้น ชุดสูท แบบฟอร์ มประจาหน่วยงาน/สถานศึกษา
- ผู้ร่วมพิธี แต่งชุดพระราชทานแขนยาว – แขนสั ้น ชุดสูท แบบฟอร์ มประจา
หน่วยงาน/ สถานศึกษา ชุดสากลนิยม หรื อชุดสุภาพ
๕.๓ พ่อค้ า คหบดี ประชาชนผู้มีเกียรติ
- ผู้เป็ นประธานในพิธี สุภาพบุรุษ แต่งชุดขาวคอขอเข้ าเฝ้าฯ ชุดพระราชทาน
แขนยาว ชุดสากลนิยม สุภาพสตรี แต่งชุดไทยแขนยาว - แขนสั ้น
- ผู้ร่วมพิธี แต่งกายชุดพระราชทานแขนยาว - แขนสัน้ ชุดไทย ชุดสากล
นิยม หรื อชุดสุภาพ
๕.๔ ผู้ร่วมพิธีที่เป็ นข้ าราชการ ให้ แต่งเครื่ องแบบปกติขาวชุดเครื่ อ งแบบปฏิบตั ิงาน
ชุดพระราชทานแขนยาว - แขนสั ้น ชุดสากลนิยมหรื อชุดสุภาพ
๖. พิธีถวายผ้ ากฐิ นพระราชทาน ไม่มีการสมาทานศีล
๗. พระสงฆ์ใช้ พดั ยศทาพิธีกฐิ นกรรมมีอปโลกน์เป็ นต้ น ตลอดทังอนุ
้ โมทนาให้ พร
และถวายอดิเรก (พระราชาคณะประธานสงฆ์กล่าวคาถวายพระพรเป็ นพิเศษเฉพาะแต่
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวเป็ นภาษาบาลี ) ในขณะที่พระสงฆ์ถวายอดิเรก ไม่ ต้อง
ประนมมือ
๘. ในกรณีที่เจ้ าภาพจัดทาตาลปั ตร (พัดรอง) เป็ นการโดยเสด็จพระราชกุศลใน
พิธีถวายผ้ ากฐิ นพระราชทานด้ วย ประธานสงฆ์จะใช้ พดั รองนันตั
้ งอนุ
้ โมทนา ยะถา…สัพพี
ติโย…ก็ ได้ เพื่ อเป็ นการฉลองศรั ทธาให้ ปีติปราโมทย์ ในการบุญกฐิ นทานยิ่ง ขึน้ แต่เมื่อ
จะกล่าวคาถวายอดิเรกจะต้ องใช้ พดั ยศและใช้ ไปจนจบ ภะวะตุ สัพพะมังคะลังฯ
๙. ผู้มีความประสงค์จะรับพระราชทานผ้ ากฐิ น (ขอจองกฐิ น) ติดต่อแจ้ งความ
จานงได้ ที่กรมการศาสนา หรื อเจ้ าอาวาสพระอารามหลวงนันโดยตรงก็
้
ได้
ซึง่ ทางวัด
จะแจ้ งมายังกรมการศาสนาเพื่อทราบและดาเนินการต่อไป การขอรับพระราชทานผ้ ากฐิ น
สามารถแจ้ งความจานงได้ ตลอดทังปี
้
๑๐. เมื่อถวายผ้ ากฐิ นพระราชทานแล้ ว ให้ ส่งแบบฟอร์ มบัญชีรายงานถวาย
พระราชกุศลคืนกรมการศาสนาภายใน ๑๕ วัน เพื่อจะได้ รวบรวมและดาเนินการนาความ
กราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่ าละอองธุลีพระบาท ขอพระราชทานถวายพระราชกุศล
การจัดผ้ าไตรกฐินพระราชทาน
๑. ผ้ าไตรกฐิ น ให้ แกะพลาสติกออกเสียก่อนแล้ วจึงติดแผ่นคาถวายบนผ้ าไตรกฐิ นและวางผ้ าห่มพระประธาน
บนคาถวายนั ้น ควรใช้ เทปใสติดยึดไว้ เพื่อกันไม่ให้ เลื่อนหล่นในขณะหยิบยกให้ ติดแต่พออยู่ เพราะประธานในพิธีจะต้ อง
หยิบผ้ าห่มพระประธานส่งให้ ไวยาวัจกรก่อนที่จะกล่าวคาถวายผ้ ากฐิ น เมื่อจัดเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ววางบนพานแว่นฟ้า ตั ้งไว้
ณ ที่อนั สมควร
๒. วัดที่มีผ้าไตรจีวรและผ้ าขาวด้ วย (ผ้ ากฐิ นทุสสะ - ธรรมยุต ทุกวัดและมหานิกาย ๕ วัด) วิธีจดั เมื่อแกะ
พลาสติกออกแล้ ว ให้ วางผ้ าขาวบนไตรจีวร ควรใช้ ริบบิ ้นสีเหลืองผูกรวมกันไว้ ให้ เรี ยบร้ อย ต่อมาติดแผ่ นคาถวายบนผ้ าขาว
และสุดท้ ายให้ วางผ้ าห่มพระประธานบนคาถวายนั ้น (ควรใช้ เทปใสติดยึดไว้ ) จัดเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ววางบนพานแว่นฟ้า ตั ้ง
ไว้ ณ ที่อนั สมควร
การจัดเครื่ องบริวารกฐินพระราชทาน
๑. ควรแกะออกจากกล่องหรื อเอาพลาสติกออกเสียก่อนแล้ วจัดใส่ตะลุม่ หรื อภาชนะที่เหมาะสม โดยสิง่ ไหนที่
พอจะจัดไว้ ในชุดเดียวกันได้ ก็ควรจัดใส่พานเดียวกัน หรื อจัดไว้ ด้วยกันแล้ วผูกด้ วยริ บบิ ้น ซึ่งจะทาให้ ดูเรี ยบร้ อยสวยงาม
และง่ายต่อการหยิบยกในพิธีถวาย
๒. ในวันถวาย ควรจัดโต๊ ะปูด้วยผ้ าขาว ตั ้งไว้ ทางท้ ายอาสน์สงฆ์ สาหรับวางเครื่ องบริวารกฐิ นและไทยธรรมที่
จัดมาเพื่อถวายพระภิกษุ สามเณร
๓. การวางตะลุ่มหรื อพานเครื่ องบริ วารกฐิ น ควรจัดเรี ยงตามลาดับสิ่งของใช้ สอย คือเริ่ มจากบาตร หมอน
หนุน ผ้ าห่ม พรมภาชนะใส่อาหารคาวหวาน กระติกนั ้นและสุดท้ ายเป็ นเครื่ องมือโยธา หากสถานที่จากัดจะตั ้งเรี ยงเป็ น ๒
แถว ก็ได้ เมื่อยกส่งให้ ประธานในพิธีประเคนพระเถระองค์ครอง ก็ให้ ยกบาตรไปก่อน แล้ วจึงยกสิ่งอื่นไปตามลาดับที่จดั ไว้
(ยกทั ้งตะลุม่ หรื อพาน)
เครื่ องไทยธรรม
เครื่ องไทยธรรม ที่ทางผู้ขอรั บพระราชทานผ้ ากฐิ นจัดมาเพื่อถวายพระภิกษุ สามเณร ซึ่งเป็ นก ารบริ จาค
เพิ่มเติมโดยเสด็จพระราชกุศล ให้ วางต่อจากเครื่ องบริวารกฐิ นพระราชทาน แต่ให้ จดั เป็ นสัดส่วน ไม่ให้ ปะปนรวมกัน
(ตัวอย่าง)
พิธีถวายผ้ ากฐินพระราชทาน
เวลา น. - ข้ าราชการ สาธุชนผู้มีเกียรติ อุบาสก อุบาสิกา พร้ อมกัน ณ พระอุโบสถ
- ประธานในพิธีเดินทางมาถึงหน้ าพระอุโบสถ ไปที่ตงโต๊
ั ้ ะหมู่ซงึ่ ตังผ้
้ ากฐิ นไว้
(ผู้ร่วมพิธีลกุ ขึ ้นยืน)
- ยืนถวายความเคารพพระบรมฉายาลักษณ์
- เปิ ดกรวยดอกไม้ ถวายความเคารพพระบรมฉายาลักษณ์ หรื อพระบรม
สาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั (โดยวิธีคานับ ถอนสายบัวหรื อประนมมือไหว้ )
อีกครัง้ หนึง่
- ยกผ้ ากฐิ นขึ ้นอุ้มประคองไว้ ตรงอกยืนตรงแสดงความเคารพพระบาทสมเด็ จ
พระเจ้ าอยู่หัว (ขณะที่ประธานยกผ้ ากฐิ นอุ้มประคอง ดนตรี บรรเลงเพลงสรรเสริ ญ
พระบารมี ถ้ าไม่มีให้ ใช้ เทปแทน) จบแล้ ว
- อุ้มประคองผ้ ากฐิ นเดินเข้ าสู่พระอุโบสถ ตรงไปวางผ้ ากฐิ นที่พานแว่ นฟ้า
ซึง่ ตังอยู
้ ช่ ิดอาสน์สงฆ์ตรงหน้ าพระสงฆ์รูปที่ ๒
- ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยกราบแล้ วไปที่พานแว่นฟ้าหยิบ ผ้ าห่ม
พระประธานที่วางอยูบ่ นผ้ าไตรกฐิ นส่งให้ เจ้ าหน้ าที่หรื อไวยาวัจกร
- ยกผ้ ากฐิ นขึ ้นประคอง หันหน้ าทางพระประธานประนมมือ ว่า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัม
พุทธัสสะ (๓ จบ) แล้ วหันหน้ ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคาถวายผ้ ากฐิ น “ผ้ ากฐิ นทานกับทังผ้
้ าอานิสงส์บริ วาร
ทัง้ ปวงนี ้ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิ เบศร รามาธิ บดี จัก รี นฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ผู้ทรงพระคุณอันประเสริ ฐ กอปรด้ วยพระราชศรัทธา โปรดเกล้ าฯ ให้ (ระบุนาม
บุคคลหรื อหน่วยงานที่ได้ รับพระราชทาน) น้ อมนามาถวายแด่พระสงฆ์ซงึ่ จาพรรษากาลถ้ วนไตรมาส ในอาวาส
วิหารนี ้ ขอพระสงฆ์จงรับผ้ ากฐิ นทานนี ้ กระทากฐิ นตั ถารกิจ ตามพระบรมพุทธานุญาตนัน้ เทอญ” (พระสงฆ์
รับสาธุพร้ อมกัน)
- วางผ้ ากฐิ นบนพานแว่นฟ้า ยกประเคนพระภิกษุรูปที่ ๒ ซึ่งนัง่ อยู่ตรงพานแว่นฟ้ า (ยกทังพาน)
้
แล้ วประเคนเทียนพระปาติโมกข์ (ยกทังพาน)
้
- ประธานนัง่ ณ ที่จดั ไว้
- พระสงฆ์ทาพิธีกฐิ นกรรม
- พระเถระองค์ครองลุกออกไปครองผ้ ากฐิ น เสร็ จแล้ วกลับเข้ ามานัง่ ที่เดิม (ในช่องที่ออกไป
ครองผ้ าถ้ ามีดนตรี ให้ บรรเลงเพลงสาธุการ เมื่อครองผ้ าเสร็ จกลับเข้ ามานั่งที่อาสน์ สงฆ์ ให้ ห ยุดบรรเลงทันที
แม้ จะยังไม่จบเพลง)
- ประธานประเคนเครื่ องบริ วารกฐิ นทังหมดแด่
้
พระเถระองค์ครองแล้ วไปนัง่ ณ ที่จดั ไว้ ต่อจากนัน้
ข้ าราชการชันผู
้ ้ ใหญ่ ท่านผู้มีเกียรติร่วมประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์
- ประกาศยอดจานวนเงินที่บริ จาคร่ วมโดยเสด็จพระราชกุศล เพื่อถวายพระภิกษุ สามเณร และ
ถวายบารุงพระอารม
- พระสงฆ์อนุโมทนา ประธานสงฆ์ถวายอดิเรก
- ประธานกรวดน ้า รับพร กราบพระรัตนตรัย กราบลาพระสงฆ์ เป็ นเสร็จพิธี
หมายเหตุ - หากรับผ้ ากฐิ นแบบวิธีแรก (๔.๑) คือจัดเจ้ าหน้ าที่ซึ่งแต่ง
เครื่ องแบบปกติขาวคอยส่งผ้ ากฐิ นให้ ผ้ ูเป็ นประธานในพิธีที่เชิงบั นไดหรื อหน้ า
ประตูเข้ าพระอุโบสถเมื่อประธานรับผ้ ากฐิ น อุ้มประคอง
ยืนตรงแสดงความ
เคารพพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั (ดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริ ญพระบารมี
จบ) อุ้มประคองผ้ ากฐิ น เดินเข้ าสูพ่ ระอุโบสถ
- ในระหว่างที่ประธานในพิธีรับผ้ ากฐิ นที่หน้ าพระอุโบสถให้ ทกุ ท่านยืน
ขึ ้น เมื่อประธานกล่าวคาถวายผ้ ากฐิ นจบและไปนั่ง ณ ที่จัดไว้ ทุก ท่านจึงนั่งลง
พร้ อมกัน
- พิธีถวายผ้ ากฐิ นพระราชทาน ไม่นิยมนัง่ ราบ แต่จะตังเก้
้ า อี ้ในพระ
อุโบสถสาหรั บ ประธานและผู้ร่ว มพิธี คือตัง้ เก้ าอี ผ้ ้ ูเป็ นประธานหันหน้ า เข้ าหา
พระสงฆ์และตังเก้
้ าอี ้ไว้ หลังประธานอีก ๓-๕ ที่ ตามความเหมาะสม หรื อตามที่
เห็นสมควร สาหรับข้ าราชการชันผู
้ ้ ใหญ่ หรื อท่านผู้มีเกียรติ นอกนันตั
้ งหั
้ นหน้ าไป
ทางประธาน ซึง่ เป็ นลักษณะการจัดแบบธรรมเนียมพิธีหลวง
- สาหรับการกาหนดวัด เวลา ที่จะถวายผ้ ากฐิ นพระราชทาน โปรด
ติดต่อประสานงานกับทางวัดโดยตรง
พระ
เจ้ าอาวาส(องค์ครอง)
แทน
่
กราบ
พระ
รัตนต
รัย
๑
๒
โต๊ ะวางพานแว่นฟ้า
เทียนปาติโมกข์
พระสงฆ์ ๒ รูป
อาสน์สงฆ์
เครื่
อง
กฐิ
น
ปร
ะธ
าน
แขก
ผูให
้
ญ่
แขกผู้มีเกียรติ
โต๊
ะ
วา
ง
ตัวอย่ างแผนผังการตัง้ โต๊ ะเก้ าอี ้
รายการเครื่ องกฐินพระราชทาน
๑. ผ้ าห่มพระประธาน
๑
ผืน
๒. เทียนพระปาติโมกข์
๑
ห่อ
๓. ไตรจีวร
๑
ไตร
๔. บาตรอย่างดีพร้ อมถุงบาตร
๑
ชุด
๕. โคมไฟตังโต๊
้ ะ
๑
ชุด
๖. ช้ อนส้ อมคาว-หวาน พร้ อมซองบรรจุ
๑
ชุด
๗. ปิ่ นโตสแตนเลส
๑
เถา
๘. กระติกน ้าไฟฟ้า ขนาดบรรจุ ๒.๕ ลิตร
๑
ใบ
๙. พรมปูนอน
๑
ผืน
๑๐. หมอนหนุนสีเหลืองพร้ อมปลอกหมอน
๑
ใบ
๑๑. ผ้ าห่มนอนขนหนูสีเหลือง
๑
ผืน
๑๒. ผ้ าเช็ดตัวขนหนูสีเหลือง
๑
ผืน
๑๓. ชุดกล่องอุปกรณ์เครื่ องมืองานช่างทัว่ ไป
(ประกอบด้ วยไขควง ค้ อน คีม)
๑
ชุด
(กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม จัดมอบให้ ผ้ ขู อรับพระราชทาน)
อานิสงส์ การถวายผ้ ากฐิน
๑. เป็ นการสงเคราะห์พระภิกษุที่จาพรรษาครบไตรมาสให้ ได้ รับการยกเว้ นไม่ต้องปฏิ บตั ิตาม
พระวินยั บางข้ อ
๒. เป็ นการเทิดทูนซึง่ พระพุทธบัญญัติเรื่ องกฐิ นให้ คงอยู่สืบไปนับได้ ว่าบูชาพระพุทธศาสนา
ด้ วยการปฏิบตั ิบชู าส่วนหนึง่
๓.
สื บต่อ ประเพณี ก ฐิ น ทานมิ ใ ห้ เสื่ อ มสลายไปจากวัฒนธรรมประเพณี ข อง คนไทย
ซึง่ บรรพบุรุษนาสืบต่อกันมามิขาดสาย
๔. ลักษณะการทอดกฐิ น เป็ นการบริ จาคโดยมิเจาะจงบุคคลใดโดยเฉพาะ แต่เจาะจงหมู่สงฆ์
เป็ นส่วนรวม จึงเข้ าลักษณะเป็ น “สังฆทาน” ที่พระพุทธองค์สรรเสริญว่ามีผลานิสงส์มาก
๕. การร่ วมบาเพ็ญกุศลกฐิ นทาน เป็ น “กาลทาน” ให้ ในคราวที่ผ้ รู ับต้ องการ ภายในเวลาที่มี
พระพุทธานุญาตกาหนด จึงมีอานิสงส์เป็ นพิเศษ
๖. ในการทอดกฐิ น ส่วนใหญ่เป็ นการร่ วมมือร่ วมใจกันระหว่างคนจานวนมากเพื่อสร้ างความ
ดีงาม จึงเป็ นการเสริ มสร้ างพลังสามัคคีขึน้ ในสังคม ซึ่งเป็ นผลให้ เกิดความเจริ ญก้ าวหน้ าได้
ทางหนึง่
๗. เงินทุกบาททุกสตางค์ที่บริ จาคจะแปรสภาพเป็ นโบสถ์วิหาร ศาลาการเปรี ยญ ตลอดจน
สถานศึกษา ฯลฯ ของอนุชนสืบไป
• (ตัวอย่าง)
• คากล่ าวถวายปั จจัยบารุ งพระอาราม
นมัสการ ท่านเจ้ าอาวาส วัด...........
ในการถวายผ้ ากฐิ นพระราชทานครัง้ นี ้ มีข้าราชการ ลูกจ้ างและคนงาน
พร้ อมครอบครัวในกองทัพเรื อ รวมทังบรรดาสาธุ
้
ชนผู้มีจิตศรัทธานอกกองทัพเรื อ
ได้ ร่วมกันบริจาคจตุปัจจัยโดยเสด็จพระราชกุศล เป็ นมูลค่า......................
บาท ............................สตางค์ เพื่อบูรณะบารุงพระอารามนี ้ กระผมใน
นามของผู้บริจาค ขอถวายจตุปัจจัยจานวนนี ้แด่พระคุณท่าน เพื่อพิจารณา
ดาเนินการบูรณะพระอาราม ตามที่เห็นสมควรต่อไป และได้ มอบไว้ แก่
ไวยาวัจกรแล้ ว
พลเรื อเอก..............………………………..
ผู้บญ
ั ชาการทหารเรื อ