ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม : จากสงครามเย็นสู่ปัจจุบันและอนาคต

Download Report

Transcript ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม : จากสงครามเย็นสู่ปัจจุบันและอนาคต

ความสั มพันธ์ ไทย-เวียดนาม
จากสงครามเย็นสู่ ปัจจุบันและอนาคต
ธัญญาทิพย์ ศรีพนา
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
21 กันยายน 2010
• ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนามในปัจจุบนั เป็ นความสัมพันธ์ที่ดียงิ่
และอาจกล่าวได้วา่ เป็ นตัวอย่างของความสาเร็ จในการปรับและ
พัฒนาความสัมพันธ์ของไทยกับประเทศที่เคยมีความขัดแย้งกัน
อย่างที่สุดไปสู่ความเข้าใจอันดี ความร่ วมมือ และโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ จากความหวาดระแวงไปสู่ ความไว้วางใจต่อกัน
ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม มีท้ งั ในกรอบพหุภาคีและทวิภาคี
• จะขอเน้นความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีเท่านั้น : ระดับรัฐ และ
ภาคประชาชน
I. ความขัดแย้ ง ความหวาดระแวงในอดีต สื บเนื่องจาก
• ความขัดแย้งระหว่างไทย-เวียดนามด้านอุดมการณ์ ค่ายเสรี นิยมสังคมนิยม
• การสนับสนุนของไทยต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯว่าด้วยการ
ต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ และการสนับสนุนสหรัฐฯในสงคราม
เวียดนาม หรื อ ที่เวียดนามเรี ยกว่า สงครามต่อต้านสหรัฐฯ
• ปั ญหากัมพูชา
II. จากความขัดแย้งสู่ความสัมพันธ์ ความ
ร่วมมือ ความเข้าใจอันดี
• ความพยายามในปรับความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ าย
• สิ่ งที่แสดงให้เห็นถึงความสาเร็ จในการพัฒนาสัมพันธ์อนั ดีและ
ความไว้วางใจต่อกัน
– การแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง
– ความสาเร็ จในการแก้ปัญหาที่คงั่ ค้างมานาน
– ความสาเร็ จในการลงนามความตกลงสาคัญหลายฉบับ
• กลไกกากับความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม
III. ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ระหว่าง
ประชาชน
•
•
•
•
•
การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม
การสอนภาษาเวียดนามในไทย
การสอนภาษาไทยในเวียดนาม
เวียดนามให้ทุนสร้างโรงเรี ยน
บ้านโฮจิมินห์ หมู่บา้ นมิตรภาพ
•
•
•
•
•
การทอดกฐินในเวียดนาม :
การท่องเที่ยว การไปมาหาสู่ :
สมาคมมิตรภาพไทย-เวียดนาม
ชมรมวัฒนธรรมไทย-เวียดนาม (VK)
บทบาท VK ในไทย : สะพานเชื่อมสัมพันธ์และสะพาน
วัฒนธรรม
IV. ความสั มพันธ์ ระดับท้ องถิ่นของไทยและเวียดนาม
: ปัจจัยส่ งเสริ มความสัมพันธ์
– การเชื่อมต่อในอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง
V. ประเด็นทางการเมืองทีอ่ าจมีความอ่ อนไหวต่ อ
ความสั มพันธ์ ท้งั สองฝ่ าย