สงครามเย็น และ สงครามตัวแทน สงครามเย็นหมายถึง เป็นสงครามที่

Download Report

Transcript สงครามเย็น และ สงครามตัวแทน สงครามเย็นหมายถึง เป็นสงครามที่

สงครามเย็น และ สงครามตัวแทน
สงครามเย็นหมายถึง
• เป็ นสงครามที่มหาอานาจทังสองท
้
าการต่อสู้กนั โดยใช้ เครื่ องหมายทุก
อย่าง ยกเว้ นอาวุธปรมาณู
• หมายถึงความขัดแย้ งระหว่างสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย โดยไม่ใช้ อาวุธ
ต่อสู้กนั โดยตรง แต่ใช้ วิธีการโฆษณาชวนเชื่อการแทรกซึมบ่อนทาลาย
การประนาม การแข่งขันกันสร้ างกาลังอาวุธ และแสวงหาอิทธิพลใน
ประเทศเล็ก
สาเหตุการเกิดของสงครามเย็น
• สงครามเย็นมีสาเหตุมาจากความขัดแย้ งทางด้ านอุดมการณ์ทาง
การเมืองของประเทศมหาอานาจทังสอง
้ ที่ยดึ ถือเป็ นแนวทางในการ
ดาเนินนโยบายต่างประเทศ และความขัดแย้ งทางด้ านผลประโยชน์และ
เขตอิทธิพล เพื่อครองความเป็ นผู้นาของโลก โดยพยายามแสวงหา
ผลประโยชน์และเขตอิทธิพลในประเทศต่าง ๆ ทังนี
้ ้เป็ นผลมาจากการที่
ผู้ยิ่งใหญ่
• ผู้นาทางการเมืองของโลกในสมัยก่อน คือ อังกฤษ เยอรมัน ได้ หมด
อานาจในภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2
ความเป็ นมาของสงครามเย็น
• เริ่มต้ นตังแต่
้ ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1989
ค.ศ. 1945
• เมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิ ้นสุดลง โดยเยอรมันเป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้ ตอ่ ฝ่ าย
สหประชาชาติทาให้ สหรัฐอเมริกาและรัสเซียขาดจุดมุง่ หมายที่จะ
ดาเนินการร่วมกันอีกต่อไป ความขัดแย้ งจึงเริ่มต้ นขึ ้นในปั ญหาที่เกิดขึ ้น
ภายหลังสงครามที่เกี่ยวกับอนาคตของประเทศในยุโรปตะวันออกและ
ประเทศเยอรมัน
• ประเทศทังสองได้
้
เคยตกลงกันไว้ ที่เมืองยัลต้ า (Yalta) เมื่อเดือน
กุมภาพันธ์ ค.ศ.1945 ว่า “……เมื่อสิ ้นสงครามแล้ ว จะมีการสถาปนา
การปกครองระบบประชาธิปไตยในประเทศเหล่านัน”
้
ค.ศ. 1945
• แต่พอสิ ้นสงคราม รัสเซียได้ ใช้ ความได้ เปรี ยบของตนในฐานะที่มีกาลัง
กองทัพอยูใ่ นประเทศเหล่านัน้ สถาปนาประชาธิปไตยตามแบบของตนขึ ้นที่
เรี ยกว่า “ประชาธิปไตยของประชาชน”
• ฝ่ ายสหรัฐอเมริ กาจึงทาการคัดค้ าน เพราะประชาธิปไตยตามความหมาย
ของสหรัฐอเมริ กา หมายถึง “เสรี ประชาธิปไตยที่จะเปลี่ยนรัฐบาลได้ โดย
วิธีการเลือกตังที
้ ่เสรี ”
• ส่วนรัสเซียก็ยืนกรานไม่ยอมให้ มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
• ส่วนที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมันก็เช่นกันเพราะรัสเซียไม่ยอมปฏิบตั ิการตาม
การเรี ยกร้ องของสหรัฐอเมริ กาที่ให้ มีการรวมเยอรมัน และสถาปนาระบอบ
เสรี ประชาธิปไตยในประเทศนี ้ตามที่ได้ เคยตกลงกันไว้
ค.ศ. 1946
• ความไม่พอใจระหว่างประเทศทังสองเพิ
้
่มมากขึ ้น เมื่อประธานาธิบดีทรู
แมน (Harry S. Truman) ของสหรัฐอเมริกา ได้ สนับสนุนสุนทรพจน์
ของอดีตนายกรัฐมนตรี เชอร์ ชิล (Sir. Winston Churchill) ซึง่ ได้
กล่าวในรัฐมิสซูรี เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.1946 ว่า “ม่านเหล็กได้ ปิด
กันและแบ่
้
งทวีปยุโรปแล้ ว ขอให้ ประเทศพี่น้องที่พดู ภาษาอังกฤษ
ด้ วยกัน ร่วมมือกันทาลายม่านเหล็ก (Iron Curtain).”
• ส่วนปั ญหาที่แสดงให้ เห็นถึงการแข่งขันในการเป็ นผู้นาของโลกแทน
มหาอานาจยุโรปก็คือ การที่สหรัฐอเมริกาสามารถบังคับให้ รัสเซียถอน
ทหารออกจากอิหร่านได้ สาเร็จในปี ค.ศ.1946
ค.ศ. 1947
• อังกฤษได้ ประกาศสละความรับผิดชอบในการช่วยเหลือกรี ซ และตุรกี
ให้ พ้นจากการคุมคามของคอมมิวนิสต์ เพราะไม่มีกาลังพอที่จะ
ปฏิบตั ิการได้ และร้ องขอให้ สหรัฐอเมริกาเข้ าทาหน้ าที่นี ้แทน
ประธานาธิบดีทรูแมนจึงตกลงเข้ าช่วยเหลือและประกาศหลักการในการ
ดาเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาให้ โลกภายนอกทราบว่า
“……จากนี ้ไปสหรัฐอเมริกาจะเข้ าช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศที่รัก
เสรี ทงหลายในโลกนี
ั้
้ให้ พ้นจากการคุกคามโดยชนกลุม่ น้ อยในประเทศที่
ได้ รับการช่วยเหลือจากต่างประเทศ….” หลักการนี ้เรี ยกกันว่า
“หลักการทรูแมน” (Truman Doctrine)
ค.ศ. 1947
• การประกาศแผนมาร์ แชล (Marshall Plan) ชักชวนให้ สหภาพโซ
เวียตและยุโรปตะวันออก เข้ าร่วมได้ หากต้ องการ แต่สตาลินได้ ใส่แรง
กดดันอย่างรุนแรงต่อชาวยุโรปตะวันออกไม่ให้ เข้ าร่วม สตาลินมองว่า
แผนมาร์ แชลไม่เป็ นความใจกว้ างของชาวอเมริกนั
ค.ศ. 1947
• ต่อมาในเดือนกันยายน ค.ศ. 1947 ผู้แทนของรัสเซียได้ ประกาศต่อที่
ประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ทวั่ โลกที่นครเบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวียว่า
“…..โลกได้ แบ่งออกเป็ นสองค่ายแล้ วคือ ค่ายจักรวรรดินิยมอเมริกนั ผู้
รุกราน กับค่ายโซเวียตผู้รักสันติ…และเรี ยกร้ องให้ คอมมิวนิสต์ทวั่ โลก
ช่วยสกัดกันและท
้
าลายสหรัฐอมริกา….” ฉะนัน้ จึงกล่าวได้ วา่ ถ้ อย
แถลงของผู้แทนรัสเซียนี ้เป็ นการประกาศ “สงคราม” กับสหรัฐอเมริกา
อย่างเป็ นทางการ
ค.ศ. 1949
• ได้ ร่วมก่อตังองค์
้ การสนธิสญ
ั ญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) และ
รัสเซียก็ได้ ก่อตังองค์
้ การสนธิสญ
ั ญาวอร์ ซอ (Warsaw Treaty
Organization) องค์การโคมีคอน (Council for Matual
Asistance and Bomen)
ค.ศ. 1960
• สงครามเย็นที่มีลกั ษณะเป็ นทังการขั
้
ดแย้ งทางอุดมการณ์และการ
แข่งขันเพื่อกาลังอานาจของประเทศมหาอานาจทังสอง
้ ซึง่ ต้ องการที่จะ
เป็ นผู้นาโลก ได้ เริ่มเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่ลดความรุนแรง ตังแต่
้ ปี
ค.ศ. 1960 เป็ นต้ นมา ทังนี
้ ้เนื่องจากได้ มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ระหว่างประเทศสาคัญ 2 ประการคือ
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองระหว่างประเทศสาคัญ
• 1. การนานโยบาย “การอยูร่ ่วมกันอย่างสันติ” (Peaceful Coexistence) ของประธานาธิบดี นิกิตา ครุสชอฟ (Nikita
Khrushchev) ของรัสเซียมาใช้ เนื่องจากเกรงว่าอานาจนิวเคลียร์ ที่
รัสเซียและสหรัฐอเมริกามีเท่าเทียมกัน
• 2. ความแตกแยกในค่ายคอมมิวนิสต์ระหว่างรัสเซียกับสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ซึง่ เริ่มปรากฏตังแต่
้ ปี ค.ศ. 1960 เป็ นต้ นมา
ค.ศ. 1963
• ตังแต่
้ ปี ค.ศ. 1963 เป็ นต้ นมา สหรัฐอเมริกาและรัสเซียต่างใช้ วิธีการ
ทุกอย่างทังด้
้ านการทหาร การเมือง และเศรษฐกิจ ในการแข่งขันกัน
สร้ างความนิยม ความสนับสนุนและอิทธิพลในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
โดยหลีกเลี่ยงการใช้ อาวุธและการประจันหน้ ากันโดยตรง
ค.ศ. 1964
• จีนสามารถทดลองระเบิดปรมาณูสาเร็จและกลายเป็ นประเทศ
มหาอานาจนิวเคลียร์ ในปี ค.ศ. 1964
• ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจีนกับประเทศรัสเซียได้ เสื่อมถอยลง
เนื่องจากความขัดแย้ งทางด้ านอุดมการณ์และการแข่งขันกันเป็ นผู้นาใน
โลกคอมมิวนิสต์ ระหว่างจีนกับรัสเซีย
ค.ศ. 1969
• เกิดการปะทะหน้ ากันโดยตรงระหว่าง จีน กับ รัสเซีย มีผลทาให้ ความ
เข้ มแข็งของโลกคอมมิวนิสต์ลดน้ อยลง และมีสว่ นผลักดันให้ จีน
เปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศ ไปสูก่ ารปรับความสัมพันธ์กบั
สหรัฐอเมริกาในที่สดุ
ค.ศ. 1970
• ตังแต่
้ ปี ค.ศ. 1970 เป็ นต้ นมา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมหาอา
จานเริ่มคืนสูส่ ภาวะปกติ โดยใช้ วิธีการหันมาเจรจาปรับความเข้ าใจกัน
ดาเนินนโยบายเกี่ยวกับที่เอื ้อต่อผลประโยชน์ และความมัน่ คงปลอดภัย
ของประเทศตน ระยะนี ้จึงเรี ยกว่า “ระยะแห่งการเจรจา” (Era of Negotiation)
หรื อระยะ “การผ่อนคลายความตึงเครียด” (Détente)
• โดยเริ่มจากสหรัฐอเมริกาภายใต้ การนาของประธานาธิบดีริชาร์ ด นิกสัน
(Richard Nixon) ซึง่ เป็ นผู้ปรับนโยบายจากการเผชิญหน้ ากับรัสเซีย มาเป็ น
การลดความตึงเครี ยดในความสัมพันธ์ตอ่ กัน นอกจากนี ้ยังได้ เปิ ดการเจรจา
โดยตรงกับสาธารณรัฐประชาชนจีนด้ วย
ค.ศ. 1970
• ตังแต่
้ ปี ค.ศ. 1970 เป็ นต้ นมา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมหาอาจาน
เริ่ มคืนสูส่ ภาวะปกติ โดยใช้ วิธีการหันมาเจรจาปรับความเข้ าใจกัน ดาเนิน
นโยบายเกี่ยวกับที่เอื ้อต่อผลประโยชน์ และความมัน่ คงปลอดภัยของ
ประเทศตน ระยะนี ้จึงเรี ยกว่า “ระยะแห่งการเจรจา” (Era of Negotiation) หรื อระยะ
“การผ่อนคลายความตึงเครี ยด” (Détente)
• โดยเริ่ มจากสหรัฐอเมริ กาภายใต้ การนาของประธานาธิบดีริชาร์ ด นิกสัน (Richard
Nixon) ซึง่ เป็ นผู้ปรับนโยบายจากการเผชิญหน้ ากับรัสเซีย มาเป็ นการลดความตึง
เครี ยดในความสัมพันธ์ต่อกัน นอกจากนี ้ยังได้ เปิ ดการเจรจาโดยตรงกับสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนด้ วยทังนี
้ ้เพราะตระหนักว่าจีนได้ กลายเป็ นมหาอานาจคิวเคลียร์ อีกชาติหนึง่
และกาลังจะมีบทบาทมากขึ ้นในประเทศด้ อยพัฒนา และประเทศที่เพิ่งเกิดใหม่ทงใน
ั้
ทวีปเอเชีย อัฟริ กา ลาตินอเมริ กา และยุโรป ดังนัน้ ในเดือนกรกฎาคม
ค.ศ. 1971
• ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกาได้ สง่ นายเฮนรี่ คิสชิน
เจอร์ (Henry Kissenger) ที่ปรึกษาด้ านความมัน่ คงแห่ชาติ
เดินทางไปปั กกิ่งอย่างลับ ๆ เพื่อหาลูท่ างในการเจรจาปรับ
ความสัมพันธ์กบั จีน
ค.ศ. 1972
• ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1972 ประธานาธิบดีนิกสันเยือนปั กกิ่ง และได้
ร่วมลงนามใน “แถลงการณ์เซี่ยงไฮ้ ” (Shanghai Joint
Communiqué) กับอดีตนายกรัฐมนตรี โจว เอินไหล (Ahou
Enlai) ซึง่ มีสาระที่สาคัญคือ สหรัอเมริ กายอมรับว่า รัฐบาลสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน เป็ นรัฐบาลอันชอบธรรมเพียงรัฐบาลเดียวและไต้ หวันเป็ นส่วน
หนึ่งของประเทศจีน
• สหรัฐอเมริ กาและรัฐเซีย ได้ พยายามที่จะปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ในลักษณะที่เป็ นการผ่อนคลายความตึงเครี ยดระหว่างประเทศทังสอง
้ ซึง่ จะ
เห็นได้ จากการเปิ ดการเจรจาจากัดอาวุธยุทธศาสตร์ ครัง้ แรกที่กรุ งเฮลซิงกิ ที่
เรี ยกว่า SALT-1 (Strategic Arms Limitation Talks)
ค.ศ. 1972
• ในปี เดียวกันนี ้ประธานาธิบดีนิกสันก็ได้ ไปเยือนรัสเซีย ส่วนเบรสเนฟ
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย
ค.ศ. 1973
• เบรสเนฟเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย ได้ ไปเยือน
สหรัฐอเมริกา
ค.ศ. 1979
• ประเทศทังสองได้
้
เจรจาร่วมลงนามในสนธิสญ
ั ญาจากัดอาวุธ
ยุทธศาสตร์ ฉบับที่ 2 (SALT-2) ที่เวียนนา ในวันที่ 18 มิถนุ ายน
ค.ศ. 1979 ซึง่ มีผลทาให้ รัสเซียมีความเท่าเทียมกับสหรัฐอเมริกา ทัง้
ทางการเมืองและทางแสนยานุภาพ และทางการค้ าด้ วย