สันติวิธีกับการแก้ปัญหา ความขัดแย้งใน มินดาเนา
Download
Report
Transcript สันติวิธีกับการแก้ปัญหา ความขัดแย้งใน มินดาเนา
สันติวิธีกับการแก้ ปัญหา
ความขัดแย้ งใน
มินดาเนา
มินดาเนา
มินดาเนา Mindanao เป็ นเกาะที่ใหญ่ที่สดุ อันดับ 2 และ
ตังอยู
้ ่ทางตะวันออกสุดของประเทศฟิ ลิปปิ นส์มี ลกั ษณะ
ภูมิประเทศที่มีรูปร่ างคล้ ายสามเหลี่ยม ชายฝั่ งเว้ าแหว่ง
มีอ่าวขนาดใหญ่และเล็กจานวนมาก มีเทือกเขาซึ่ งมียอด
เขาหลายแห่ ง ที่ มี ค วามสูง มากกว่า 1,500 เมตร ยอด
สูง สุด ชื่ อ อาโป สูง 2,954 เมตร มี ร ะบบแม่ น า้ หลั ก 2
ระบบ คือ ระบบแม่นา้ อากูซนั ทางตะวันออก และระบบ
แม่นา้ มินดาเนาทางใต้ และกลาง ผลิตผลสาคัญ ได้ แก่
ข้ าวโพด ข้ าวเจ้ า มะพร้ าวไม้ กาแฟ ป่ านอะบากา
ปั ญหาความขัดแย้ งในมินดาเนา
ฟิ ลิปปิ นส์มีปัญหาการแบ่งแยกดินแดงภาคใต้ มานานกว่า 3
ทศวรรษ รากเหง้ าของปั ญหาจริ งๆนัน้ มีนักมานุษยวิทยาทาง
ชาติพนั ธุ์วิทยาและภาษาชาวฟิ ลิปปิ นส์ กล่าวว่า ในเกาะมินดา
เนาเองมีประชากรที่ไม่ใช่มุสลิมและไม่ใช่คริ สเตียน แต่เป็ นชน
กลุ่มน้ อยที่พดู ภาษาต่างๆกัน เรี ยกชนกลุ่มน้ อยนี ว้ ่า Lumad
สาหรับมุสลิมเองแล้ วเป็ นชาติพนั ธุ์ตา่ งหากที่เรี ยกว่า โมโร (โมโร)
ซึง่ มาจากคาว่า Moors ที่สเปนเรี ยกมุสลิมที่ต่อต้ านสเปน
ในขณะที่เข้ าโจมตีทางใต้ ของฟิ ลิปปิ นส์
-ต่อชาวโมโรมีความเชื่อว่า มินดาเนาทัง้ หมดตังแต่
้ มิ นดาเนา
ตะวัน ตก ตอนเหนื อ ตอนกลาง และตอนใต้ เป็ นดิน แดนของ
บรรพบุรุษมุสลิมทังหมด
้
ดินแดนเหล่านี ้เป็ นดินแดนที่ชาวอาหรับ
ได้ เดินทางมาค้ าขายและเผยแพร่ ศาสนา รวมทังพยายามท
้
าให้
มินดาเนาเป็ นอิสลาม (Islamization) ในต้ นศตวรรษที่
14 ชาวพืน้ เมืองบางส่วนจึงเป็ นมุสลิมตังแต่
้ นัน้ มา หลังจากที่
สเปนเข้ า ครอบครอง การกล่อ มเกลาของวัฒ นธรรมสเปนได้
กระจายไปทั่วมินดาเนาและในมนิลา และถูกต่อต้ านจากชาว
พื ้นเมืองเหล่านี ้ เมื่อถูกครอบครองการแสดงความเป็ นชาตินิยม
ของตนเองก็เกิดขึ ้น
-ต่อจึ ง เกิ ด การอ้ า งสิ ท ธิ เ หนื อ ดิ น แดนในมิ น ดาเนาของกลุ่ ม
มุสลิมหัวรุนแรงที่ว่าดินแดนในมินดาเนาทังหมดเป็
้
นดินแดนของ
บรรพบุรุษที่ตนเองจะต้ องช่วงชิงมาจากสเปน
แต่อย่างไรก็ตามมุสลิมหัวรุนแรงอีกกลุม่ หนึ่งก็พยายามรวม
ตั ว เ อ ง แ ล ะ เ รี ย ก ตั ว เ อ ง ว่ า ก ลุ่ ม โ ม โ ร ห รื อ ช า ติ โ ม โ ร
(Bangsamoro) คาว่า โมโร มาจากคาว่า Moors ที่
สเปนใช้ เรี ยกมุสลิมที่ต่อต้ านสเปน กลุ่มนี ้เป็ นผู้ ก่อความรุ นแรง
ในภาคใต้ ในเวลาต่อมา
กลุ่มแบ่ งแยกดินแดน
กลุ่ ม แบ่ ง แยกดิ น แดนเริ่ ม เกิ ด ขึ น้ ในทศวรรษที่ 1960
จุดประสงค์เริ่ มแรกของพวกเขาก็เพื่อต้ องการรวมมุสลิม ให้ เข้ า
กับรัฐบาล พวกเขาได้ เผยแพร่ อดุ มการณ์ นี ้แก่มสุ ลิมท้ องถิ่น ทา
ให้ ได้ รั บ ความเชื่ อ ถื อ มากโดยเฉพาะ นู ร์ มิ ซู อ าริ (Nur
Misuari) ซึง่ จบการศึกษาจาก U.P. และไปศึกษาต่อที่
ลิเบีย นูร์ มิซูอาริ มีนโยบายที่ จะกลมกลืนมุสลิมให้ เข้ ากับคริ ส
เตียนส่วนใหญ่ของประเทศเพื่อมิให้ มีความแตกต่างระหว่ างชน
กลุ่มน้ อยกับกลุ่มใหญ่ซึ่งเป็ นคาทอลิก ความนิยมผู้ นาแบ่งแยก
ดินแดนเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ เพราะพวกเขามีอดุ มการณ์ที่ จะพัฒนาให้
เจริญ
-ต่อปั จจัยที่มีผลต่อการก่อให้ เกิดขบวนการดังกล่าวอาจมาจาก
ปั จจัยภายในก็คือ ผู้นาชันสู
้ งมุสลิมรุ่นเก่าบางกลุม่ ต้ องการรักษา
อ านาจของตัว เองในการควบคุม ทรั พ ยากรต่ า งๆในท้ อ งถิ่ น
ประโยชน์ จากรั ฐบาล และปั จจัยด้ านอุดมการณ์ มาร์ กซิส ของ
กลุม่ หัวรุนแรงรุ่นใหม่ซงึ่ ขัดแย้ งกับคนรุ่นเก่า ส่วนปั จจัยภายนอก
คือ การใช้ กาลังของกองกาลังทหารของรัฐบาลเข้ าปราบปราม
ทาให้ เกิ ดความตึงเครี ยดระหว่างผู้ควบคุมทรั พยากร ผู้ ยึดถื อ
อุดมการณ์ เครื อญาติบริ วารและชนชันต่
้ างๆในสังคมของโคตา
บาโต ซึง่ เป็ นจังหวัดที่มีมสุ ลิมมากเป็ นอันดับหนึ่งในมินดาเนา
-ต่อในปี ค.ศ.1976 นักศึกษามุสลิมที่ได้ รับทุนรัฐบาลนันก็
้ ได้ เข้ า
ร่ วมขบวนการแบ่งแยกดินแดน หนึ่งในจานวนนันคื
้ อ นู ร์ มิซูอาริ
เขามีฐานะทางบ้ านยากจน แต่เป็ นนักศึกษาที่เรี ยนดีและต่อมา
เป็ นอาจารย์สอนวิชารัฐศาสตร์ ที่ U.P. ได้ ก่อตังกลุ
้ ่มมุสลิมขึ ้น
ใน U.P อีกทังเผยแพร่
้
ความคิดในวารสาร Philippine
Muslim News เหตุการณ์ได้ ตงึ เครี ยดมากขึ ้น เมื่ อมีการ
ฆ่ามุสลิมจานวนมากในโครงการ Jabidah Project ซึง่
เป็ นโครงการของรัฐบาลมาร์ กอสที่ฝึกคนรุ่นหนุม่ มุสลิม เพื่อให้ ไป
รุ กรานในเกาะซาบาห์ของมาเลเซีย แต่ในที่สดุ คนรุ่ นหนุ่ มมุสลิม
เหล่านี ้ถูกฆ่าหมูโ่ ดยไม่ทราบสาเหตุจนกระทัง่ บัดนี ้
-ต่อด้ วยสาเหตุนี ้เอง มิซอู าริ จึงได้ ก่อตัง้ ขบวนการ MNLF
(Moro National Liberation Front) เพื่อ
ต้ องการปกครองตัวเองของมุสลิมขึ ้น ในปี ค.ศ.1969 ในโคตาบา
โต ผู้นาคือ Datu Udtug Matalam ซึง่ มีจดุ ประสงค์
ต้ องการแยกมินดาเนาเป็ นรัฐมุสลิม
ต่อมา MIM ลดบทบาทลงเป็ นเหตุให้ มิซอู าริ ได้ ประชุม
กลุม่ มุสลิมในกลางปี ค.ศ.1971 และก่อตังขบวนการ
้
MNLF
ขึ ้นโดยดาเนินการอยูใ่ ต้ ดิน
-ต่อภายใต้ รั ฐ บาลมาร์ ก อสได้ ป ราบปรามกลุ่ม องค์ ก รใต้ ดิ น
ต่างๆซึง่ รวมทังกลุ
้ ม่ MNLF ด้ วย จากพฤติกรรมของมาร์ กอส
ดั ง ก ล่ า ว ท า ใ ห้ มิ ซู อ า ริ ไ ด้ พั ฒ น า แ น ว คิ ด
Bangsamoro (Moro Nation) ขึ ้นมา คาว่า
Bangsa นัน้ อาจหมายถึง ผู้สืบสายโลหิตเดียวกัน เผ่ า
เดียวกัน เชื ้อชาติเดียวกันหรื อชาติเดียวกัน และให้ ความหมายว่า
โมโร มิใช่ชาวฟิ ลิปปิ นส์ แต่ต้องการแยกออกเป็ นชาติของตัวเอง
ต่างหาก ชาติเดียวกันหรื อชาติเดียวกัน
-ต่อการจุดประเด็นดังกล่าว ทาให้ กลุ่มมุสลิมหัวรุ น แรงได้ เข้ า
ร่วมขบวนการดังกล่าวเป็ นจานวนมาก
ในเวลาต่ อ มา มี ค วามแตกแยกทางความคิ ด เกิ ด ขึ น้ ใน
ระหว่างกลุ่มมุสลิมด้ วยกัน ซาลามัต ฮาซิม (Salamat
Hashim) ซึง่ เป็ นมุสลิมหัวเก่ามีความคิดไม่เห็นด้ วยกับมิซู
อาริ ซงึ่ เป็ นผู้นากลุ่ม MNLF ที่จะให้ ภาคใต้ เป็ นเขตปกครอง
ตนเอง (Autonomous) เขาต้ องการให้ ภาคใต้ ทงหมด
ั้
เป็ น “รั ฐ อิ ส ลาม” จึ ง ได้ แ ยกตัว ออกมาตัง้ ขบวนการ MILF
(Moro Islamic Liberation Front) ในปี
ค.ศ.1984 และได้ ตงฐานของตั
ั้
วเองที่เมืองลาฮอร์ ปากีสถาน
นโยบายของรั ฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ ตัง้ แต่ อดีตจนถึง
ปั จจุบันต่ อการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งในมินดาเนา
เนื่ อ งจากบัง ซาโมโรได้ ต่อ ต้ า นผู้ค รอบครองและรั ฐ บาล
ฟิ ลิปปิ นส์มานาน แต่ยงั ไม่มีการก่อตัวเป็ นแนวร่วมอย่างชัดเจน
บังซาโมโรได้ รวมตัวกันเป็ นรูปเป็ นร่างหลังจากที่ฟิ ลิปปิ นส์ได้ รับ
เอกราชในปี 1946 แล้ ว เนื่องจากรัฐบาลต้ องการรวมพวกบังซา
โมโรให้ เ ป็ นส่ว นหนึ่ ง ของฟิ ลิ ป ปิ นส์ นโยบายในขณะนั น้ มี 2
ประการ คือ
-ต่อ ประการแรก รวมบังซาโมโร เข้ าเป็ นส่วนหนึง่ ของฟิ ลิปปิ นส์
ให้ บั ง ซาโมโรเป็ นเขตปกครองตนเอง
(Autonomy) จากปี 1946 – 1976 รัฐบาลมีนโยบายให้ บงั ซา
โมโรรวมตัวกับฟิ ลิปปิ นส์ จากปี 1976 เป็ นต้ นมาจนถึง 1996
รัฐบาลมีนโยบายที่จะให้ บงั ซาโมโรเป็ นเขตปกครองตนเอง
ในช่ ว งแรกนโยบายการรวมชาติ ข องฟิ ลิ ป ปิ นส์ มี 2
แนวทาง คือ
ประการที่ สอง
-ต่อ-
การรวมการบริ หารและโครงสร้ างของบัง
ซาโมโรเข้ ากับระบบการปกครองของรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์
แนวทางที่สอง การกล่อมเกลาทางวัฒนธรรมหรื อการ
รวมตัวทางวัฒนธรรมของบังซาโมโรให้ เข้ ากับสังคมส่ วน
ใหญ่ ของฟิ ลิปปิ นส์ โดยให้ พวกเขายอมรั บและให้ ความ
ร่ วมมือ เพื่อให้ นโยบายในแนวทางแรกประสบผลสาเร็ จ
รั ฐ บาลได้ ว างแผนปฏิ บัติ ก ารโดยตัง้ หน่ ว ยงานหลาย
หน่วยงานดาเนินการ คือ
แนวทางแรก
-ต่อ-
คณะกรรมาธิการการรวมชาติ (Commission on National
Integration – CNI) มหาวิทยาลัยมินดาเนา (Mindanao State
University – MSU) และหน่วยงานพัฒนามินดาเนา
(Mindanao Development Authority – MDA)
คณะกรรมาธิการการรวมชาติ (CNI)
ในปี 1955 มี ร่ างกฎหมาย 2 ฉบั บ ถู ก น าเข้ าสภา
ผู้แทนราษฎร เพื่อจัดตังCNI
้
ร่างกฎหมายฉบับแรกเสนอโดย
สมาชิกสภาผู้แทน หลุย ฮอรา (Luis Hora) และอีกฉบับ
หนึ่งเสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนอาลอนโต (Alonto) อามิล
บังซา (Amilbangsa) และ มังเอเลน (Mangelen)
กฎหมายนี ม้ ี จุด ประสงค์ เ พื่ อ ด าเนิ น การเกี่ ย วกับ การพัฒ นา
เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ งและกล่ อ มเกลาทางจิ ต ใจชาว
ฟิ ลิปปิ นส์ที่มิใช่คริ สเตียนให้ เสร็ จสิ ้นโดยเร็ วรวมทัง้ จัดการรวม
ตัวอย่างถาวรของวัฒนธรรมชนกลุ่มน้ อยเหล่านี ้เข้ าไปเป็ นส่วน
หนึง่ ของรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์
-ต่อ-
คณะกรรมาธิ การชุดนีม้ ีจุดประสงค์ เพื่อดูแลความก้ าวหน้ าและ
การรวมตัว เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว คณะกรรมาธิการจึงได้ ทา
โครงการหลายโครงการด้ วยกัน คือ
1. โครงการทุนการศึกษา โดยให้ ทุนการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมของ
ชนกลุ่มน้ อย เพื่อเป็ นแนวทางในการเร่ งกระบวนการรวมตัว ซึ่ง มีตงแต่
ั้
ระดับ มัธ ยมศึก ษา ระดับ ปริ ญ ญาตรี แ ละการศึก ษาผู้ใ หญ่ ทุน ที่ ใ ห้
ประกอบด้ วย ค่าลงทะเบียน ค่าหนังสือค่าเดินทาง และค่ากินอยู่
-ต่อ2. โครงการที่อยูอ่ าศัย จุดประสงค์เบื ้องต้ นของโครงการนี ้เพื่อฟื น้ ฟูที่อยู่
อาศัยของชุมชนมุสลิมและชนกลุม่ น้ อยให้ มีสภาพความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้น
3. โครงการช่วยเหลือทางสังคม โครงการนี ้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั ิ
ต่าง ๆ เช่น ไฟไหม้ ไต้ ฝนุ่ น ้าท่วม และภัยพิบตั ติ า่ ง ๆ ที่คาดการณ์ไม่ได้
4. โครงการช่วยเหลือเรื่ องการบริหารงานเป็ นโครงการที่ช่วยเหลือด้ าน
การเงินแก่จงั หวัดและเทศบาลที่ชมุ ชนมุสลิมและชนกลุม่ น้ อยต่าง ๆ
อาศัยอยูท่ งนี
ั ้ ้เพื่อประโยชน์ของผู้ที่อยูอ่ าศัยเหล่านัน้
-ต่อ5. โครงการช่วยเหลือทางกฎหมาย โครงการนี ้เป็ นการขยายด้ านบริ ก าร
ทางกฎหมายไปสู่จงั หวัดและเทศบาลที่มีชมุ ชนมุสลิมและชนกลุ่มน้ อย
อาศัยอยู่ เช่น เพิ่ มศาลเคลื่อนที่ และ นัก กฎหมายเพื่ออานวยความ
สะดวกแก่การตัดสินคดีและกรณีพิพาทเกี่ยวกับที่ดนิ
6. โครงการวิจยั เป็ นโครงการที่เกี่ยวกับการวิจยั ทางวิชาการที่ เกี่ยวกับ
ชนเผ่าพื ้นเมืองต่างๆ และพวกโมโรในมินดาเนา ศูนย์วิจยั ชนกลุ่มน้ อย
ได้ ถกู จัดตังขึ
้ ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการนี ้
ความสาเร็จและความล้ มเหลวของ
คณะกรรมาธิการการรวมชาติ (CNI)
ความสาเร็ จของ CNI มีเพียงการช่วยเหลือทางการศึกษาแก่
บังซาโมโร 3,000 คนเท่านัน้ ส่วนกรณีของการจัดหาที่ดินทากินยังไม่
ประสบความส าเร็ จ เท่ า ที่ ค วร เนื่ อ งจากขาดงบประมาณในการ
ด า เ นิ น ก า ร ท า ใ ห้ ก า ร พิ จ า ร ณ า โ ค ร ง ก า ร ต่ า ง ๆ ล่ า ช้ า ไ ป
คณะกรรมาธิ การควรจะได้ รับงบประมาณ 5 ล้ านเปโซต่อปี ในการ
ดาเนิ นการของโครงการ แต่ปรากฏว่าได้ รับงบประมาณเพี ยงครึ่ ง
เดียว
นอกจากนัน้ CNI
ได้ ตงโครงการช่
ั้
วยเหลือชนกลุ่มน้ อ ย
แห่งชาติ ของประธานาธิบดี (Presidental Assistance
on National Minorities PANAMIN) ตามคาสัง่
ของประธานาธิบดีมาร์ กอส
-ต่อในปี 1967 เพื่อให้ คาแนะนาแก่ประธานาธิบดีเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง
ๆ ที่เกี่ยวกับชนกลุม่ น้ อยทังหมดในฟิ
้
ลิปปิ นส์ ด้ วยเหตุนี ้เองงบประมาณ
ส่วนหนึ่งของ CNI ถูกแบ่งมายังโครงการนี ้ Majul (มาฮูล)
ผู้เชี่ยวชาญมุสลิมและผู้ประเมินความสาเร็จของ CNI กล่าวไว้ วา่
“นอกเหนือจากความสาเร็ จบางส่วนที่ประเมินได้ แล้ ว ความจริ ง
ของขบวนการแบ่งแยกดินแดนระหว่างกลุ่มมุสลิมหลาย ๆ กลุ่มซึ่งได้
เริ่ มเพาะตัวขึ ้นในทศวรรษที่ 60 นัน้ เป็ นผลมาจากภาครัฐล้ มเหลวที่จะ
รวมกลุม่ มุสลิมเข้ ามาเป็ นส่วนหนึง่ ของรัฐ”
มหาวิทยาลัยมินดาเนา (Mindanao State
University)
ประธานาธิ บดี รามอน แมกไซไซ ได้ ลงนามกฎหมายรั ฐ
เลขที่ 1387 (Republic Act No. 1387) เมื่อวันที่ 19
สิงหาคม ค.ศ. 1955 จัดตังมหาวิ
้
ทยาลัยมินดาเนาในเมืองมาราวี
(Marawi) ซึง่ เป็ นเมืองที่อยู่ใจกลางของมุสลิม มินดาเนา แต่
อย่างไรก็ตามกว่าที่มหาวิทยาลัยนี ้จะดาเนินการได้ ก็ต้องใช้ เวลา
6 ปี เนื่องจากเกิดปั ญหาความรุนแรงในเมืองบ่อยครัง้ อี กทังต้
้ อง
ใช้ เวลาในการแต่ ง ตั ง้ บุ ค คลที่ เ หมาะสมไปด ารงต าแหน่ ง
อธิการบดี (President) ของมหาวิทยาลัยนี ้ด้ วย ในที่ สดุ ใน
วันที่ 1 กันยายน 1961 ช่วงรัฐบาลประธานาธิ บดี คาร์ ลอส พี.
การ์ เซีย รัฐบาลก็ได้ แต่งตัง้ Dr.Antonio Isidro เป็ น
อธิการบดี
-ต่อบทกล่าวเบื ้องต้ นของกฎหมายมหาวิทยาลัยแสดงถึงแนวคิดไว้ ดงั นี ้
1. มหาวิทยาลัยเป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการพัฒนาความเจริ ญ ทาง
ภาคใต้ ของฟิ ลิปปิ นส์
2. มหาวิทยาลัยต้ องช่วยในการพัฒนาโครงการการศึกษาเพื่อที่ จะเร่ ง
ให้ มีการรวมกลุ่มชนกลุ่มน้ อยเข้ ากับรัฐโดยเฉพาะชนกลุ่มน้ อยที่เป็ น
มุสลิม
3. มหาวิ ท ยาลัย ต้ อ งจัด หาบุค ลากรที่ เ ป็ นอาจารย์ ที่ เ ชี่ ย วชาญทาง
วิชาการและการวิจยั เกี่ยวกับวัฒนธรรมดังเดิ
้ ม
ปั ญหาก็คือ มีการก่อกวนทางภาคใต้ บอ่ ยครัง้ ทาให้ การดาเนินงานของ
มหาวิทยาลัยไม่ราบรื่ นเท่าที่ควร
หน่ วยงานพัฒนามินดาเนา (Mindanao
Development Authority)
ในปี 1961 ประธานาธิบดี คาร์ ลอส พี. การ์ เซีย ได้ จดั ตัง้
หน่วยงานของรัฐเพื่อพัฒนามินดาเนาขึ ้น โดยมีหลักการดังต่อไปนี ้
1. ร่างแผนงานทังระยะสั
้
นและระยะยาวเพื
้
่อพัฒนาภูมิภาคภาคใต้
2. ประสานงานและร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อทากิจกรรม
ในการสร้ างสันติสขุ ในภาคใต้
3. อานวยความสะดวกในเรื่ องการบริ หารงานการเงิน การช่วยเหลือ
ทางวิชาการเพื่อสร้ างงานในภูมิภาค
4. ร่วมมือกับภาครัฐในการลงทุนด้ านอุตสาหกรรมการเกษตรและ
การค้ า
ความล้ มเหลวของการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งใน
มินดาเนาของรั ฐบาลฟิ ลิปปิ นส์
ประการแรก มีการเปลี่ยนผู้นา ในหน่วยงานบ่อยมาก ในระยะ
10 ปี ระหว่างปี 1963 – 1973 มีการเปลี่ยนแปลงประธานอย่าง
น้ อย 5 คน ซึง่ เป็ นผู้จดั การโครงการและพนักงาน 3 คน
ประการที่ สอง งบประมาณในการพั ฒ นาไม่ เ พี ย งพอ
งบประมาณที่ ควรให้ คือ 132 ล้ านเปโซ แต่ตามความเป็ นจริ ง
แล้ วได้ รับเงินเพียง 24 ล้ านเปโซเท่านัน้
ประการที่สาม หน่วยงานพัฒนามินดาเนา มิใช่เป็ นหน่วยงานที่
ถาวร เพราะฉะนั น้ การท างานจึ ง ไม่ ต่ อ เนื่ อ งและขาดการ
ประสานงานกัน
นโยบายของรั ฐบาลมาร์ กอสต่ อการแก้ ปัญหามิน
ดาเนา
มาในสมัย มาร์ ก อส มาร์ ก อสได้ เจรจากับกลุ่ม MNLF
โดยได้ ไปเจรจาประนี ป ระนอมกั น ที่ เ มื อ งตริ โ ปลี และได้ มี
ข้ อตกลงตริ โปลี เ พื่ อ ให้ 13 จั ง หวั ด ภาคใต้ และ 9 เมื อ ง
(Cities)
เป็ นการปกครองตนเอง นอกจากนีย้ ังได้ ตงั ้
คณะกรรมาธิ ก าร Southern
Philippine
Development Authority (SPDA) เพื่อดูแล
การปกครองตนเอง โดยเฉพาะอี ก ทั ง้ ได้ ตัง้ ธนาคารมุ ส ลิ ม
(Amanah Bank)
-ต่อ-
ในปี ค.ศ. 1973 มีการสร้ างศูนย์มสุ ลิมศึกษาขึ ้นที่ U.P. และศาล
มุสลิม Shariah Court ขึ ้น แต่ปัญหาอยู่ที่มาร์ กอสมิได้ หยัง่
เสียงประชาชนทัง้ 13 จังหวัดภาคใต้ แต่เลือกหยัง่ เสียงเฉพาะจังหวัดที่
มี ค ริ ส เตี ย นมาก ซึ่ง สร้ างความไม่พ อใจให้ กับ กลุ่ม แบ่ง แยกดิ น แดน
MNLF เป็ นอย่างยิ่ง การเจรจาช่วงนี ้จึงไม่ประสบความสาเร็ จ
เท่าที่ควรถึงแม้ ได้ พฒ
ั นาภาคใต้ ดงั กล่าวแล้ ว ต่อมาในสมัยอากีโนได้ มี
การเจรจากับกลุม่ MNLF อีกครัง้
นโยบายของรั ฐบาลอากีโนต่ อการแก้ ปัญหามินดา
เนา
การเจรจาในสมั ย อากี โ นนั น้ หลั ง จากทั ง้ ฝ่ ายรั ฐ บาลและ
MNLF
ได้ ประชุมกันที่เจ็ดดา และมีข้อตกลง Jeddah
accord ในวันที่ 3 มกราคม 1987 แล้ ว กลุม่ MNLF ได้ เสนอ
ข้ อเรี ยกร้ องรัฐบาลดังนี ้
1. ให้ รั ฐบาลยอมให้ มี การปกครองตนเอง (Autonomous)
ในมินดาเนาทังหมด
้
, บาซิลนั , ตาวี-ตาวี , และปาลาวัน
2 . เ ข ต แ ด น ดั ง ก ล่ า ว ค ว ร เ รี ย ก ว่ า Bangsamoro
Autonomous Region ซึง่ รวมเขตแดนมินดาเนา บาซิลนั
ตาวี-ตาวี และปาลาวัน
3. กองกาลังควรเป็ นของ MNLF ร้ อยละ 85 เพื่อความมัน่ คง
ปลอดภัยของสมาชิกในกลุม่
-ต่อ4. เขตดังกล่าวควรมีอานาจในการเก็ บภาษี และมีตารวจของ
ตัวเอง
5. ทันทีที่เซ็นข้ อตกลงแล้ ว MNLF จะจัดการปกครองภายใน
จังหวัดเอง รวมทังมี
้ อานาจในการปกครองจังหวัด
6. รัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ต้องประกาศให้ มินดาเนา , ซูลู , ตาวี-ตาวี ,
บาซิลนั และปาลาวัน เป็ นเขตปกครองตนเอง ก่อนการประชุม
สภาสมัยแรกในเดือนกรกฎาคม 1987
7. ข้ อตกลงจะต้ องเซ็นกันในเจ็ดดา ซาอุดิอารเบีย เป็ น 3 ชุด ซึง่
เป็ นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และภาษาอาหรับ
-ต่อหลังจากรัฐบาลอากี โนประชุมกันแล้ วก็ได้ ปฏิเสธข้ อเรี ยกร้ อ งดังกล่าว
และมีข้อเสนอต่อ MNLF ดังนี ้
1. เกี่ยวกับเขตปกครองตนเอง ควรจะมีการหยัง่ เสียงประชามติประชาชนว่า
ต้ องการเป็ นเขตปกครองตนเองภายใต้ MNLF หรื อไม่ เพราะในมินดา
เนาและจังหวัดดังกล่าวข้ างต้ น มี คริ สเตียนและชนเผ่าพื น้ เมื องอื่ นซึ่งมิใช่
มุสลิมรวมอยูด่ ้ วย ซึง่ ข้ อนี ้ระบุไว้ ในรัฐธรรมนูญมาตรา 1987 มาตราที่ 10 ว่า
ให้ มีการหยัง่ เสียงประชามติ
2 . เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ตั ้ง ก า ร ป ก ค ร อ ง จั ง ห วั ด ( Provincial
Government) นัน้ ประธานาธิบดีในฐานะฝ่ ายบริ หารไม่สามารถใช้
อานาจนิตบิ ญ
ั ญัติในการจัดตังและเปลี
้
่ยนแปลงการปกครองจังหวัดได้
-ต่อ3. เกี่ ย วกั บ การโอนอ านาจ ข้ อเสนอของ MNLF
เกี่ยวกับการโอนอานาจนัน้ เสมือนหนึ่งเป็ นการแบ่งแยกดินแดน
ซึง่ ขัดต่ออานาจอธิปไตยของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
4. เกี่ยวกับกระบวนการประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญปี 1987
มาตราที่ 10 ได้ ร ะบุ ก ารตัง้ เขตปกครองตนเองตามวิ ถี ท าง
ประชาธิปไตยแล้ ว คือ ให้ ประชาชนตัดสินใจอย่างเป็ นอิส ระจาก
การหยัง่ เสียงประชามติวา่ จะยอมรับการแบ่งแยกตนเองหรื อไม่
-ต่อ5. เกี่ยวกับการเป็ นตัวกลางในการเจรจาของ OIC(
องค์การการประชุมอิสลาม) แม้ จะมีตวั กลาง คือ OIC แล้ วก็
ตาม แต่การเจรจาสันติภาพกับ MNLF เป็ นเรื่ องการเมือง
ภายในและรัฐบาลจะยึดหลักรัฐธรรมนูญและอธิปไตยของ
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์เป็ นหลัก
MNLF ตกลงกับข้ อเสนอของรัฐบาลดังกล่าวจนกระทัง่
ถึงรัฐบาล ฟิ เดล รามอส (1992 – 1998)
นโยบายของรั ฐบาลรามอสต่ อการแก้ ปัญหามินดา
เนา
การเจรจาสันติภาพระหว่างรัฐบาลกับ MNLF มีขึ ้น
อย่างแท้ จริ ง ในสมัย ประธานาธิ บดี ฟิ เดล รามอส หลังจากได้
เจรจากันเป็ นเวลา 4 ปี ทัง้ 2 ฝ่ ายได้ เซ็นข้ อตกลงสันติ ภาพใน
วัน ที่ 2 กัน ยายน 199639 ตามข้ อตกลงตริ โ ปลี (Tripoli
Agreement) ในครัง้ นี ้รัฐมนตรี ต่างประเทศอินโดนี เซีย
อาลี อาลาตัส (Ali Alatas) เป็ นพยาน พร้ อมด้ วยผู้นากลุม่
คือ มิซูอาริ อาลี อาลาตัส กล่าวว่า การลงนามในข้ อตกลงครัง้ นี ้
เป็ นเพียงการเริ่ มต้ นเท่านัน้ สิ่งที่สาคัญคือการนาแผนไปใช้ ให้
เกิดผลและการประเมินความสาเร็จของข้ อตกลงดังกล่าว
-ต่อจากข้ อตกลงดังกล่าวได้ มีการจัดตังเขตพิ
้
เศษ คือ เขตพิเศษ
เพื่อสันติภาพและการพัฒนา (Special Zone of
Peace and Development SZOPAD) ,
สภาที่ปรึกษา (Consultative Assembly CA)
แ ล ะ ส ภ า ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ภ า ค ใ ต้ เ พื่ อ สั น ติ ภ า พ แ ล ะ พั ฒ น า
(Southern Philippines Council for
Peace and Development SPCPD) ทัง้ 3
หน่วยงานนีม้ ีจุดประสงค์ ที่จะนาโครงสร้ างและกลไกเกี่ ยวกับ
ข้ อตกลงสัน ติ ภ าพไปใช้ ให้ เกิ ด ผล สาหรั บ รายละเอี ย ดของ
หน่วยงานทังสามดั
้
งกล่าวข้ างต้ นมีดงั นี ้
-ต่อ1. เขตพิเศษเพื่อสันติภาพและการพัฒนา (Special
Zone of Peace and Development
SZOPAD) มีประเด็นสาคัญดังนี ้
สันติภาพและการพัฒนาในภาคใต้ จะทาให้ ประชาชนได้ รับผล
พวงของความเจริญก้ าวหน้ า
ทังรั
้ ฐบาลและ MNLF ร่วมกันดาเนินการเกี่ยวกับการสร้ าง
สันติภาพเพื่อที่จะให้ ได้ มาซึง่ ความยุติธรรม สันติสขุ และ
แก้ ปัญหาความขัดแย้ งทางภาคใต้
-ต่อ
มีช่องทางใหม่ที่จะเร่ งให้ มีก ารพัฒนามากขึน้ เมื่ อได้ มี การลงนามใน
สัญญาสันติภาพขันสุ
้ ดท้ ายระหว่างรัฐบาลกับ MNLF แล้ ว
ข้ อตกลงดังกล่าวเป็ นที่รับทราบกันในหมูป่ ระชาชนที่มีสว่ นได้ ส่วน
เสียในมินดาเนาและกลุม่ ประชาสังคมต่าง ๆ
นอกจากนันแล้
้ ว รัฐบาลได้ รณรงค์นกั ลงทุนทังภาครั
้
ฐและเอกชน
เข้ าไปลงทุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและการจ้ างงานในเขตดังกล่าวเพื่อให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ของแผนที่วางไว้ ดังนี ้
-ต่อ1) ให้ บริการพื ้นฐานต่าง ๆ เช่น น ้า ไฟฟ้า สิง่ อานวยความ
สะดวกทางการศึกษา ที่อยูอ่ าศัย สุขภาพและอนามัย
2) สร้ างโครงสร้ างพื ้นฐานที่อานวยความสะดวกต่อการพัฒนา
3) สร้ างการลงทุนภายในและส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศเพือ่
สร้ างรายได้ และโอกาสการจ้ างงาน
-ต่อ4) ช่วยเหลือด้ านเครดิตแก่กลุม่ สตรี ชาวนา ชาวประมง คน
ยากจนในเมือง เพื่อที่เขาสามารถที่จะสร้ างเศรษฐกิจในท้ องถิ่น
ได้
5) ช่วยให้ ชมุ ชนมีความสามารถในการสร้ างชุมชนและองค์กรที่
เข้ มแข็งโดยเฉพาะกลุม่ สตรี
หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สานักงาน
ประธานาธิบดี ซึง่ ต้ องหาความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ๆ ของ
รัฐและภาคเอกชนร่วมกันด้ วย
-ต่อสภาฟิ ลิปปิ นส์ภาคใต้ เพื่อสันติภาพและพัฒนา (Southern
Philippines Council for Peace and
Development - SPCPD)
หน่วยงานนี ้เป็ นหน่วยงานที่จะขยายแผนงานของ SZOPAD
ให้ เป็ นจริง โดยการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแสวงหาความ
ร่วมมือในการสร้ างความเจริ ญทางเศรษฐกิจและสังคม แต่หน่วยงานนี ้
ก็อยูภ่ ายใต้ สานักงานประธานาธิบดีเช่นกัน
2.
-ต่อสภาที่รับผิดชอบประกอบด้ วย ประธานใหญ่ รองประธาน
ใหญ่ และประธานกลุ่มย่อ ย 3 คน ซึ่ง รั บผิ ด ชอบ มุสลิม คริ ส
เตียน และชุมชนพื ้นเมืองเผ่าต่าง ๆ ตามลาดับ มีสภาที่ ปรึ กษา
คือ Darul Iftah ซึง่ ได้ รับการแต่งตังจาก
้
SPCPD ที่
ช่วยเหลือในการประสานงานกับประธานทัง้ 3 คนนี ้
อานาจและหน้ าที่ของสภามีดงั นี ้
-ต่อ1) รับผิดชอบในการส่งเสริมและตรวจสอบประสานงานในการ
ส่งเสริมสันติภาพและความสงบเรี ยบร้ อยในภาคใต้
2) เน้ น การรั กษาความสงบและการพัฒนาโดยเฉพาะเขตที่ มี
ความขัด แย้ ง สูง เช่ น ในเขตปกครองอิ ส ระมุส ลิ ม มิ น ดาเนา
(ARMM) และวางโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ บรรลุสนั ติภาพ
3) ให้ ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานปกครองท้ องถิ่น
4) ใช้ อานาจและหน้ าที่ปฏิบตั กิ ารเพื่อให้ การนาแผนไปใช้ ให้
บรรลุผลสาเร็จตามที่ได้ รับมอบหมายจากประธานาธิบดี
-ต่อ5) ช่วยเหลือในการเลือกตังท้
้ องถิ่น หยัง่ เสียงประชามติ ประชา
พิจารณ์ และขอมติจากชุมชน
6) จัดตังส
้ านักงานหรื อหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเป็ นกลไกในการ
ปฏิบตั ิงานให้ ได้ ผล ทังนี
้ ้ต้ องได้ รับการอนุมตั ิงบประมาณจาก
ประธานาธิบดี
7) ประสานงานและร่ วมมือกับหน่วยงานพัฒนาภาคใต้ , สานักงาน
กิจกรรมเพื่อมุสลิม, สานักงานชุมชนวัฒนธรรมท้ องถิ่น, คณะทางาน
เพื่ อ การพั ฒ นาบาซิ , คณะท างานเพื่ อ การพั ฒ นาในมิ น ดาเนา
ตอนกลาง, คณะทางานพัฒนาซูลู โดยประสานงานกับกองทหารและ
ตารวจให้ รักษากฎหมายและไม่ให้ ละเมิดสิทธิมนุษยชนของกลุ่ มคน
ภาคใต้
-ต่อ8) เสนอรายงานและข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับความก้ าวหน้ าของการ
รักษาความสงบสุขในภาคใต้ ต่อประธานาธิบดีโดยความร่ วมมือ
ของสภาที่ปรึกษา (Consultative Assembly)
ตามความเป็ นจริ งแล้ ว SPCPD ถูกจัดตังขึ
้ ้นเพื่อที่จะ
ส่ ง เสริ ม ตรวจสอบและพั ฒ นาเขตที่ มี ค วามขั ด แย้ งในเขต
ARMM
แต่มิ ไ ด้ มี อ านาจในการสั่ง การโดยล าพัง
ประธานาธิบดีจะต้ องมอบหมายให้ ดาเนินการต่าง ๆ เท่านัน้
-ต่อ3. สภาที่ปรึกษา (Consultative Assembly)
สภานี ้มีสมาชิก 81 คน ดังนี ้
1) ประธานของ SPCPD เป็ นประธานที่ปรึกษา
2) ผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการจังหวัด ARMM,
ผู้วา่ ราชการจังหวัดอื่น ๆ อีก 14 จังหวัด และนายกเทศบาลเมือง
ใหญ่ในจังหวัดเหล่านี ้อีก 9 เมือง
3) สมาชิก MNLF 14 คน
-ต่อ4) สมาชิกที่ได้ รับการแนะนาจากองค์กรพัฒนาเอกชน
(NGO) และองค์กรชุมชน (Pos) อีก 11 คน
หน้ าที่ของ CA คือ เป็ นเวทีอภิปรายถึงปั ญหาต่า ง ๆ ที่
เกิดขึ ้น ทาประชาพิจารณ์เพื่อนาเสนอต่อ SPCPD รวมทัง้
เสนอนโยบายต่อประธานาธิบดีโดยผ่าน SPCPD (เพื่อที่
ให้ ผลการปฏิบตั ิงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น)
-ต่อปั ญหาที่เกิดขึ ้น คือ
1. ทัง้ 3 หน่วยงานอยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของสานักงาน
ประธานาธิบดี
2. งบประมาณที่จะนาลงไปพัฒนาก็ไม่เพียงพอกับความต้ องการ จึง
จาเป็ นต้ องขอบริ จาคจากหน่วยงานต่างประเทศ
3. ขาดการประสานงานและความร่วมมือ
4. ปั ญหาผู้นาเขตปกครองอิสระมุสลิมมินดาเนา (ARMM)
นโยบายของรั ฐบาลอาร์ โรโยต่ อการแก้ ปัญหามิน
ดาเนา
MILF ซึง่ เป็ นกลุม่ แบ่งแยกดินแดนอีกกลุม่ หนึ่ง เพิ่งจะ
มีบทบาทในปี 1984 และมีบทบาทเรี ยกร้ องการแบ่งแยกดินแดน
มากขึ ้นในสมัยประธานาธิบดีอาร์ โรโย
การเจรจากับกลุม่ MILF
หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสร้ างสันติภาพในมินดา
เนาสมัยอาร์ โรโย มีอยู่ 2 หน่วยงาน คือ
-ต่อ1. สานักงานที่ปรึกษาประธานาธิบดีเกี่ยวกับกระบวนการ
สันติภาพ
ได้ ถกู จัดตังขึ
้ ้นเพื่อดาเนินการให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย 3
ประการ
1) กระบวนการสร้ างสันติภาพ ควรยึดชุมชนเป็ นสาคัญและ
สะท้ อนให้ เห็นค่านิยมและหลักการของชุมชนฟิ ลปิ ปิ นส์ทกุ คน ไม่
ว่าเป็ นกลุม่ ใดและให้ ชมุ ชนเป็ นผู้ร่วมตัดสินใจเอง
-ต่อ2) กระบวนการสร้ างสันติภาพ มีจดุ ประสงค์ที่จะสร้ างสังคมใหม่
ที่มีความยุติธรรม ความเท่าเทียม ยึดหลักมนุษยชาติและสังคมที่
หลากหลาย
3) กระบวนการสร้ างสันติภาพต้ องแสวงหาหลักการและหา
ข้ อสรุปเกี่ยวกับความขัดแย้ งโดยไม่ควรตาหนิหรื อยึดถือการยอม
แพ้ เป็ นหลัก แต่จะยอมรับศักดิศ์ รี ของผู้เกี่ยวข้ องเป็ นหลัก
แนวทางไปสูส่ นั ติภาพ
(1) ติดตามโครงการปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
(2) สร้ างฉันทามติและรวมพลังเพื่อสันติภาพ
(3) แก้ ปัญหากับกลุม่ ต่าง ๆ โดยยึดหลักความสงบสุขเป็ นหลัก
(4) จัดโครงการสาหรับการประนีประนอม การรวมตัวของกลุม่
กบฏต่าง ๆ ให้ เข้ ากับคนส่วนใหญ่ของประเทศ รวมทังการฟื
้
น้ ฟู
สังคมและจิตใจ
(5) แถลงการณ์ให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องกับความขัดแย้ งได้ ทราบถึง
ผลกระทบของปั ญหา
(6) สร้ างบรรยากาศแห่งสันติสขุ
-ต่อ2. ที่ประชุมภูมิภาคสาหรับการอภิปรายกระบวนการสันติ ภาพ
(Regional
Forum
on
the
Comprehensive Peace Process –
RFCPP)
ที่ ป ระชุ ม นี เ้ ป็ นการอภิ ป รายอย่ า งกว้ างขวางเกี่ ย วกั บ
กระบวนการต่ า ง ๆ ที่ น าไปสู่ สั น ติ ภ าพในภาคใต้ โดยมี
จุด ประสงค์ เ พื่ อ สร้ างความเป็ นอัน หนึ่ ง อัน เดี ย วกัน ของชาติ
ภายใต้ แผนพัฒนาระยะกลาง (2005 - 2010)
จุดประสงค์สาคัญสาหรับเวทีอภิปรายนี ้ ก็คือ
-ต่อ1. ติ ด ตามสถานการณ์ ค วามขัด แย้ ง ในภาคใต้ วางแผนและ
โครงการ เพื่อนาไปสู่การเจรจาต่อรองและริ เริ่ มการสร้ า งความ
สงบสุขในท้ องถิ่นร่วมกัน
2. ก าหนดประเด็น ปั ญ หา ช่ อ งว่า งที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หารวมทัง้
ข้ อเสนอแนะเพื่อเร่งให้ แผนดาเนินการลุลว่ งไปด้ วยดี
3. ระดมความช่วยเหลือจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับความขัดแย้ ง
ให้ นาแผนของชาติในการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งไปใช้ ให้ เกิดผล
-ต่อหลังจากการประชุมอภิปรายแล้ ว รัฐบาลได้ ประเด็นต่าง ๆ ดังนี ้
1. แจ้ งข่าวสารให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียในท้ องถิ่นได้ ทราบถึงผลที่ได้
จากการประชุม
2. จัดตังคณะที
้
่ปรึกษาระหว่างรัฐบาลกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย เมื่อ
มีปัญหาเกิดขึ ้นในท้ องถิ่น
3. ให้ ชนกลุม่ น้ อยต่าง ๆ ในภาคใต้ ได้ มีสว่ นร่วมในการกาหนด
ดินแดนของบรรพบุรุษของพวกเขา โดยเฉพาะเจรจากับกลุม่
MILF
-ต่อ4. เร่งให้ ดาเนินโครงการช่วยเหลือคนจน นาส่งบริการด้ าน
สาธารณสุขและการศึกษาในเขต ARMM อย่างรี บด่วน
5. จัดการปกครองที่ดี แก้ ปัญหาคอร์ รัปชัน่ ในกลุม่ ผู้นาภาคใต้
6. ทาให้ ศาลมุสลิม (Shari-ah Court) และการศึกษา
ของโรงเรี ยนสอนศาสนาอิสลาม (Madrasa) มี
ประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
7. จัดโครงการช่วยเหลือสนับสนุนให้ แก่ผ้ กู ลับใจ และให้
หน่วยงานปกครองท้ องถิ่นเร่งโครงการอภัยโทษและพักฟื น้ ของผู้
กลับใจให้ เร็วที่สดุ
ความร่ วมมือของภาครั ฐและองค์ กรพัฒนาเอกชน
ต่ อการสร้ างสันติสุขในมินดาเนา
องค์กรพัฒนาเอกชนในท้ องถิ่น
องค์กรพัฒนาเอกชนได้ ทางานร่ วมกับรัฐในการสร้ างสั นติ
สุขและพัฒนาจังหวัดที่มีมสุ ลิมมากกว่าคริ สเตียน ซึ่งได้ แก่ บาซิ
ลัน ซูลู และตาวี - ตาวี ซึ่ง ทัง้ 3 จัง หวัด นี เ้ องที่ ก่ อให้ เกิ ด ความ
ขัดแย้ งในมินดาเนา องค์กรพัฒนาเอกชนดังกล่าวได้ รวมกลุ่มกัน
ภายใต้ ชื่อ Pantabangan Basulta ซึง่ มีความหมาย
ว่าช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยมีองค์กรของรัฐบาลคอยอานวย
ความสะดวก ผู้ที่ริเริ่ มคิดการรวมกลุ่มขององค์กรดัง กล่าว คือ
อดีตเอกอัครราชทูต Howard Dee ประธานขององค์กร
Tabang Mindanaw
-ต่อPantabangan Basulta พยายามมองหา
ประเด็นปั ญหาของมินดาเนา เพราะฉะนันสิ
้ ง่ แรกที่พวกเขาคิด
ตามขันตอนในฐานะเป็
้
นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change
Agent) ก็คือ
1) มีอะไรที่ควรทาในเขต 3 จังหวัดภาคใต้
2) วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา
3) ใช้ แนวทางใดในการแก้ ปัญหา
4) หาแหล่งทุนสนับสนุน
สิง่ ที่พวกเขาวิเคราะห์ได้ คือ
-ต่อสาเหตุของความยากจน
จังหวัดภาคใต้ มีปัญหาความไม่เท่าเทียมกันระหว่างคริส
เตียนกับมุสลิม อันเนื่องมาจากประวัติศาสตร์ ที่สเปนได้ ให้ พวกค
ริสเตียนบุกรุกที่ทากินพวกมุสลิมที่ครอบครองที่ดินอยูก่ ่อนแล้ ว
สร้ างความไม่พอใจให้ พวกมุสลิมเป็ นอันมาก นอกจากนี ้พวก
มุสลิมยังไม่มีสทิ ธิในการเรี ยกร้ องที่ดินกลับคืนมา สิง่ ที่สร้ าง
ความไม่พอใจให้ กบั มุสลิม 3 จังหวัดภาคใต้ มากไปกว่านันก็
้ คือ
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูม่ หาศาลนัน้ ถูกรัฐบาลและ
ภาคเอกชนนาไปใช้ ประโยชน์โดยที่พวกเขาได้ รับส่วนแบ่งน้ อย
มาก ความยากจนจึงเกิดขึ ้นทัว่ ไปโดยไม่มีการพัฒนา
-ต่อการระดมเงินทุน 100 ล้ านเปโซ
คือ การระดมเงินทุนช่วยเหลือในโครงการต่าง ๆ ใน 3
จังหวัดเป็ นเงิน 100 ล้ านเปโซ ในจานวนโครงการดังกล่าว มี 5
โครงการอยูใ่ นขันก้
้ าวหน้ า ซึง่ ใช้ เงินทังหมด
้
26.8 ล้ านเปโซ
โครงการดังกล่าว ได้ แก่ โครงการฝึ กอบรมเกี่ยวกับ น ้า
สิง่ แวดล้ อม การดารงชีวิตของชุมชนและการฝึ กทักษะความ
ชานาญต่าง ๆ ส่วนโครงการที่เหลือ ได้ แก่ การฝึ กอบรมเกี่ยวกับ
สาธารณสุข การศึกษา การเกษตร การสร้ างสันติภาพ และการ
บริหารการจัดการที่ดีของหน่วยราชการต่าง ๆ ซึง่ โครงการเหล่านี ้
อยูใ่ นระหว่างที่จะเริ่มการฝึ กอบรมในปี 2005
-ต่อการใช้ แนวทาง Edsa
แนวทาง Edsa คือแนวทางที่ฟิลิปปิ นส์ได้ ใช้ เมื่ อโค่น
อ านาจประธานาธิ บ ดี ม าร์ ก อสได้ ส าเร็ จ ใน ค.ศ. 1986 เป็ น
แนวทางที่ไม่ใช้ ความรุ นแรง คือ การรวมตัวของพลังประชาชน
ให้ มีพลังอานาจ เพื่อกระทาการต่าง ๆ ให้ ลลุ ่วงโดยในขันแรกให้
้
ประชาชนในชุมชนกาหนดปั ญหาและวิเคราะห์ปัญหา ต่อมาให้
ยื่นข้ อเสนอต่อกลุ่ม BaSulta เพื่อจะได้ ช่วยแก้ ปัญหาและ
ฝึ กอบรมในเรื่ องต่าง ๆ ที่เขาต้ องการ แต่ทงนี
ั ้ ้และทัง้ นันชุ
้ มชนใน
3 จังหวัดภาคใต้ จะต้ องคานึง ถึงเสรี ภาพ ความเจริ ญรุ่ งเรื อง
สันติภาพและยอมรับความแตกต่างของกันและกัน
-ต่อแหล่งเงินทุนบริจาคจากต่างประเทศ
เพื่อให้ งานพัฒนา 3 จังหวัดภาคใต้ เป็ นไปโดยราบรื่ น กลุ่ม
จังหวัด BaSulTa (Basilan, Sulu , TawiTawi)
ได้ ขอเงินสนับสนุนช่วยเหลือจากองค์กรระหว่าง
ประเทศต่าง ๆ เช่น World
Bank,
USAID,
Japan
International
Cooperation
Agency (JICA) โดยให้ องค์กรเหล่านี ้ได้ พบปะอภิปราย
ปั ญหากับผู้นากลุม่ 150 กลุม่ จาก 3 จังหวัดภาคใต้ เมื่อวันที่ 22
กันยายน 2005 เพื่อให้ ผ้ นู ากลุ่มเหล่านี ้ได้ เสนอโครงการต่าง ๆ
เพื่อรับความช่วยเหลือ
และเขตปกครองตนเอง ARMM (Autonomous
Region Mulim Mindanao) ภายใต้ โครงการแม่
GEM (Growth with Equity in Mindanao
Program)
-ต่อโครงการ GEM ทางานร่ วมกับสมาคม สหกรณ์ต่าง ๆ
องค์กรพัฒนาเอกชน สภาเศรษฐกิจ หอการค้ า หน่วยงานการ
ปกครองท้ องถิ่น เขตปกครองตนเอง ARMM องค์กรภาครัฐ
ผู้ บริ จ าคจากต่ า งประเทศทั ง้ ในระดั บ ทวิ ภ าคี แ ละพหุ ภ า คี
บริ ษัทเอกชน สมาคมผู้ปกครองและครูในแต่ละชุมชน ได้ ร่ วมกัน
ทางานเพื่อดึงความเจริ ญเติบโตและสร้ างสันติภาพในมิ นดาเนา
โดยมี Mindanao Economic Development
Council (MEDCo) เป็ นผู้นาแผนต่าง ๆ ไปสู่การ
ปฏิบตั ิ โครงการดังกล่าวได้ แก่
-ต่อ1. การพัฒนาทักษะสาหรับการรองรับงานในอนาคต ซึง่
ประกอบด้ วย
1.1 โครงการฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ต
1.2 โครงการสร้ างความตระหนักให้ เห็นความสาคัญของ
การศึกษา
1.3 โครงการการบริหารการจัดการ ซึง่ ประกอบด้ วย
- โครงการฝึ กงานในรัฐสภาสาหรับมุสลิมรุ่นเยาว์
- โครงการให้ ความช่วยเหลือหน่วยงานของ ARMM
-ต่อ2. โครงการด้ านความเจริญเติบโตทางด้ านธุรกิจ ซึง่ ประกอบด้ วย
2.1 องค์กรการให้ ความช่วยเหลือด้ านธุรกิจ
2.2 โครงการขยายเป้าหมายของสินค้ า ซึง่ ประกอบด้ วย
- การปลูกพืชสวนที่มีคณ
ุ ค่าสูง
- การส่งเสริมการส่งออก
- การส่งเสริมการประมงและสัตว์น ้าที่ยงั่ ยืน
2.3 โครงการส่งเสริมสันติสขุ เพื่อการพัฒนา
-ต่อฝ่ ายรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์เองได้ ตกลงที่จะให้ รัฐบาลมาเลเซีย
เป็ นบุคคลที่ 3 ตามข้ อเรี ยกร้ องของกลุม่ MILF สาเหตุที่
รัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ต้องยอมทาตาม เพราะ
1. ฟิ ลิปปิ นส์เป็ นประเทศคาทอลิก ที่มีผ้ นู บั ถือศาสนาคริสต์กว่า
ร้ อยละ 90 มุสลิมเป็ นคนส่วนน้ อยแค่ร้อยละ 5 ของประเทศ การ
ยอมรับข้ อเสนอก็เพื่อเป็ นการแสดงการยอมรับมุสลิมเหล่านี ้ว่า
เขาย่อมไว้ ใจมุสลิมด้ วยกัน
-ตอ่
2. การยอมครัง้ นี ้เป็ นการบรรเทาความรุนแรงที่เกิดขึ ้นในภาคใต้
รัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์มิได้ คิดว่าเป็ นการเสียอานาจอธิปไตยไปแต่
อย่างใด หรื อไม่ได้ คิดว่ามาเลเซียจะเข้ ามาแทรกแซง แต่เป็ นการ
แก้ ไขปั ญหาร่วมกัน
3. มาเลเซียเป็ นสมาชิกของที่ประชุมมุสลิมโลก
(Organization of Islamic Conference)
ซึง่ ฟิ ลิปปิ นส์ไม่ได้ เป็ นสมาชิกกลุม่ นี ้ ฟิ ลิปปิ นส์จงึ หวังความ
ช่วยเหลือของมาเลเซียในการไกล่เกลี่ย อีกทัง้ MILF จะไม่มี
ข้ อระแวงสงสัยต่อรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ได้
-ต่อ4. สมาชิกใน OIC คืออินโดนีเซียเคยช่วยฟิ ลปิ ปิ นส์แก้ ปัญหา
กลุม่ MNLF ในสมัยประธานาธิบดีรามอสมาแล้ ว
5. มาเลเซียมีประสบการณ์ในการปกครองแบบสหพันธรัฐ อีกทัง้
ได้ แก้ ปัญหาหลายเชื ้อชาติและเป็ นรัฐอิสลาม มีระบบสุลต่าน มี
ภูมิบตุ ร ซึง่ นับถือศาสนาอิสลามเป็ นส่วนใหญ่จงึ น่าจะช่วย
ฟิ ลิปปิ นส์ได้
บทบาทของรัฐบาลมาเลเซียในการเป็ นตัวกลางในการ
เจรจากับ MILF และความร่ วมมือของรัฐบาล
ฟิ ลิปปิ นส์
บทบาทแรก คือ ระหว่างปี 1997 – 2000 เป็ นผู้ไกล่เกลี่ย
ปั ญหาภายในเกี่ยวกับการสู้รบระหว่างรัฐบาลเอสตราดากับ
MILF ในครัง้ นันเอสตราดาใช้
้
นโยบายปราบปรามอย่างหนัก
เพื่อให้ MILF หมดไปจากภาคใต้ แต่เหตุการณ์เข้ าสู่ขนวิ
ั ้ กฤต
MILF จึงได้ ร้องเรี ยนไปที่ OIC OIC จึงได้ มอบหมายให้
มาเลเซียในฐานะสมาชิกขององค์การเข้ าไปไกลเกลี่ย ในครัง้ นี ้ไม่
มีประเทศอื่น ๆ ใน OIC เป็ นผู้ไกล่เกลี่ยด้ วย
-ต่อบทบาทต่อมาคือบทบาทในเวทีระหว่างประเทศ ในปี 2000
เป็ นต้ นมา ซึง่ ช่วงนี ้เป็ นช่วงสมัยประธานาธิบดีอาร์ โรโย มาเลเซีย
ได้ รับมอบหมายจากองค์การ OIC ให้ เป็ นตัวกลางการเจรจา
ระหว่างรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์กบั MILF หน้ าที่ของมาเลเซียก็คือ
อานวยความสะดวกด้ านสถานที่ในการเจรจา กาหนดประเด็นใน
การเจรจา แก้ ปัญหาระหว่างการเจรจา สรุปประเด็นสาคัญใน
การเจรจาครัง้ ต่อไป และเป็ นพยานในข้ อตกลงทัง้ 2 ฝ่ าย โดยมี
ประเทศอื่น ๆ ใน OIC ร่วมสังเกตการณ์ด้วย
-ต่อตังแต่
้ เดือนตุลาคม 2004 เป็ นต้ นมา มาเลเซียเป็ นผู้นาทีม
ตรวจสอบ (International Monitoring Team IMT) เข้ าไปตรวจสอบการเจรจาหยุดยิงและดาเนินการ
เกี่ ย วกั บ ข้ อตกลงเบื อ้ งต้ น นอกจากนี โ้ ครงการร่ ว มมื อ ทาง
วิช าการของมาเลเซี ย ยัง ได้ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ แก่ ห น่ ว ยงานการ
พัฒนาบังซาโมโร (Bangsamoro Development
Agency) ซึง่ ประกอบไปด้ วยองค์กรพัฒนาเอกชนที่จดั ตัง้
โดย MILF เพื่อพัฒนา ฟื น้ ฟู และแก้ ปัญหาในมินดาเนา
ตอนกลาง
บทบาทของการเป็ นตัวกลางของมาเลเซีย
มาเลเซียเป็ นเพื่อนบ้ านที่ดีของฟิ ลิปปิ นส์เสมอมา แม้ ใน
อดีตเคยมีประเด็นอ้ างสิทธิเหนือเกาะซาบาห์ก็ตาม แต่ปัจจุบนั
ซาบาห์มิใช่เป็ นประเด็นที่สาคัญ แต่ประเด็นทางสังคมเช่น การ
อพยพข้ ามแดน การพัฒนาเศรษฐกิจของทัง้ 2 ประเทศเป็ นเรื่ อง
สาคัญกว่า เนื่องจากทัง้ 2 ประเทศมีภมู ิประเทศติดต่อกันทางน ้า
และเป็ นเพื่อนบ้ านในอาเซียนร่วมกัน สิง่ ที่รัฐบาลมาเลเซียมีมติ
ร่วมกัน คือ
-ต่อ1. ยอมรับเกียรติภมู ิและอธิปไตยของฟิ ลิปปิ นส์
2. ไม่มีการแบ่งแยกดินแดนและการขอเป็ นเอกราช
3. ประกันสิทธิของบังซาโมโร เสมือนเป็ นประชาชนของ
ฟิ ลิปปิ นส์
4. MILF และ MNLF ควรร่วมแรงร่วมใจเพื่อหาทาง
แก้ ปัญหาและต่อต้ านความรุนแรงและการใช้ กาลังทหารของ
ขบวนการโมโร
-ต่อภาคใต้ ข องฟิ ลิป ปิ นส์ ก็ เ ป็ นส่ว นหนึ่ง ของผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ
มาเลเซีย ผลประโยชน์ดงั กล่าว คือ ความมัน่ คงปลอดภัยของประชาชน
ทัง้ 2 ฝ่ าย เหตุการณ์ จากการลักพาตัวชาวต่างชาติและชาวฟิ ลิ ปปิ นส์
ไปที่เกาะซีปาดาน(กลุ่มอาบูไซยาฟซึ่งเป็ นกลุ่มก่อการร้ ายที่ลกั พาตัว
นักท่องเที่ยวนัน้ เป็ นลูกหลานของกลุม่ MILF ทางการคาดว่าน่าจะ
มีการเชื่อมโยงกันทัง้ 2 กลุ่มนี)้ เป็ นเหตุการณ์ ที่บั่นทอนการท่องเที่ยว
และเศรษฐกิจระหว่างกันพอสมควร นอกจากนีย้ งั มีปัญหาทางสัง คม
เกี่ ย วกั บ การอพยพและแรงงานผิ ด กฎหมายที่ อ พยพข้ ามแดนมา
มาเลเซีย เมื่อเกิดปั ญหา สิ่งเหล่านี ้มาเลเซียต้ องการแก้ ปั ญหาโดยเร็ ว
ทังนี
้ ้เพื่อผลประโยชน์ของทัง้ 2 ประเทศ ในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
-ต่อสาหรับปั จจัยภายนอกที่พยายามเข้ ามามีส่วนเกี่ ยวข้ องกับ
การเจรจา คือ สหรัฐฯ เนื่องจากสหรัฐฯ เชื่อว่ากลุม่ MILF มี
ส่วนเกี่ยวโยงกับกลุ่มก่อการร้ ายอัลไคดาห์ แต่รัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์
ไม่ได้ ถือว่า MILF เป็ นพวกก่อการร้ ายตามที่สหรัฐเข้ าใจ แต่
ถื อ ว่ า พวกนี เ้ ป็ นกลุ่ม แบ่ ง แยกดิ น แดนที่ ม านั่ง โต๊ ะเจรจากั บ
รัฐบาลได้ สาหรับมาเลเซียเองแม้ จะกลัวการก่อการร้ ายก็ ตาม
แต่ คิ ด ว่ า ปั ญ หานี เ้ ป็ นปั ญ หาระหว่ า ง 2 ประเทศแก้ ไขกั น ได้
สหรัฐฯ เป็ นเพียงบุคคลภายนอกเท่านัน้
-ต่อเพราะฉะนันจุ
้ ดยืนทัง้ 2 ประเทศร่วมกัน คือ จะแก้ ปัญหา
ร่วมกันเพื่อผลประโยชน์ทางด้ านความมัน่ คงและเศรษฐกิจ
ร่วมกัน สหรัฐฯเป็ นเพียงบุคคลภายนอก ถ้ าจะมีการช่วยเหลือ
ด้ านการพัฒนาทางภาคใต้ ของฟิ ลิปปิ นส์ ทางรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ก็
ไม่ขดั ข้ อง
สาหรับการเป็ นตัวกลางในการเจรจาของมาเลเซียและการ
อานวยความสะดวก ต่าง ๆ ก็ได้ มีการสืบทอดเจตนารมณ์จาก
รัฐบาลมหาธีร์ โมฮัมหมัดมาถึง อับดุลลาห์ บาดาวีในปั จจุบนั
สันติวิธีกับการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งในมินดาเนา
รายวิชา
Conflict Resolution in Southeast Asia (196415)
เสนอ
อาจารย ์ ชิดชนก ราฮิมมูลา
จัดทาโดย
นางสาว นินาซูรา บินนิโซะ รหัส
5220410025
เอกตะวันออกกลางศึ กษา คณะวิทยาลัยอิสลาม
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึ กษา 2554