สถานการณ์การเมืองโลก (PS 703)

Download Report

Transcript สถานการณ์การเมืองโลก (PS 703)

ขบวนการปลดปล่ อยพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม
Liberation Tigers of Tamil Eelam
(LTTE)
ปูมหลัง (background)
ประเทศศรี ลงั กา มีประชากร 20.9 ล้านคน แบ่งเป็ นเชื้อสายสิ งหล 75% และ
ชาวทมิฬ 18% ที่เหลือเป็ นแขกมัวร์และอื่นๆอีกราว 7% โดยในชั้นแรกอาณาจักร
สิ งหลก่อตั้งขึ้นในบริ เวณที่ราบภาคเหนือของศรี ลงั กา ต่อมาในศตวรรษที่ ๑๓ ก็
เสื่ อมสลายลง พร้อมกับการเกิดขึ้นของอาณาจักรทมิฬ และชาวสิ งหลก็ได้ถอยร่ น
ไปตั้งรกรากในบริ เวณภาคใต้ของศรี ลงั กา
ประมาณศตวรรษที่ ๑๕ อิทธิ พลของประเทศตะวันตกได้แพร่ ขยายเข้ามามี
บทบาทในศรี ลงั กา เริ่ มจากประเทศโปรตุเกส และ ฮอลันดา จนกระทัง่ ในทีส่ ุ ดได้
ตกเป็ นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักรในปี 1798 และได้รับเอกราชเมื่อวันที่ ๔
กุมภาพันธ์ ปี 1948 โดยผูท้ ี่มีบทบาทสาคัญในการเรี ยกร้องเอกราชก็คือ นาย
Stephen SenanaYake ซึ่ งต่อมาได้รับเลือกเป็ นนายกรัฐมนตรี คนแรกของศรี ลงั กา
(กองเอเชียใต้, ๒๕๓๖:๕)
แผนที่ประเทศศรี ลงั กา (Microsoft Co., 1998:CD-Rom)
สาเหตุของความขัดแย้ ง
• ช่วงที่องั กฤษเข้ามาแทนที่ฮอลแลนด์ในการเป็ นเจ้าของศรี ลงั กา ได้สร้างสิ่ งอานวย
ความสะดวกให้บริ เวณที่อยูอ่ าศัยของชาวทมิฬ (เมือง Jaffna) มากมายทั้งโรงเรี ยน
โรงพยาบาล ทาให้ชาวสิ งหลซึ่ งอยูพ่ ้นื ที่ส่วนอื่นของเกาะไม่พอใจ
• ในปี 1956 มีการประกาศนโยบายชาตินิยมสิ งหล (Sinhalese only) โดยเปลี่ยน
ภาษาราชการเป็ นภาษาสิ งหลแทนที่ภาษาอังกฤษ ร่ างกฎหมายนี้ชื่อ Sinhala Only
Act
• ในปี 1970 รัฐบาลศรี ลงั กาเปลี่ยนชื่อประเทศจาก Ceylon มาเป็ น Sri Lanka อันเป็ น
ชื่อดั้งเดิมในภาษาสิ งหล
ประวัติขบวนการปลดปล่ อยพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม (LTTE)
• กลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวทมิฬในศรี ลงั กา จัดตั้งเมื่อปี 1975 มีหวั หน้าคือ นาย
Velupillai Prabhakaran
• มีจุดมุ่งหมายในการแบ่งแยกดินแดนภาค เหนือ-ตะวันออก ซึ่ งถือว่าเป็ นมาตุภูมิ
ของทมิฬ เพื่อจัดตั้งเป็ นรัฐเอกราชทมิฬ
• วิธีการต่อสู ้ มี 2 รู ปแบบคือ
– วิธีการทางการเมือง ด้วยการจัดตั้งพรรคการเมืองชาวทมิฬ
– วิธีการใช้ความรุ นแรง โดยการจัดตั้งกองกาลังติดอาวุธต่อสู ้กบั รัฐบาลศรี ลงั กา
กลุ่มติดอาวุธที่เข้มแข็งคือ กลุ่มกบฏแบ่งแยกดินแดนพยัคฆ์ทมิฬอีแลม
วิธีการต่ อสู้ ของขบวนการปลดปล่ อยพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม (LTTE)
การเคลื่อนไหวทางการเมืองมี 2 รู ปแบบคือ
– ตีพิมพ์ข่าวสารและส่ งภาพการสังหารชาวทมิฬโดยทหารของรัฐบาลเพื่อ
เรี ยกร้อง ความเห็นใจจากชาวโลก
– การปลุกใจคนทมิฬทัว่ โลกให้ภมู ิใจในสายเลือด และวัฒนธรรมของตน
เว็บไซต์ที่สาคัญคือ www.eelamweb.com
แหล่งข่าวสารที่ดีของพวกทมิฬสายกลางได้แก่เว็บไซต์ www.tamilnet.com และ
www.tamilguardian.com เว็บไซต์พวกนี้เสนอข่าวทั้งสองด้าน และมีความเป็ นกลางพอสมควร
ที่มา www.tamilnet.com และwww.tamilguardian.com
ยุค LTTE รุ่ งเรื องเฟื่ องฟู มีการออกแสตมป์ ใช้เองในปี 1983 [ Wikipedia ]
วิธีการต่ อสู้ ของขบวนการปลดปล่ อยพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม (LTTE) (ต่ อ)
วิธีการใช้ความรุ นแรงของพวกพยัคฆ์ทมิฬอีแลม
• กลุ่ม LTTE มีชื่อเสี ยงอย่างมากในการใช้ระเบิดพลีชีพโจมตีเป้ าหมาย การระบิด
พลีชีพที่สาคัญที่สุดคือ การสังหารประธานาธิบดีรณสิ งห์ เปราดาสาแห่งศรี ลงั กา
และอดีตนายกรัฐมนตรี ราจีพ คานธี แห่งอินเดีย
• ก่อวินาศกรรมทาลายอาคารและสิ่ งอานวยความสะดวกของรัฐบาล อาทิ การใช้
รถบรรทุกพุง่ ชนธนาคารชาติศรี ลงั กา เป็ นต้น
• การก่อการร้านทางทะเล โดยการโจมตีเรื อสิ นค้าในน่านน้ าศรี ลงั กา รวมทั้งเรื อสิ ร
ค้าระหว่างประเทศ แต่หลีกเลี่ยงการโจมตีที่กระทบต่อชาวตะวันตก
กองกาลังทหารหญิงพยัคฆ์ทมิฬ (Tamil Women Fighters)
กองกาลังรบทางทะเลเรี ยกว่า SeaTigers
เครื่ องบินรบพวกทมิฬดัดแปลงจากเครื่ องบินเก่าๆ เครื่ องยนต์เดียว 4 ที่นงั่ ติดระเบิดได้ 4 ลูกแต่
สามารถบินข้ามเกาะเข้ากรุ งโคลัมโบไปบอมบ์ค่ายทหารรัฐบาลได้
พฤติการณ์ ก่อการร้ ายทีส่ าคัญ
• 21 พฤษภาคม 1991 นาย ราจีฟ คานธี
อดีตนายกรัฐมนตรี ของประเทศ
อินเดีย ซึ่ งถูกลอบวางระเบิดสังหาร
โดยการยอมพลีชีพของสมาชิก
ขบวนการพยัคฆ์ทมิฬอีแลม
พฤติการณ์ ก่อการร้ ายทีส่ าคัญ (ต่ อ)
• 23 เมษายน 1993 ลอบสังหารประธานาธิ บดี รณสิ งห์ เปรมาดาสา แห่งศรี ลงั กา
• 23 ตุลาคม 1994 วางระเบิดสังหารนาย กามินี ดิสสายาเก ผูส้ มัครเข้ารบการเลือกตั้ง
ชิงตาแหน่งประธานาธิ บดีของศรี ลงั กา ทาให้มีผเู ้ สี ยชีวิต 55 คน บาดเจ็บ 200 คน
• 15 ตุลาคม 1996 สมาชิกขบวนการฯ ได้ขบั รถยนต์ซ่ ึ งบรรทุกระเบิดไดนาไมต์
จานวน 200 กิโลกรัม ไประเบิดธนาคารแห่งศรี ลงั กาที่โคลัมโบ ทีผเู ้ สี ยชีวิต 100 คย
บาดเจ็บกว่า 1400 คน
ฯลฯ
(http://www.spur.asn.au/chronology_of_suicide_bomb_attacks_by_Tamil_Tigers_in_sri_Lanka.htm)
ปฏิบัติการกวาดล้ าง LTTE : จากสงครามแบบแผน สู่ สงครามการ
ก่ อการร้ าย
• สิ งหาคม 2006 รัฐบาลถล่มจังหวัดแถบตะวันออก (ไม่กี่ปีก่อนหน้านี้... สึ นามิถล่ม
ไปรอบหนึ่งแล้ว)
• กองทัพเรื อศรี ลงั กา คือ ยิงเรื อที่ตอ้ งสงสัยว่า เป็ นกองเรื อ LTTE ทิ้งให้หมดนานน้ า
ทางเหนือ และ กรกฎาคม 2008 กองทัพศรี ลงั กากล่าวว่า ได้ยดึ Vidattaltivu ฐาน
ทัพเรื อสาคัญของกลุ่มพยัคฆ์ทมิฬทางตอนเหนือ
• ประกาศให้คนออกจากเมืองปารานธานที่เป็ นเมืองน้ าเลี้ยงของ LTTE ให้หมด ถ้า
ไม่ออกจะถือว่า เป็ นฝ่ ายกบฏ เพื่อผลักดันให้ฝ่ายกบฏต้องหนีไปตามทางแคบๆ
เรี ยกว่า "ทางช้าง (Elephant Pass)" ซึ่ งกองทัพอากาศเตรี ยมถล่มจากข้างบนอยูแ่ ล้ว
ผลการปฏิบัตกิ าร
• พลเรื อนที่ฝ่าย LTTE ใช้เป็ นโล่มนุษย์ตายไปเกือบ 7,000 คน บาดเจ็บอีก 13,000
คน ประชาชนต้องผลัดถิ่นอีก 275,000 คน ถนนหนทาง บ้านเรื อนพังพินาศ
• 18 พ.ค. 2009 กองกาลังรักษาความมัน่ คงของศรี ลงั กาแถลงว่า นายเวลุพิไลประภา
คาราน หัวหน้ากลุ่มกบฏพยัคฆ์ทมิฬอีแลม
• สาหรับแกนนากองกาลังพยัคฆ์ทมิฬที่เสี ยชีวติ ด้วย ได้แก่ นายชาร์ลส์ แอนโธนี่
อายุ 24 ปี ลูกชายนายประภาคาราน นายบี. เนเดอซาน หัวหน้าฝ่ ายการเมือง นาย
เอส. พูลิดีวาน หัวหน้าคณะเลขาธิ การฝ่ ายสันติภาพของกลุ่มกบฏพยัคฆ์ทมิฬใน
พื้นที่ต่อสู ้ พล.ท.ซูซาย ผูน้ าฝ่ ายทัพเรื อ และนายพ็อตตู อัมมาน หัวหน้าหน่วยข่าว
กรอง
• ถือเป็ นการยุติการสู้รบนาน 25 ปี ของรัฐบาลสิ งหลที่เป็ นชนเชื้อสายส่ วนใหญ่ใน
ศรี ลงั กา
นายเวลุพิไล ประภาคาราน หัวหน้ากลุ่มกบฏพยัคฆ์ทมิฬอีแลม เสี ยชีวิตหลังจากที่ถูก
ปิ ดล้อมพื้นที่ตอ้ นกลุ่มกบฏจนมุมในป่ า ฝั่งตะวันออกเฉี ยงเหนือ
สาเหตุทกี่ บฏทมิฬอีแลม (LTTE) แพ้สงคราม
• ปั จจัยที่ทาให้ฝ่ายกบฏอ่อนแอลง 2 ประการได้แก่
(1). สึ นามิซดั เข้าทางชายฝั่งด้านตะวันออกที่ชาวทมิฬ ซึ่ งเป็ นกองหนุนของกบฏ
ทาให้ชาวทมิฬยากจนลงไปมาก (ชาวทมิฬอยูต่ ามชายฝั่งทางเหนือและ
ตะวันออก) และมีอตั ราการฆ่าตัวตายสู งขึ้นมาก (ศรี ลงั กาเป็ นประเทศพิเศษใน
เขตร้อน คือ มีอตั ราการฆ่าตัวตายสู งมาก)
(2). รัฐบาลอินเดียเริ่ มสร้างโครงข่ายถนนรู ป 4 เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนรอบๆ ประเทศ
ทาให้เศรษฐกิจโตขึ้นเร็ ว ซึ่ งอาจทาให้คนเชื้อสายทมิฬทางตอนใต้ของอินเดียอยาก
ลงทุนการค้ามากกว่าสนับสนุนการรบ
สาเหตุทกี่ องทัพศรีลงั กาชนะ LTTE
(1). No ambiguity = ไม่มีความลังเล หรื อใช้ความหนักแน่น
• รัฐบาลและกองทัพมีความเห็นตรงกันว่า ไม่วา่ จะต้องลงทุนสักเท่าไรก็ตอ้ งทา
• แนวคิดในการกวาดล้างนี้อาจได้รับอิทธิ พลจากพม่าในการปราบกบฏ ซึ่ งเป็ น
ประเทศที่ให้ความช่วยเหลือศรี ลงั กา โดยเฉพาะการขายข้าวราคาถูกให้ คือ ให้ใช้
ทฤษฎีเกมส์ (game theory = ใช้วธิ ี อะไรก็ได้ที่จะชนะ โหดไม่โหดไม่เกี่ยง)
• พี่ชายของท่านคือ ท่านมฮินดา(มหิ นท์) ราจาปักษา(ราชาปั กษา) ขึ้นเป็ น
ประธานาธิบดีในปี 2005 หรื อ พ.ศ. 2548 ได้ให้ความเห็นว่า การเจรจาต่อรองไม่
ได้ผล(อีกต่อไป)
สาเหตุทกี่ องทัพศรีลงั กาชนะ LTTE (ต่ อ)
(2). ลงทุน
• นายพลสาราธ ฟอนเซกาประกาศเกณฑ์หารเพิ่มจาก 80,000 เป็ นมากกว่า 160,000
นาย จัดหาอาวุธใหม่ โดยเฉพาะเครื่ องบินขับไล่เจ็ต ปื นใหญ่ เครื่ องยิงจรวดแบบ
หลายท่อ(ใส่ รถ ยิงได้ทีเดียวหลายลูกเกือบจะพร้อมกันทันที)
• แนวคิดของศรี ลงั กาตอนนั้นคือ เมื่อจนก็ตอ้ งหาอาวุธราคาถูกที่ใช้การได้จริ ง และ
เน้นซื้ อจากจีน ปากีสถาน รัสเซี ย และจะต้องใช้วธิ ี การรบแบบใหม่ทไี่ ม่เคยใช้กบั
LTTE มาก่อนด้วย
สาเหตุทกี่ องทัพศรีลงั กาชนะ LTTE (ต่ อ)
(3). แนวร่ วม
• การที่กบฏ LTTE ไม่ให้ความร่ วมมือในการเจรจาทาให้รัฐบาลนานาชาติผิดหวัง
ทาให้อินเดียและสหรัฐฯ ได้ช่อง เลยให้ความร่ วมมือแบบเงียบๆ (ความเห็นของ
อาจารย์ DBS Jeyaraj นักวิเคราะห์สถานการณ์ศรี ลงั กา)
• ถ้าอินเดียให้ความร่ วมมือ... การส่ งเงิน ความช่วยเหลือจากชาวทมิฬทางใต้ของ
อินเดีย และการค้าขายของกองเรื อ LTTE ก็จะทาได้ยากขึ้นมาก
• ทางอินเดียเองมองว่า ถ้ากบฏ LTTE สงบลง... ศรี ลงั กาจะเป็ นตลาดใหม่ที่อินเดีย
ได้เปรี ยบชาติอื่นๆ ทั้งหมด แถมยังพัฒนาท่าเรื อหรื อแหล่งท่องเทีย่ วทางใต้ได้ดีข้ ึน
ด้วย
สิ่ งทีต่ ้ องคิดต่ อไป
ด้วยความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอย่างยาวนาน จากปัจจัยรากฐานด้านเชื้อ
ชาติ การที่รัฐบาลมีการจัดการอย่างไม่เหมาะสม จนถึงปัจจัยเสริ มจาก
ต่างประเทศ แทนที่ประเทศศรี ลงั กาจะประสบความสงบสุ ขจากการ
สิ้ นสุ ดของสงครามกลางเมืองที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของเอเชีย ดังที่ชาวศรี
ลังกาได้หวังไว้ แต่ในรอบถัดไปนี้ศรี ลงั กาอาจเผชิญการก่อการร้ายจาก
กลุ่มพยัคฆ์ทมิฬที่เหลืออยูต่ ่อไป เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายการแบ่งแยก
ดินแดนในที่สุด
หัวข้ อ ขบวนการปลดปล่อยพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม
Liberation Tigers of Tamil Eelam ( LTTE )
•
•
•
•
นางสาวอภิญญา องศารา
รหัสนักศึกษา 5120710224
คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
อาจารย์ที่ปรึ กษา ผศ.ชิดชนก ราฮิมมูลา