คุณลักษณะของครูภาษาไทย
Download
Report
Transcript คุณลักษณะของครูภาษาไทย
คุณลักษณะของครูภาษาไทย
คุณลักษณะด้านภาษาไทย
มีความรูท้ างภาษาไทยเป็ นอย่างดี
ครูตอ
้ งขวนขวายหาความรูอ้ ยูเ่ สมอ
เตรียมการสอนอย่างดีทุกครัง้
แนะนาแหล่งวิทยาการต่างๆ
ความรูก้ ว้างขวางยิง่ ขึน้
ทีจ่ ะช่วยส่งเสริมการศึกษาเพิม่ เติมให้นกั เรียนมี
มีความสามรถในการใช้ภาษาไทยได้ด ี
จุดมุง่ หมายสาคัญในการเรียนภาษาไทยคือ ให้ผเุ้ รียนมีความรู้ ทักษะ และเจน
คติทด่ี ี สามารถนาความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างมีประสิทิิภาพ
ครูภาษาไทยต้องเป็ นตัวอย่างทีด
่ โี ดยใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง เช่น การเขียน
พยัญชนะให้ประณีตเรียบร้อย ใช้ลลี าการเขียนให้ถูกต้องโดยเขียนหัวอักษรให้
ชัดเจน ถูกต้องทิศทางและถูกต้องตามรูปแบบของอักษร การพูดครูควรออก
เสียง ร ล และคาควบกล้าให้ชดั เจน
เมือ
่ พบว่านักเรียนเขียนผิด ก็ควรเขียนคาทีถ่ ูกต้องให้นกั เรียน
ให้คาติชมทีใ่ ห้กาลังใจแก่นก
ั เรียนเมือ่ มีขอ้ ผิดพลาด ไม่ตาหนิหรือว่ากล่าวด้วย
ถ้อยคาทีร่ ุนแรง
มีความมัน่ ใจในตนเอง กล้าแสดงออก
การฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยเพือ่ ผสมผสานความรูก้ ารแสดงออกใน
รูปแบบต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความรูส้ กึ สนุกสนาน
เช่น การฝึ กอ่านทานองเสนาะ ร้องเพลง สาิิตการทาท่าทางต่างๆ
ประกอบบทละครในวรรณคดีตามนาฏลีลา
การมีความสามารถพิเศษจะช่วยให้การเรียนการสอนภาษาไทยมี
ความหมายและมีชวี ติ ชีวามากขึน้
ส่งเสริมและสืบสานภาษาไทย
ครูภาษาไทยมีหน้าทีส่ ง่ เสริมและสืบสานภาษาไทยโดยจัดกิจกรรมต่างๆ
ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับภาษาไทย
เช่น การจัดกิจกรรมวันสุนทรภู่ (26 มิถุนายน) การจัดกิจกรรมวัน
ภาษาไทย (29 กรกฎาคม) ของทุกปี
การจัดกิจกรรม การจัดรายการวิทยุ หรือวีดท
ิ ศั น์เกีย่ วกับการเรียนการ
สอนภาษาไทย
การทาโครงงานภาษาไทย การจัดเกมภาษาไทย การจัดหาคาทีน
่ ่ารูจ้ กั มา
จัดป้ายนิเทศหน้าชัน้ เรียนเพือ่ ส่งเสริมการเขียนและการใช้คาต่าง ๆ ให้
ถูกต้อง
ส่งเสริมการใช้เลขไทย
ตัวเลขไทยเป็ นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย และเลขไทยมีลลี าทีส่ วยงาม
ฝึ กเขียนเลขไทย
๑
๖
๒
๗
๓
๘
๔
๙
๕
๐
การเขียนเลขไทยมีความยากง่ายต่างกัน ดังนัน้ หลังการสอนให้นกั เรียนรูจ้ กั เลขไทย
แล้ว ควรฝึกเขียนเลขไทยจากง่านไปยาก โดยไม่จะเป็ นต้องเรียงจาก ๑ ถึง ๑๐
ควรจัดเป็ นหมวดหมูต่ ามลีลาและทิศทางการเขียนอักษรแต่ละประเภท
คุณลักษณะด้านวิชาชีพ
คุณลักษณะทางวิชาชีพของครูภาษาไทยประกอบด้วย การสนใจใฝร่ แู้ ละ
การมีความรูค้ วามเข้าใจในหลักสูตรภาษาไทยอย่างถ่องแท้ การรูจ้ กั
ติดตามความเคลื่อนไหว และการเปลีย่ นแปลงในด้านหลักสูตร วิิสี อน
อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ มีความทันสมัยต่อเหตุการณ์ในสังคมทีม่ ี
ผลกระทบต่อการเรียนการสอนภาษาไทย
ศึกษาวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ประถมศึกษา และหลักสูตรภาษาไทย
ให้กระจ่าง เพือ่ นามาเป็ นแนวทางใน
การจัดหลักสูตรของโรงเรียน และ
จัดการเรียนการสอนให้สมั พันิ์กบั
วิชาต่างๆ
มีความเข้าใจหลักจิตวิทยาและ
ศึกษาพัฒนาการของผูเ้ รียนระดับ
ประถมศึกษาเพือ่ นามาเป็ นแนวทาง
ในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ อือ้ ต่อ
การเรียนรูข้ องผูเ้ รียน โดยพยายามจัด
กิจกรรมการเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ ตามแนวปฏิรปู การเรียนรูท้ ่ี
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดไว้
สนใจเข้าร่วมการอบรมและสัมมนา
ในด้านการพัฒนาเทคนิควิิสี อนอย่าง
สม่าเสมอ เพือ่ นาความรูม้ าใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ โดนเน้นให้ผเู้ รียนได้พฒ
ั นา
ศักยภาพตามความแตกต่างของบุคคล
พัฒนาให้ผเู้ รียนเป็ นคนดี คนเก่ง และมี
ความสุข การสอนต้องเน้นกระบวนการ
มากกว่าเนื้อหา เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้นา
ความรูไ้ ปใช้อย่างมีประสิทิิภาพ
มีความรอบรู้และขวนขวายหาแหล่ง
วิทยาการทางภาษาไทย ทัง้ ในส่วน
บุคคล สถาบัน และเอกสาร เช่น
ผูเ้ ชีย่ วชาญการสอนภาษาไทย
ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นภาษาไทยราชบัณฑิต
เพือ่ ให้ความช่วยเหลือในการเป็ นวิทยากร
หรือขอคาแนะนาต่างๆ เพือ่ นามาเป็ น
แนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน
เช่น สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาิิการ ศูนย์พฒ
ั นาหลักสูตร
ของกรมวิชาการ สานักทดสอบทาง
การศึกษาของกรมวิชาการ โครงการหมอ
ภาษาของสานักงานคณะกรรมการวัฒนิรรม
แห่งชาติ
ศรัทธาในวิชาชีพของตน ภูมใิ จที่
เป็ นครูภาษาไทย มีความรักในการ
สอน พยายามหากลวิิมี าจูงใจให้
ผูเ้ รียนสนุกในกิจกรรม เพือ่ ให้ผเู้ รียน
เกิดความสนุกสนานและเรียนได้อย่าง
เพลิดเพลินไม่เบื่อหน่าย
มีความสนใจและรอบรู้ต่อ
เหตุการณ์ ต่าง ๆ และมีการ
ประสานงานกับครูวิชาอื่น ๆ เพือ่
ช่วยให้การเรียนการสอนภาษาไทย
น่าสนใจและมีความหมายมากยิง่ ขึน้
เพราะจะทาให้สอดคล้องกับ
ชีวติ ประจาวัน ผูเ้ รียนจะเห็นความ
เชื่อมโยงกับเนื้อหาต่างๆ ถ้าครู
ภาษาไทยได้จดั เนื้อหาภาษาไทยทีม่ ี
ลักษณะบูรณาการ
จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมและ
สื่อการเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ภาษาไทยของผูเ้ รียน มีความสนใจ
ในการศึกษาวิจยั เพือ่ นาผลการ
ทดลองใช้วิิ สี อน รูปแบบต่างๆ มา
เป็ นแนวทางในการปรับปรุงและ
พัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ มาทา
วิจยั ในชัน้ เรียนเพือ่ เผยแพร่ต่อไป
มีความสามารถในการสร้างสรรค์
ผลงานทางวิชาการด้านภาษาไทย
โดยการจัดทาแบบฝึกหัดทางภาษาไทย
หนังสืออ่านเสริมประสบการณ์ หรือ
พัฒนาตาราหรือคูม่ อื การสอน
ภาษาไทย โดยรวบรวมจากงานประจา
ทีส่ อนอยู่ จดบันทึกผลทีไ่ ด้จากการ
ลองใช้กบั ผูเ้ รียนและปรับปรุงแก้ไข
ขยายผลสูเ่ ครือข่าย
คุณลักษณะด้านการสอนภาษาไทย
เตรียมการสอนทุกครัง้ เพือ่ ช่วยให้
ผูส้ อนมีความันใจในตนเองและท
่
าให้
ผูเ้ รียนมีความศรัทิาต่อผูส้ อนทีม่ ี
กิจกรรมทีห่ ลากหลาย การเตรียมการ
สอนจะส่งผลให้การดาเนินการเรียน
การสอนเป็ นไปอย่างราบรืน่ ทุก
ขัน้ ตอน ผูส้ อนสามารถจัดหาสื่อและ
วิิกี ารสอนให้สอดคล้องกับเนื้อหา
เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้ฝึกปฏิบตั แิ ละ
มีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ
ครูทม่ี กี ารเตรียมการสอนล่วงหน้าจัดได้
ว่าเป็ นผูท้ ม่ี คี ุณลักษณะทีด่ แี ละ
ได้เปรียบผูท้ ไ่ี ม่เตรียมการสอน การ
เตรียมการสอนล่วงหน้าจึงเปรียบได้กบั
การทางานทีส่ าเร็จไปแล้วครึง่ หนึ่ง
เปรียบกับนักวิง่ ทีม่ องเป็ นลู่ทางๆไปสู่
เส้นชัยโดยง่าย
ใช้วิธีการสอนที่จงู ใจ ท้าทาย
ความคิดของผูเ้ รียน ครูควรเปิ ด
โอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรม
ให้นกั เรียนฝึกสังเกต คิดวิเคราะห์และ
หาข้อสรุปด้วยตนเอง
ดังตัวอย่าง การเรียนเรือ่ ง “สระโอ”
ครูให้นกั เรียนเล่นเกม “โอ –โฮะ-โอ”
โดยหาคาทีม่ เี สียงสระโอมาเติมใน
ช่องว่าง
โอ โอะ โอ โฮะ โอ โฮะ โอ (ซ้า ๒ เทีย่ ว)
ไม้เอกไม่ใช้จะใช้ไม้โท (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
เล็ก ๆ ไม่เอาจะเอาโตๆ (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
รถเบนซ์ไม่นงั ่ จะนัง......
่
(สร้อย ๒ เทีย่ ว)
หัวแตกไม่เอา เอาแค่ ...... (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
โอวัลตินไม่ดม่ื จะดืม่ ........ (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
กุหลาบไม่ปลูก จะปลูก..... (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
บะหมีไ่ ม่เอาจะเอา........ (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
ไข่เจียวไม่เอาจะเอา ....... (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
หนึ่งอันไม่พอ จะขอ ....... (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
มะม่วงไม่กนิ จะกิน ......... (สร้อย ๒ เทีย่ ว)
ขวนขวาย เลือกสรรสื่อนามาใช้
ประกอบการสอน การใช้สอ่ื
ประกอบการสอนส่งผลให้การเรียนการ
สอนเป็ นรูปิรรมมากขึน้ ทาให้ผเู้ รียน
เกิดความเข้าใจได้ดขี น้ึ สือ่ ทีใ่ ช้สอนใน
ระดับประถมศึกษา อาจใช้ของจริง สือ่
สาเร็จรูป หรือสือ่ ทีค่ รูสร้างขึน้ เองจาก
เศษวัสดุ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น VCD
คอมพิวเตอร์ เกม เพลง นิทาน ฯลฯ
การเลือกสือ่ มาใช้ประกอบการเรียนการ
สอนเป็ นหน้าทีข่ องครูทจ่ี ะใช้
วิจารณญาณพิจารณาความเหมาะสมว่า
จะสอนอะไร และจะใช้สอ่ื ประเภทไหน
อย่างไรจึงจะสอดคล้องและเหมาะสมกับ
การพัฒนาผูเ้ รียน
การพิจารณาเลือกสือ่ การสอน ครูควรใช้
ความรอบคอบและพึงระลึกอยูเ่ สมอ ว่า
ต้องใช้สอ่ื นัน้ อย่างคุม้ ค่า ช่วย
ประหยัดเวลาในการอิิบายของครู ช่วยให้
ผูเ้ รียนรับรูไ้ ด้รวดเร็ว และช่วยพัฒนา
ความคิดแก่ผเู้ รียน นอกจากนี้ตอ้ งคานึงถึง
ความชัดเจนของสือ่ ทีจ่ ะใช้ ต้องสร้างให้
ผูเ้ รียนมองเห็นอย่างชัดเจน มีสสี นั ทีจ่ งู ใจ
เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน
จัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่
บูรณาการกับศาสตร์ต่างๆ การสอน
ภาษาไทยทีด่ ตี อ้ งบูรณาการกับวิชา
ต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความสัมพันิ์
ต่อเนื่องกันในการเรียนรูอ้ ย่างมี
ความหมาย ไม่ควรจากัดการสอน
เฉพาะในห้องเรียน ควรนานักเรียน
ออกจากห้องเรียนมาสัมผัสกับ
ิรรมชาติภายนอก โดนอาจมีการจด
บันทึกเหตุการณ์ ในการเดินทาง การ
เลือกสถานทีใ่ นการแต่งบทร้อยกรอง
ออกไปสัมภาษณ์พอ่ ค้า แม่คา้ เพื่อ
เรียนรูว้ ิิ กี ารตัง้ คาถามการสัมภาษณ์
การวาดภาพประกอบบทร้อยกรอง ให้
ผูเ้ รียนฟงั เพลงต่างๆ แล้วหาคา
ประเภทต่างๆ จากเพลง การศึกษา
วงจรเจริญเติบโตของแมลงแล้วจด
บันทึกผล ฯลฯ
วิิกี ารต่างๆ เหล่านี้ครูภาษาไทยจะ
บูรณาการกับวิชาต่างๆ เช่น
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา
พลศึกษา ศิลปศึกษา ดนตรี ฯลฯ
จัดบรรยากาศในห้องเรียนเอือ้ ต่อการเรียนรู้
ผูส้ อนต้องมีการจูงใจและเร้าใจให้
ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้อย่าง
สนุกสนานเพลิดเพลิน ด้วยการจัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนให้เอือ้ ต่อการเรียนรู้ ซึง่
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนมีสว่ นสาคัญทีเ่ อื้อต่อการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียน
เช่น การสอนเรือ่ ง อักษรนา ( ห นา )
บรรยากาศในชัน้ เรียนควรกลมกลืนกับ
เรือ่ งทีเ่ รียนโดยครูอาจจัดป้ายนิเทศให้
มีความรูค้ วามเข้าใจหลักเกณฑ์การใช้
ห นา โดยมีแถบประโยค บัตรคา บัตร
ภาพ ประกอบคาอิิบาย นอกจากนี้
อาจจัดมุมประสบการณ์ จัดวางของจริง
ภาพ หรือของจาลอง ซึง่ เป็ นอักษรนา
ประเภท ห นา ให้ผเู้ รียได้เล่นเกม จ่าย
ตลาด โดยฝึกจาแนกสิง่ ของต่างๆ ทีค่ รู
จัดเตรียมไว้เป็ นหมวดหมูท่ ใ่ี ช้ ห นา
หมวดของใช้
หมอน
หมวก
หม้อ
หนังสือ
หวี
นกหวีด
หมึก
หลอด
หมวดสัตว์
หมี
หนอน
หนู
จิง้ หรีด
นกดุเหว่า
หมวดพืช
หนาม
หวาย
หน่อไม้
กุหลาบ
พริกหยวก
หมวดพืช
หนวด
ผิวหนัง
หลัง
หน้าผาก
ไหล่
หลอดลม
มีการวัดและประเมินผลอย่างเที่ยง
ธรรม การเรียนการสอนต้องมีการ
ประเมินผลตลอดเวลา เพือ่ ให้ได้แนวทาง
มาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้
เหมาะสมกับการพัฒนาตามศักยภาพ
ของผูเ้ รียนในการประเมินผลจะทาให้ครู
ได้รปู แบบต่างๆทีน่ อกเหนือจากการ
ทดสอบด้วยข้อสอบ ครูอาจใช้การสังเกต
การร่วมกิจกรรมในชัน้ เรียน หรือสังเกต
การใช้ภาษาไทยของผูเ้ รียนในโอกาส
และสถานทีอ่ ่นื ๆ ดูผลจากการทา
แบบฝึกหัด ดูผลจากการซักถามขณะ
สอน หรือการทาการบ้าน
จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมภาษาไทย
ครูตอ้ งให้ความช่วยเหลือแก่ผเู้ รียนที่
ประสบปญั หาในการเรียนภาษาไทย การ
สอนซ่อมเสริมมีจุดประสงค์เพือ่ เสริม
ความรูค้ วามเข้าใจให้ผเู้ รียนทีม่ ี
ข้อบกพร่องในการเรียนภาษาไทย ครูตอ้ ง
หมันสั
่ งเกต และประเมินผูเ้ รียนอย่าง
สม่าเสมอเพือ่ จะได้ทราบข้อบกพร่องของ
ผูเ้ รียนว่ามีจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องด้านใด
จากนัน้ ก็สอนซ่อมเสริมโดยจัดเวลาในการ
ซ่อมเสริมตามดุลพินิจของครู
จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรภาษาไทย
ครูตอ้ งจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้แก่
ผูเ้ รียนเพือ่ เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้นา
ความรูค้ วามเข้าใจในเนื้อหาวิชาทีไ่ ด้
เรียนไปแล้วมาใช้ให้เกิดทักษะ สามารถ
ทาได้หลายรูปแบบ เช่น โครงงาน
ภาษาไทย จัดนิทรรศการเอกลักษณ์ไทย
จัดนิทรรศการวันสุนทรภู่ จัดการแข่งขัน
โต้วาที ประกวดการแต่งร้อยกรอง
ประกวดการอ่านออกเสียง การนา
นักเรียนไปร่วมกิจกรรมการแข่งขัน
ภาษาไทยนอกโรงเรียนตามทีห่ น่วยงาน
ทัง้ ภาครัฐและเอกชนจัดขึน้
พัฒนางานวิจยั ในชัน้ เรียน ตามพรบ.
๒๕๔๒ ให้ความสาคัญแก่การวิจยั ในชัน้
เรียน โดยกาหนดให้ผสู้ อนสามารถใช้การ
วิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกับ
ผูเ้ รียน ครูภาษาไทยต้องสนใจ ใฝร่ ทู้ าการ
วิจยั ควบคูไ่ ปกับการเรียนการสอน การ
วิจยั สามารถทาได้โดยมีขนั ้ ตอนง่าย ๆ คือ
จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง
แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์ แปลผล และนา
ผลการวิจยั มาแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึน้
การวิจยั ในชัน้ เรียนทาให้เกิดความรูแ้ ละ
นวัตกรรมใหม่ๆ ซึง่ ครูสามารถนาไปใช้ใน
การเรียนการสอนสามารถนาไปใช้เป็ น
ส่วนหนึ่งของการของเลือ่ นตาแหน่งให้ม ี
ระดับสูงขึน้
สร้างสานึกของการใช้ภาษาไทยให้ถกู ต้อง
หน้าทีส่ าคัญของครูภาษาไทยอีก
ประการหนึ่งคือ การสอดแทรก
เสริมสร้างสานึกของการใช้ภาษาไทย
ให้ถูกต้องแก่ผเู้ รียน โดยเป็ น
แบบอย่างทีด่ ใี นการใช้ภาษาไทย ครู
ต้องสร้างความสานึกให้ผเู้ รียนมีความ
ภาคภูมใิ จทีม่ ภี าษาไทยเป็ นภาษา
ประจาชาติ แสดงถึงความเป็ นเอกราช
ของชาติและคนไทย
พยายามรวบรวมตัวอย่างการใช้
ภาษาไทยผิดพลาดในประเด็นต่างๆ
มาให้ผเู้ รียนพิจารณาวิเคราะห์ถงึ ข้อดี
ข้อเสียทีเ่ กิดขึน้ ตลอดจนหาแนวทาง
ปรับปรุงแก้ไข เช่น ผลเสียของการพูด
ออกเสียงคาไม่ชดั เจน เขียนผิดพลาด
โดยใช้วรรณยุกต์ผดิ วางวรรณยุกต์และ
สระผิดตาแหน่ง ฯลฯ ทาให้ความหมาย
ของคาคลาดเคลื่อนไป