PPT ทิศทางการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557

Download Report

Transcript PPT ทิศทางการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557

ทิศทางการดาเนิ นงาน ปี การศึกษา ๒๕๕๗
ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑
๑. หลักการทางาน( ๗ ต้อง)
๑.๑ เป้ าหมาย ต้องชัดเจน
๑.๒ จุดเน้น ต้องกระจ่าง
๑.๓ แนวทาง ต้องเชื่อมโยง
๑.๔ ลงมือปฏิบตั ิ ต้องมุ่งมัน่ ทุ่มเท จริงจัง
๑.๕ รวมพลัง ต้องบูรณาการ
๑.๖ ประสาน กากับ ติดตาม ต้องมีประสิทธิภาพ
๑.๗ ศิโรราบคุณภาพนักเรียน ต้องสาคัญที่สุดและเป็ นคาตอบ
สุดท้าย
๒. แนวทางการพัฒนา
“ปี การศึกษา ๒๕๕๗ เป็ นปี แห่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพือ่ สร้างและ
เตรียมอนาคตผูเ้ รียน” (ครูคุณภาพ ชัว่ โมงคุณภาพ นักเรียนคุณภาพ)
๓. สูตรลับแห่งความสาเร็จ “๒๕๕๗”
“๒ ความท้าทาย
๕ จุดเน้นการบริหาร
๕ จุดเน้นครู
๗ จุดเน้นนักเรียน
๑๙ กลยุทธ์ปฏิบตั ”ิ
๓.๑ “๒ ความท้าทาย”
๑) ผลการประเมิน ARS KRS กลยุทธ์และมาตรฐานสานักงาน
เขตพื้นทีก่ ารศึกษา ทุกรายการ ต้องเป็ น ๑ ใน ๑๐ อันดับต้นของ สพฐ.
๒) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์
O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๖ และชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี ๓
NT ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๓ ต้องมีค่าเฉลีย่ สูงกว่าค่าเฉลีย่ สพฐ.
ร้อยละ ๓ การอ่าน
มีความสามารถในการอ่าน ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๓ และ ๖
ระดับ B ขึ้นไป
๓.๒ “๕ จุดเน้นการบริหาร”
๑) ทางาน ทางาน ทางาน
ก. ทางานให้รวดเร็ว ถูกต้องและประทับใจผูร้ บั บริการ
ข. ทางานให้มมี าตรฐานและประสิทธิภาพ
ค. ทางานเกินกว่าหน้าทีแ่ ละสร้างชื่อเสียงให้องค์กร
๒) วิเคราะห์ให้เห็นสภาพปัญหาและจัดกลุม่ บริหารจัดการให้สอดคล้อง โดยให้
อิสระบุคคล โรงเรียน สาหรับโรงเรียนทีบ่ รรลุเป้ าหมาย (ลดระบบเสื้อโหล)
๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดครูคุณภาพ ชัว่ โมงคุณภาพ ด้วยกระบวนการที่
หลากหลาย ชัดเจนและยกย่องเชิดชูเกียรติผูบ้ ริหารและครูทม่ี ผี ลงานยอดเยี่ยม
๔) ส่งเสริม วางมาตรการ และสร้างมาตรฐานการนิเทศภายในและการนิเทศ
ภายนอก ให้เป็ นกระบวนการทีส่ นับสนุน ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน “ชัว่ โมงคุณภาพ”
๕) สร้างเครือข่ายและระดมทรัพยากร เพือ่ ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิด “นักเรียน
คุณภาพ” มีคุณธรรม และสมรรถนะทีส่ าคัญตามหลักสูตร พร้อมก้าวสู่การเป็ นประชาคม
(ASEAN Community) ในปี ๒๕๕๘
๓.๓ “๕ จุดเน้นครู”
๑) ครูประจาชัน้ จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรียนการสอน
เช่น บรรยากาศห้องเรียน สือ่ อุปกรณ์การเรียน โดยครูทส่ี อนเวียนแต่ละกลุ่มสาระร่วม
รับผิดชอบและสนับสนุน ตามมาตรฐานทีก่ าหนด
๒) ครูเตรียมการสอน เช่น วิเคราะห์นกั เรียนเป็ นรายบุคคล มีแผนการจัดการ
เรียนรู ้ แผนการจัดประสบการณ์ กาหนดการสอน ตามมาตรฐานทีก่ าหนด
๓) ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู ้ แผนการจัด
ประสบการณ์ กาหนดการสอน ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย จนนักเรียนเกิดการเรียนรูบ้ รรลุ
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วดั
๔) ครูวดั ประเมินผล และบันทึกผลหลังสอนทีส่ ะท้อนผลการเรียนรูส้ ภาพจริง
๕) ครูปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องจากการวัด
ประเมินผล นักเรียน และต้องสอนซ่อมเสริมอย่างเป็ นระบบ มีกระบวนการวิจยั ในชัน้ เรียนมา
ประกอบในกรณีทม่ี ปี ญั หาซา้ ซ้อน
๓.๔ “๗ จุดเน้นนักเรียน”
๑) นักเรียนมีค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิม่ ขึ้นทุกกลุม่ สาระการ
เรียนรูแ้ ละทุกชัน้ และมีค่าเฉลีย่ ร้อยละผลการทดสอบ O-NET NT ไม่ตา่ กว่า
ระดับประเทศ ไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๕๐
๒) นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ข้อ + ๑ ข้อ
(ความกตัญญู) ไม่ตา่ กว่าระดับดีข้นึ ไปทุกคน ด้วยกระบวนการและวิธกี ารทีไ่ ด้
มาตรฐาน
๓) นักเรียนมีผลประเมินสมรรถนะทีส่ าคัญ ๕ ด้านไม่ตา่ กว่าระดับดี ด้วย
กระบวนการและวิธกี าร ทีไ่ ด้มาตรฐาน
๔) นักเรียนมีทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารได้ มีนกั เรียนนาร่อง
การใช้ภาษาจีนและภาอาเซียนได้
๕) นักเรียนมีนิสยั รักการอ่าน อ่านรูเ้ รื่องและสือ่ สารได้เหมาะสม
ตามระดับชัน้ ทุกคนมีและบันทึก การอ่านอย่างต่อเนื่อง พร้อมท่อง
อาขยานบทหลักได้ทกุ คนตามระดับชัน้
๖) นักเรียนมีความสามารถในการคิดในรูปแบบต่างๆ ได้สอดคล ้อง
เหมาะสมกับสถานการณ์และใช้โครงงานเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู ้
๗) นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมตามกลุม่ สนใจ ตามความถนัด
และชมรมเพือ่ การเรียนรู ้ ฝึ กทักษะและสร้างประสบการณ์ ในการเข้าร่วม
แข่งขันและคัดเลือกงานศิลปหัตถกรรมตามศักยภาพ
๓.๕ “๑๙ กลยุทธ์การปฏิบตั ิ”
๑) กลยุทธ์การยกระดับการสอบ NT O-NET และ PISA ปี การศึกษา
๒๕๕๗ โดยใช้ “อัฏฐวิธี พิชิต NT O-NET PISA”
๒) กลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์การอ่าน-การเขียน ๗ กระบวนท่า
พัฒนาอ่านเขียน
๓) กลยุทธ์สง่ เสริมและพัฒนากระบวนการคิด โดยใช้การวิจยั เป็ นฐาน
“KR-PLAN”
๔) กลยุทธ์สร้างและเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
๕) กลยุทธ์การบริหารแบบ “Good Outcome, Control Free”
๖) กลยุทธ์สง่ เสริมการนิ เทศภายในและภายนอก
๗) กลยุทธ์การสร้างและพัฒนาเครือข่ายที่ยดึ หลัก ๕ ร.
๘) กลยุทธ์พฒั นาทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน
(English and ASEAN Language Development)
๙) กลยุทธ์เสริมสร้างสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร
(๕A Model)
๑๐) กลยุทธ์ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิ ยมการวัดผลแบบปรนัยสู่
อัตนัยอย่างน้อยร้อยละ ๓๐ รูปแบบ “ปัญจ อัตวิสยั ”
๑๑) กลยุทธ์พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาสูศ่ ตวรรษที่ ๒๑
๑๒) กลยุทธ์สง่ เสริม จิตดี ทีมดี ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ
“ประสานร่วมมือ ซื่อสัตย์โปร่งใส ร่วมมือร่วมใจ ยิ่งใหญ่ผลงาน ให้การเชิดชู”
๑๓) กลยุทธ์สร้างและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน
๑๔) กลยุทธ์พฒั นาและประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนโดยใช้
“๕ ป ”
๑๕) กลยุทธ์พฒั นาและส่งเสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๑๖) กลยุทธ์ “๗ ต. สูช่ ยั ชนะ งานศิลปหัตถกรรม”
๑๗) กลยุทธ์สง่ เสริมวิถปี ระชาธิปไตยในโรงเรียน
๑๘) กลยุทธ์สร้างความเข้มแข็งและเตรียมพร้อม (Strengthen
ASEAN Center for good preparation)
๑๙) กลยุทธ์สง่ เสริมเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยงั ่ ยืน
๑. กลยุทธ์ยกระดับผลสัมฤทธิ์พชิ ิต O-NET และ NT
รูปแบบ “อัฏฐวิธี พิชิต NT O-NET PISA”
กิจกรรม
1.Kick off เข้าสูร่ ะบบ
NT O-NET PISA
2.รบอย่างมีเป้ าหมาย
บทบาท สพป.สบ.1
บทบาทสถานศึกษา
-ประชุมชี้แจง ประกาศ Kick off -วิเคราะห์ SWOT การยกระดับ NT
นับถอยหลัง
O-NET PISA
-วางแผนกาหนดรูปแบบการพัฒนา
-ประกาศ Kick off นับถอยหลัง
กาหนดเป้ าหมายความสาเร็จ
-กาหนดเป้ าหมายระดับสถานศึกษา
- ค่าเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 50
-กาหนดกิจกรรมเพื่อยกระดับให้
ทุกกลุม่ สาระ
สูงขึ้น
- ค่าเฉลี่ยสูงกว่า สพฐ.
และประเทศ
กิจกรรม
บทบาท สพป.สบ.1
3. ขยายและระดมสรรพ -สนับสนุ นวิทยากร สือ่ ICT
กาลัง
งบประมาณ
บทบาทสถานศึกษา
-สถานศึกษาร่วมมือกับชุมชน
ผูป้ กครองวางแผนร่วมกัน
-ระดมทรัพย์และนักวิชาการ
ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
4. วางเส้นทางPre-test/ -กาหนดวัน Pre/Post test พร้อม -เตรียมความพร้อมนักเรียน
กันทัง้ เขตพื้นที่การศึกษา
-วิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็ง
Post-test
-แต่งตัง้ คณะทางานจัดทาคลัง -ดาเนิ นการ Pre/Post test
ข้อสอบ
O-NET , NT และ PISA
นิ เทศแบบศึกษาชัน้ เรียน
5.นิ เทศแบบถึงลูกถึงคน -นิ เทศระดับห้องเรียนโดย
(Lesson Study &
รอง ผอ.สพป./ศึกษานิ เทศก์/
โดย ผอ.ร.ร
ครูวิชาการ/ครูประจาชัน้
Open Approach)
กิจกรรม
6. ค้นหาจุดอ่อน
ด้วยการกากับติดตาม
7. สร้างชื่อลือนาม
ต้องมีแรงจูงใจ
8. ไขข้อข้องใจ
อย่างเป็ นระบบ
บทบาท สพป.สบ.1
-วิเคราะห์ผลการPre/Post test
ระดับเขตพื้นที่
-กาหนดวิธีการ/รูปแบบการ
พัฒนา/
-ส่งเสริม สนับสนุ นระดับเขตพื้นที่
-ปรับปรุงเกณฑ์/วิธีการสร้าง
แรงจูงใจ
บทบาทสถานศึกษา
-วิเคราะห์ผลการ Pre/Post test
ระดับโรงเรียน
-กาหนดวิธีการ/รูปแบบการพัฒนา/
-ส่งเสริมสนับสนุ นครู/นักเรียน
-กาหนดเกณฑ์/วิธีการสร้างแรงจูงใจ
ให้นักเรียนที่มีผลการทดสอบในระดับ
ต่างๆ
-สรุปสภาพปัญหาการดาเนิ นงาน สรุปสภาพปัญหาการดาเนิ นงาน
-ถอดประสบการณ์การยกระดับ -ถอดประสบการณ์
-ให้ขอ้ เสนอแนะ
-สะท้อนผลการดาเนิ นงาน
-ให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อพัฒนา
๒. กลยุทธ์ยกระดับเพือ่ การส่งเสริมการรักการอ่าน
สือ่ สารได้เหมาะสม รูปแบบ ๗ กระบวนท่า พัฒนาอ่านเขียน
1. เป้ าหมายชัดเจนตรงกัน
1) นักเรียนทุกชัน้ (ป.1-6) สามารถอ่าน เขียน คาในบัญชีคาพื้นฐานได้
2) นักเรียนทุกชัน้ (ป.1-6) ต้องไม่มนี กั เรียนอ่านไม่ออก โดยเฉพาะในชัน้
ประถมศึกษาปี ท่ี 3 และชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ปลอดการอ่านไม่ออก
นักเรียนทุกชัน้ มีนิสยั รักการอ่านและทุกคนอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่านทีม่ คี วาม
เหมาะสมกับระดับชัน้ เรียน ดังนี้
- ป.1-3 อ่านไม่นอ้ ยกว่า 5 เล่ม : ปี การศึกษา
- ป.4-6 อ่านไม่นอ้ ยกว่า 8 เล่ม : ปี การศึกษา
- ม.1-3 อ่านไม่นอ้ ยกว่า 12 เล่ม : ปี การศึกษา
4) นักเรียนทุกคนได้รบั การพัฒนาทักษะการเขียน สามารถทาข้อทดสอบ
แบบตอบสัน้ และแบบตอบยาวได้ อย่างเหมาะสมกับระดับชัน้
5) นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 แล 6 ทุกคน มีผลการทดสอบวัด
ความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับพอใช้ (B) ขึ้นไป
6) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษา
ปี ท่ี 6 และชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 O-NET ในกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
มีค่าคะแนนเฉลีย่ ร้อยละสูงกว่าค่าเฉลีย่ สพฐ.
7) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา
ปี ท่ี 3 (NT) ในด้านความสามารถทางภาษาไทย มีค่าคะแนนเฉลีย่ สูงกว่าค่าเฉลีย่
สพฐ.
2. กระบวนการเชื่อมต่อผูกรัด
ที่
กิจกรรม
ผูป้ ฏิบตั ิ
1 -ประชุมชี้แจงนโยบายแนวดาเนิ นการ -สพป.สบ.1 จัดประชุมผูบ้ หิ าร
-มอบสือ่ /เอกสารมาตรการและ
สถานศึกษาในสังกัดทราบแนว
แบบบันทึกการอ่านคาพื้นฐาน ป.1-6 ดาเนิ นการ กลยุทธ์ เพื่อพัฒนา
-ระดับโรงเรียนชี้แจงให้คณะครู
ทราบ
2 ทดสอบนักเรียนชัน้ ป.2-6 เพื่อคัด -สพป.สบ.1 ส่งเครื่องมือทดสอบ
กรองนักเรียน จัดนักเรียนตามระดับ ไปให้โรงเรียน
ความสามารถ ได้ขอ้ มูลสารสนเทศให้ -โรงเรียนมอบให้ครูดาเนิ นการ
สพป.สบ.1 เพื่อจัดระบบข้อมูล
และวิเคราะห์ขอ้ มูล จัดทาข้อมูล
สารสนเทศ
สารสนเทศ ส่ง สพป.สบ.1
ระยะเวลา
พฤษภาคม –
มิถนุ ายน 2557
ส่งข้อมูลให้ สพป.
สบ.1ภายในวันที่ 10
มิถนุ ายน 2557
ที่
กิจกรรม
ผูป้ ฏิบตั ิ
ระยะเวลา
3 -จัดกิจกรรมแข่งขันทักษะความสามารถ สพป.สบ.1 แจ้งแนวดาเนิ นการ การแข่งขันระดับ สพป.
นักเรียนด้านภาษาไทย เพื่อคัดเลือก กิจกรรม การแข่งขันระดับ สพป.ให้ ระหว่างวันที่ 28-30
ผลงาน, ส่งตัวแทนเข้าร่วมแข่งขัน
กลุม่ โรงเรียน, โรงเรียนทราบและ มิถนุ ายน 2557
กิจกรรมในวันภาษาไทยแห่งชาติ
-กลุม่ โรงเรียนดาเนิ นการแข่งขัน
ปี 2558 และเป็ นตัวแทนการแข่งขัน คัดเลือกนักเรียนและส่งรายชื่อ
ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนปี 2557 ตัวแทนกลุม่ โรงเรียนให้ สพป.สบ.1
ระดับภาค
-โรงเรียน นานักเรียนที่มี
ความสามารถด้านภาษาไทยเข้าร่วม
-เปิ ดเวทีคนเก่ง
คัดเลือก แข่งขันในระดับกลุ่ม
โรงเรียน, ระดับเขตพื้นที่
สพป.สบ.1 พัฒนาครูผูส้ อน
4 พัฒนาครูผูส้ อนภาษาไทย
มิถนุ ายน – กรกฎาคม
กลุม่ เป้ าหมายโรงเรียนคะแนน 2557
เฉลี่ยร้อยละภาษาไทยตา่ กว่า
ค่าเฉลี่ย สพป.สบ.1
ที่
กิจกรรม
5 ท้าชนอ่านเขียน
X-ray ครัง้ ที่ 1
6 นิ เทศ ติดตาม
อย่างสมา่ เสมอ
ต่อเนื่ อง
7 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
วิธีปฏิบตั ทิ ่ดี ี
ผูป้ ฏิบตั ิ
ทดสอบความสามารถการอ่านการ
เขียน นักเรียนทุกชัน้ โดยในชัน้
ป.3 ป.6 มีคณะกรรมการระดับเขต
ดาเนิ นการ
-รอง ผอ.สพป., ศน. นิ เทศติดตาม
โรงเรียนที่รบั ผิดชอบและรายงาน
ผลให้ ผอ.สพป.ทราบ
-ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครู นิ เทศ
ติดตามห้องเรียน ชัน้ เรียน
สพป. จัดเวที นาเสนอผลงานครู /
โรงเรียนที่พฒั นาการอ่าน/เขียน
ได้ผล
ระยะเวลา
สิงหาคม 2557
มิถนุ ายน 2557กุมภาพันธ์ 2558
กันยายน 2557
ที่
กิจกรรม
8 ทดสอบความสามารถการอ่านรู ้
เรื่องและสือ่ สารได้ นักเรียนชัน้
ป.3 ป.6 ครัง้ ที่ 1
ตามนโยบาย ของ สพฐ.
ผูป้ ฏิบตั ิ
ระยะเวลา
-รับเครื่องมือจาก สพฐ.
กันยายน 2557
-สพป.สบ.1 แต่งตัง้ กรรมการ
ระดับ สพป. ทดสอบการอ่าน
นักเรียน ชัน้ ป.3 และ ป.6
ทุกคน
-รายงานผลให้ สพฐ. และ
แจ้งให้โรงเรียนทราบ
9 X-ray นักเรียนทุกชัน้ ครัง้ ที่ 2 สร้างเครื่องมือประเมินทุกชัน้ มกราคม 2558
และแต่งตัง้ คณะกรรมการ
เน้น ป.3 และ ป.6
ปลอดการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ประเมินในชัน้ ป.3 และ ป.6
ในชัน้ อืน่ ๆ ให้โรงเรียน
ดาเนิ นการ
กิจกรรม
ผูป้ ฏิบตั ิ
10 ทดสอบความสามารถการอ่านรูเ้ รื่อง -รับเครื่องมือจาก สพฐ.
และสือ่ สารได้ นักเรียนชัน้ ป.3 ป.6 -สพป.สบ.1 แต่งตัง้ กรรมการ
ครัง้ ที่ 2 ตามนโยบาย ของ สพฐ. ระดับ สพป. ทดสอบการอ่าน
นักเรียนชัน้ ป.3 และ ป.6
ทุกคน
-รายงานผลให้ สพฐ. และ
แจ้งให้ทกุ โรงเรียนทราบ
11 ประเมินผลสัมฤทธิ์ O-NET
เครื่องมือทดสอบจาก สพฐ.
นักเรียน ชัน้ ป.6 และ ม.3
และ NT ป.3
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
-สพป.มอบรางวัล/เกียรติบตั รให้
12 ชื่นชม ให้รางวัล
โรงเรียน นักเรียนที่มีความ
สามารถตามเป้ าหมายที่วางไว้
ระยะเวลา
มีนาคม 2558
กุมภาพันธ์ –
มีนาคม 2558
เมษายน –
พฤษภาคม 2558
3. จัดและระดมสรรพกาลังช่วยนักเรียนอ่านไม่ออก
1) มีข ้อมูลสารสนเทศ นักเรียนทุกคน รายบุคคล รายโรงเรียน
2) จัดครูพเิ ศษ อาสา ช่วยแก้ปญั หา พัฒนานักเรียนรายบุคคล
รายโรงเรียน (ครูพเิ ศษ เช่น ครูชนั้ อืน่ ๆ ครูต่างโรงเรียน ครูผูป้ กครอง ครู
ผูน้ าชุมชน ครูพน่ี กั เรียน ครูพอ่ี าสา ฯลฯ
3) จัดหา จัดทา สือ่ / นวัตกรรม เอกสาร พัฒนาการเรียนการสอน
ภาษาไทยทัง้ จาก สพป.สบ.1 ดาเนินการและทางโรงเรียนจัดทา จัดหา
ช่วยเหลือ สนับสนุนห้องเรียน ชัน้ เรียน
4) จัดงบประมาณสนับสนุนเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย
5) จัดโครงการพัฒนานักเรียน เข้าค่ายอย่างเข้มข ้น พัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง ตามติดพิชติ อ่านไม่ออกของนักเรียน ฯลฯ
4. ลอก Best Practice มาประยุกต์ใช้ (เหลือบมองของเพือ่ นบ้าน
เขตอืน่ ที่ประสบผลสาเร็จ) เพือ่
1) นามาศึกษา ถอดบทเรียน วิธกี าร กิจกรรมทีเ่ กิดผลสาเร็จ
มีประสิทธิภาพ เกิดผลปฏิบตั ไิ ด้จริง
2) นามาประยุกต์ใช้ ซึง่ อาจมีหลายรูปแบบ วิธกี ารแตกต่างกันไป
ตามบริบท สภาพปัญหาแต่ละโรงเรียน
3) นามาใช้ให้เกิดผลกับโรงเรียน นักเรียนกลุม่ เป้ าหมาย
(ไม่ตดั เสื้อโหล ตัดเสื้อตามรูปร่าง)
5. ให้การสนับสนุ นเพือ่ บรรลุเป้ าหมาย
1) จัดหาสือ่ สนับสนุน
2) จัดเวทีคนเก่ง
2.1) การแข่งขันความสามารถนักเรียนด้านภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ
ปี พ.ศ. 2557
2.2) การแข่งขันความสามารถนักเรียนด้านภาษาไทย เพือ่ คัดเลือกตัวแทนนักเรียน
เข้าแข่งขันในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครัง้ ที่ 64 ระดับภาค
2.3) การจัดกิจกรรมแข่งขันพัฒนาความสามารถด้านภาษาไทยวันสาคัญของชาติไทย
เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันปิ ยะมหาราช ฯลฯ ในกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาไทย
- การคัดลายมือ
- การเขียนเรียงความ
- การแต่งกลอนสุภาพ
- การประกวดการพูด
ฯลฯ
6. ขยายคัดกรองของดี
นาเสนอเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ วิธกี ารสอน, สือ่ /เอกสารของครู/
โรงเรียน ทีม่ นี วัตกรรมสอนอ่าน เขียน ได้ผล โดยจัดทาเป็ นเอกสาร
จัดเผยแพร่ทาง website ทางสือ่ หนังสือพิมพ์ การจัดทา VDO เพือ่
เผยแพร่ ฯลฯ
7. มีกาลังใจด้วยรางวัล
ชื่นชม ยกย่อง นักเรียน ครู โรงเรียนทีป่ ระสบผลสาเร็จในการอ่าน
/ เขียน เป็ นไปตามเป้ าหมาย ที่ สพป.กาหนดไว้
๙. กลยุทธ์เสริมสร้างสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร
รูปแบบ “5A Model”
เป้ าหมาย : ครูผูส้ อนมีสมรรถนะและทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษ
นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารและ
ใช้เป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรู ้
ขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน
1. สร้างความตระหนัก
(Awareness)
พค – มิ.ย.2557
2. พัฒนาความก้าวหน้า
และสมรรถนะครู
(Advance)
มิ.ย – ก.ค. 2557
กิจกรรมการดาเนิ นงาน
1. ประชุมเตรียมความพร้อมผูบ้ ริหาร ครูให้มีความรูค้ วามเข้าใจในการ
จัดการเรียนรูต้ ามความพร้อมและบริบทของตนเอง
2. เผยแพร่และให้ความรูเ้ กี่ยวกับแนวทางในการขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบตั ิ
ในสถานศึกษา
1. พัฒนาครูดา้ นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้สอดคล้องกับวิธีการ
เรียนรูท้ ่เี น้นการสือ่ สาร (Communicative Language Teaching :
CLT) และเป็ นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR
2. สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู ้
3. ประเมินความสามารถของครูโดยใช้แบบทดสอบแบบ CEFR
4. ส่งเสริมให้ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาความสามารถทาง
ภาษา
ขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน
กิจกรรมการดาเนิ นงาน
3. จัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน 1. จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการสื่อสาร
(Activity based
2. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศที่สง่ เสริมทักษะการสือ่ สาร เช่น
Learning)
-ป้ ายนิ เทศ English Conner, English Zone
ตลอดปี การศึกษา 2557
-English Day or English Camp
-จิตอาสาชวนน้องฟัง พูดภาษาอังกฤษ
-ถาม ตอบภาษาอังกฤษยามเช้า /ในห้องเรียน
-ห้องเรียนสนทนาภาษาอังกฤษ (Conversation Class)
3. ค่ายวิชาการแบบเข้ม (Intensive English Camp
ขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน
กิจกรรมการดาเนิ นงาน
4. นิ เทศ ติดตาม ตรวจสอบ 1. นิ เทศภายใน/ภายนอก อย่างต่อเนื่ อง
และประเมิน
2. ประเมินทักษะของนักเรียนด้านการฟัง การพูดโดยใช้เครื่องมือ
(Assessment)
ที่หลากหลาย ตามแนวทาง CEFR
มกราคม – มีนาคม 2558
1. มอบรางวัล เกียรติบตั รให้โรงเรียน ครู และนักเรียนที่มีผล
5. การยกย่องชมเชย
(Appraisal)
การประเมินยอดเยี่ยม
เมษายน – พฤษภาคม 2558 2. ยกย่องชมเชยตามโอกาสและวาระต่าง ๆ
วัน/เดือน/ปี
กิจกรรม
บทบาท สพป.สบ.๑
บทบาทสถานศึกษา
ตัวชี้วดั ความสาเร็จ
สิงหาคม
๒๕๕๗
-กุมภาพันธ์
๒๕๕๘
๔.ให้ความ
ร่วมมือ
(Cooperation)
-ส่งเสริม
-ส่งเสริมสนับสนุ น
นิ เทศติดตาม แนะนา
สถานศึกษาให้มีการ
พัฒนาต่อยอดและ
ต่อเนื่ องจนเป็ นวิสยั
-กาหนดปฏิทินการ
นิ เทศติดตามการใช้
แบบทดสอบอัตนัย
-ประเมินผลการ
ดาเนิ นงานโครงการ
สร้างวัฒนธรรมการวัดฯ
แบบอัตนัย
-ผูบ้ ริหาร/ครูวิชาการ
ส่งเสริมสนับสนุ น แนะนา
เพื่อนครูให้มีการพัฒนา
ต่อเนื่ องจนเป็ นวิสยั
-ทุกสถานศึกษามีคลัง
ข้อสอบอัตนัย
-ครูใช้ขอ้ สอบอัตนัย
จนเป็ นนิ สยั
-มอบหมายหัวหน้าสาระฯ
พัฒนาข้อสอบ
-ผูบ้ ริหาร/ครูวิชาการ
ติดตามการใช้ขอ้ สอบ
อัตนัย
-จัดทาเอกสารรายงาน
ผลสัมฤทธิ์จากการใช้
อัตนัย
-มีแบทดสอบอัตนัยท
มีคณ
ุ ภาพเชื่อถือได้
-ประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของ
โครงการสร้าง
วัฒนธรรมวัดฯอัตนัย
สนับสนุ น แนะนา
มีนาคม ๕.ต้องมีความ
๒๕๕๘ รับผิดชอบ
(Responsibility)
-ใส่ใจเฝ้ าติดตาม
จริงจัง
-สือ่ สารชัดเจน
ต่อเนื่ อง
๑๖. กลยุทธ์การเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ที่มีรูปแบบ “๗ ต. สูช่ ยั ชนะ งานศิลปหัตถกรรม”
ตอบ
ติแทน
ด
ดาว
ตอ
่
ยอด
รางวัลเกียรติยศ
ส่งเสริม สนับสนุ น ช่วยเหลือ เสริมแรง
ใช้กลวิธี/เทคนิ ค
สอนเพิ่ม เติมเต็ม ติวเข้ม จัดค่ายฝึ ก
ติดตาม ตรวจสอบการพัฒนาผูเ้ รียน
การคัดเลือก แข่งขัน สรรหาคนเก่ง
พัฒนาผูเ้ รียน กาหนดกลุม่ คุณภาพ
จัดตัง้ ชุมนุ ม/ชมรม ต่อยอดเด็กเก่ง ฝึ กซ้อม
ตรวจส
อบ
เติม
พลัง
กาหนดนโยบาย เป้ าหมาย โครงการ
เตรียมก
กาหนดแนวทางปฏิบตั /ิ กิจกรรม ศึกษาเอกสาร/กฎเกณฑ์
าร
นักเรียน ครู ผูบ้ ริหารโรงเรียน ผูป้ กครอง
ตระห
และผูเ้ กี่ยวข้อง มุ่งมัน่ ตัง้ ใจพัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศ มีความตระหนัก
นัก
มาตรการ : ทุกโรงเรียนส่งนักเรียนเข้าแข่งขันอย่างน้อย ๑ กิจกรรม
: ทุกกลุม่ โรงเรียนส่งกิจกรรมเข้าแข่งขันทุกรายการ