อาเซียน

Download Report

Transcript อาเซียน

กวี จงกิจถาวร
สถาบันศึกษาความมันคงและนานาชาติ
่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21 กันยายน 2512
สงวนลิขสิทธิ ์
กวี จงกิจถาวร
เดอะเนชัน่
สงวนลิขสิทธิ ์
ความรู้ เรื่ องอาเซียน*
เวียตนาม 88.6%
ลาว 84.5 %
อินโดนีเซีย 68.3%
ไทย 68.0 %
มาเลเซีย 65.9 %
ฟิลปิ ปินส์ 59.6 %
*มูลนิธิอาเซียน 2008
ภาพนี้ มีอะไรผิดแปลก
85234862558
66723768975
53761426922
12915235789
57320234734
นับถอยหลัง
ประชาคมอาเซียน
862วัน
นับถอยหลังมีสองแบบ
แบบแรก
แบบทีส่ อง
สื่อฯพร้อมรึยงั ?
พร้อม
ยังไม่พร้อม
อาร์เธ่อร์ มิลเล่อร์
สื่อดีเหมือนกับ
ประชาชนพูดกับตัวเอง
23786668975
98523455667
53761426922
12915235789
56762234734
ภาระกิจที่ต้องทา
667
667 เอ็คชั่นไลน์ ก่อนถึงประชาคมอาเซียน
 เสาหลักการเมือง/ความมันคงมี
่
142 เอ็คชันไลน์
่
เช่น
ส่งเสริมประชาธิปไตย ความเข้าใจประวัติศาสตร์ และ
วัฒนธรรมอาเซียน ปกป้ องและปราบคอรัปชัน่ ฯลฯ
 เสาหลักเศรษฐกิจมี 291 เอ็คชันไลน์
่
เช่น ปกป้ องสิทธิบตั ร
ส่งเสริมอี คอมเมอร์ส การพัฒนายังยื
่ นและเท่าเทียม
เสรีภาพการลงทุน ฯลฯ
 เสาหลักสังคมและวัฒนธรรมมี 234 เอ็คชันไลน์
่
เช่น ส่ง
เสริมเท็คโนโลยี่สารสนเทศ ลดช่องว่างความยากจน ช่วย
คนพิการ เพิ่มความมันคงทางด้
่
านอาหาร ขจัดโรคระบาด
ฯลฯ
ก่อนมีเอ๊คชัน่ ต้องดู
ประวัติบทบาทสื่อ
อาเซียน
ประเทศไหนเอ่ ย?
 ดูถกู เจ้าพนักงานมีสทิ ธิ ์เข้าคุก
 นักข่าวกว่า ๑๓๐ คนถูกฆ่าตัง้ แต่ปี ๑๙๘๖
 นักข่าวเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างชาติ
 พรรคการเมืองแต่งตัง้ บรรณาธิการใหญ่
 มีน.ส.พ.อินเตอร์เน็ตน่าเชือ่ ถือทีส่ ดุ
 ให้เงินเดือนนักข่าวสูงทีส่ ดุ ในภูมภิ าค
 นักข่าวชอบกับแหล่งข่าวเป็ นผูก้ ่อการร้าย
ซีนไหนจะถูกเซ็นเซอร์
 พระเล่นกีตาร์
 หมอสูบบุหรีใ่ นโรงพยาบาล
 ผูห้ ญิงเปลือยอก
 หมอจูบแฟนสาวในโรงพยาบาล
 สูบบุหรีโ่ ดยทัวๆไป
่
 คลิปหมิน่ กษัตริย์
 พูดจาดูถกู ศาสนา
ดรรชนีเสรี ส่ ือโลก2012
 เอเชียอาคเนย์ไม่มสี อ่ื เสรีแบบสมบูรณ์ มีแต่ประเทศพอมีเสรี
สือ่ และไม่มเี ลย
 ประเทศพอมีเสรีสอ่ื คือ อินโดนีเซีย ไทย ฟิ ลปิ ปิ นส์
 ประเทศไม่มเี สรีสอ่ื คือ มพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว พม่า
เวียตนาม บูรไน
 ในปี ๒๐๐๐ เสรีสอ่ื ไทยอยูอ่ นั ดับที๒
่ ๙ของโลก ปี ๒๐๐๕ตกลง
มาที่ ๙๕ ปีน้หี ลุดมาอยูอ่ นั ดับที๑่ ๒๗
ดรรชนีเสรี ส่ ือในอาเซียอาคเนย์
มีเสรีภาพมากๆ คือ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์
มีเสรีภาพมาก คือไทย กัมพูชา
มีเสรีภาพบ้างคือ มาเลเซีย พม่า
มีเสรีภาพน้อยคือ สิงค์โปร์ บรูไน
มีเสรีภาพน้อยมากคือ เวียตนาม ลาว
ื่ อาเซย
ี นต ้องการ
เวลาทางาน สอ
ื่ อาเซย
ี นต ้องมีเสรีภาพในการรายงาน
สอ
ี น
ข่าวและเข ้าถึงข ้อมูลในอาเซย
ื่ อาเซย
ี นต ้องมีคณ
สอ
ุ ภาพและความเป็ น
ี สูง
วิชาชพ
ั ทัศน์ประชาคมอาเซย
ี น
วิสย
ี นทีแ
อาเซย
่ ข็งแรงและเป็ นหนึง่ เดียว
ี นทีเ่ ปิ ดกว ้าง มีพลวัตรและ
อาเซย
ิ ธิภาพ
ประสท
ี นต ้องหล่อเลีย
อาเซย
้ งค่านิยมร่วม
ี นทีต
อาเซย
่ ้องแพร่หลายข ้อมูลเกีย
่ ว
ปั ญหาภูมภ
ิ าคร่วมกัน
ปัญหาสื่ ออาเซียน
เขียนแต่เรือ
่ งประเทศตัวเอง
ไม่แทรกแซงประเทศอืน
่ คือไม่ราย
งายข่าวซงึ่ กันและกัน
ไม่เข ้าใจประวัตศ
ิ าสตร์เพือ
่ นบ ้าน
คิดในกรอบเสมอ ไม่คด
ิ นอกกรอบ
บทบาทไทยช่ วงก่ อตัง้ อาเซียน
 ไทยเป็ นตัวกลางได้ เพราะไม่มเี รือ่ งบาดหมางกับประเทศเพือ่ นบ้านที่
ไม่ได้เป็ นคอมมิวนิสต์
 มีความน่าเชื่อถือสูง นโยบายการทูตอิสระ สนับสนุ นโลกเสรี
 ต้องการสร้างกลไกใหม่ลดความขัดแย้งในภูมภิ าค เพือ่ พัฒนา
เศรษฐกิจและสร้างเสถียรภาพร่วมกัน
 เสริมความร่วมมือทางการเมืองและมังคงระหว่
่
างประเทศเสรีใน
ภูมภิ าค เพือ่ รับมือกับกลุ่มคอมมิวนิสต์ในอินโดจีน
๗ สาระปฏิญาณกรุงเทพ ๘ สิ งหาคม ๑๙๖๗
 พัฒนาเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม
 เพือ่ สั นติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค
 เพิม่ ความร่ วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม
 ช่ วยเหลือซึ่งกันและกันทางด้ านการฝึ กฝนและการวิจัย
 ร่ วมมือด้ านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การค้ า คมนาคม โทรคมนาคม
และส่ งเสริมการอยู่ดีกนิ ดีของประชาชน
 ส่ งเสริมการศึกษาเกีย่ วกับเอเซียอาคเนย์
 ให้ ความร่ วมมือกับองค์ กรภูมิภาคและระหว่ างประเทศอืน่ ๆ
ทาไม...จึงแย่มากเรื่อง
การเมืองความมันคง
่
อาเซียนคืออะไร?
อาเซียนคือตัวทาเงิน
ให้กระทรวงพานิชย์
งบ130กว่าล้านบาท
ทาประชาสัมพันธ์
อาเซียนคือ.....
 คือร้านสรรพสินค้าย่านพระโขนงทีป่ ิ ดกิจการไปแล้ว
 คือร้านตัดเสือ้ ชือ่ ดังในกรุงจาการ์ตา
 การรวมตัวของพวกอามาตย์ในอาเซียน
 เป็ นองค์กรเห็นแก่ได้ งก ไม่เคยใช้เงินตัวเอง
 เป็ นองค์กรปกป้องสมาชิกแบบหลับหูหลับตา
 เป็ นองค์กรทีด่ แี ต่พดู ยิง่ พูดยิง่ ดี รูจ้ กั กันดี
 เป็ นองค์กรชอบพูดถึงความสาเร็จตัวเอง
 เป็ นองค์กรไม่เปิ ดโปงความไม่ดขี องสมาชิก
ความเชี่ยวชาญอาเซียน
เก่งเรือ่ งการค้า เศรษฐกิจ เรือ่ งปากท้อง
(60%) ...อะไรก็เออีซี
พอใช้เรือ่ งสังคมวัฒนธรรม (27%)
แย่มากเรือ่ งการเมืองความมันคง
่ (13%)
คุณสมบัติพเิ ศษเอเซียน
 เป็ นสวนสนุกดิสนี่ แลนด์ของระบบการเมืองโลก--ร้อยพ่อพันแม่
 ระบบสมบูรณยาสิทธิราษฎร์-ระบบกษัตริยต์ ามรัฐธรรมนูญ
 สังคมนิยม-คอมมิวนิสต์
 ระบบกึ่งทรราช-ระบบเผด็จการ
 ระบบประชาธิปไตยจอมปลอม-ระบบประชาธิปไตยเต็มใบ
 ไม่ก้าวก่ายการเมืองในประเทศ (แต่บรูไนและกัมพูชาทาแสบ)
 ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการ ทัง้ ๆที่คนส่วนใหญ่ใช้
ภาษาอินโดนี เซีย (320 ล้ายจาก 600 ล้านคน)
อาเซียนยังมีคุณสมบัต.ิ ...
 อินโดนี เซียเป็ นชาติมสุ ลิมที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก
 มาเลเซียเป็ นขาติมสุ ลิมที่ทนั สมัยที่สดุ
 มีชาวพุทธมากที่สดุ ในโลก (ไทย พม่า กัมพูชา ลาว)
 ฟิลิปปินส์มีชาวคริสจักรมากที่สดุ ในเอเชีย
 สิงค์โปร์เป็ นสมาชิกอาเซียนมีเร็ตติ่งดีที่สดุ ทุกรอบด้าน
 บรูไนรวยสุด ประชาชนไม่ต้องเสียภาษี
 ไทยมีประสบการณ์ ประชาธิปไตยนานที่สดุ ๘๐ ปี
แต่...
แปดเอกสารหลักอาเซียนจาก260กว่าฉบับ
 ปฏิญาณ กรุงเทพ (Bangkok Declaration 1967)
 สนธิสญ
ั ญาว่าด้วยมิตรภาพและความร่วมมือ (Treaty of Amity and






Cooperatiom 1976)
หนังสือปกเขียวเล่มเล็ก กฎบัตรอาเซียน (Little Green book, Asean
Charter)
สนธิสญ
ั ญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเซียอาคเนย์(Southeast Asian Nuclear
Weapons Free Zone 1995)
Asean Intergovernmental Commission for Human Rights/
ปฏิญาณสิทธิมนุษยชนอาเซียน
สถาบันสันติภาพและปรองงดองแห่งอาเซียน (Asean Institute of Peace and
Reconciliation)
โครงข่ายคมนาคมอาเซียน(Asean Connectivity 2010)
แผนปฏิบตั งิ านของสามเสาหลัก ความมันคง
่ เศรษฐกิจ สังคม/วัฒนธรรม (Roadmap to
Asean Community 2015)
จุดมุ่งหมายสุดยอดอาเซียน
 สามเสาหลัก—การเมืองและความมันคง,
่ เศรษฐกิจ, สังคม
และวัฒนธรรม
 ประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาธรต่อกัน
 มีจุดยืนร่วมในทุกมิตริ อบด้าน
 เป็ นครอบครัวเดียวกัน ไม่ทาสงคราม
 สูค้ รอบครัวอื่นๆได้ รักษาผลประโยชน์ในกลุ่ม
ทาได้ไหม?
อะไรคืออุปสรรค?
สนธิสัญญาความร่ วมมือและมิตรภาพ
 เคารพเอกราช อธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่ง
ดินแดนและเอกลักษณ์ประจาชาติของทุกชาติ
 ไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน
 ต้องฉันทามติในการตัดสินใจ
 ระงับความแตกต่างหรือข้อพิพาทโดยสันติวิธี
 ไม่ใช้การขู่บงั คับ หรือการใช้กาลัง
 ร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพระหว่างประเทศสมาชิก
กลยุทธเจรจาในเวทีอาเซียน
ต้องใช้เจ้าหน้าทีอ่ าวุโส
มาประจา ทุกครัง้ ทีม่ กี ารประชุม
ประชุมเตรียมการ ยิง่ ต้องใช้คนเก่ง
ย้าประเด็นเดิม ซ้าแล้วซ้าเล่า จนคนอื่นยอม
เชือดนิ่มๆ เห็นด้วยในหลัก รอปรึกษาเมืองหลวง
ก่อน
ระบบการเจรจาในเวทีการเมืองอาเซียน
 คูเ่ จรจา(dialogue partners)10ประเทศ/องค์กรระหว่างประเทศ
 อาเซียนบวกสาม (Asean plus three) รวมทัง้ จีน ญีป่ น่ เกาหลี
 เออาร์เอฟ (Asean Regional Forum) มี ๒๗ประเทศ
 เอแซม (Asia Europe Meeting)
 เอดีเอ็มเอ็มบวก(Asean Defense Ministerial Meeting Plus)
 อีเอเอส (East Asia Summit) มี16ประเทศ:อาเซียน ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์ อินเดีย สหรัฐ รัสเซีย จีน ญีป่ นุ่ เกาหลี
อานาจการต่ อรองอาเซียน
ค่อนข้างต่าทางการเมือง/ความมันคง
่ สูงกว่า
ทางด้านเศรษฐกิจ
หาจุดยืนร่วมด้านการเมือง/ความมันคงล
่ าบากมาก
สมาชิกไม่ทาตามข้อตกลงอย่างจริงจัง (70%)
ห่วงอานาจอธิปไตยตัวเองมากเกิน(เห็นแก่ตวั เอง)
มีวฒ
ั นธรรมการเมืองและโลกทัศน์ทแ่ี ตกต่าง
สื่อรู้หรือไม่ความ
จาเป็ นต้องมี
กฎบัตรอาเซียน?
เราอยูก่ ินกันมาสี่สบิ สองปี แล้ ว จดทะเบียน
แต่งงาน(กฎบัตรอาเซียน) กันเถิด(๒๐๐๘)
สาระสาคัญใน ASEAN Charter
 กาหนดวัตถุประสงค์ของอาเซียนไว้กว้างๆ ๑๕ ประการ
 กาหนดหลักการสาหรับรัฐสมาชิกไว้ ๑๕ ประการเช่นกัน รวมทัง้ การยึดมัน่
ในหลักการพืน้ ฐานทีไ่ ด้ระบุไว้ในทีต่ ่างๆ ในอาเซียน
 มอบสภาพบุคคลตามกฎหมาย (legal personality) ให้แก่
อาเซียนในฐานะทีเ่ ป็ นองค์การระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล
 กาหนดสิทธิและพันธกรณีของรัฐสมาชิก
 กาหนดกระบวนการรับสมาชิกใหม่
 จัดปรับปรุงองค์กรของอาเซียน และตัง้ องค์กรใหม่ระดับต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น
คณะกรรมการผูแ้ ทนถาวรประจาอาเซียน และองค์กรสิทธิมนุ ษยชน
อาเซียน
ASEAN Charter คืออะไร?
 ข้อตกลงทีส่ าคัญทีส่ ุดของประมุขแห่งรัฐ/ผูน้ ารัฐบาลของสิบรัฐสมาชิก
อาเซียนเกีย่ วกับความร่วมมือในอาเซียน เพือ่ สันติภาพ ความมันคง
่ ความ
มังคั
่ ง่ และความเจริญของรัฐสมาชิกและประชาชน และเพือ่ ความร่วมมือกับ
มิตรประเทศและองค์กรต่าง ๆ
 มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ หลังจากทีร่ ฐั สมาชิกทัง้ สิบได้ให้
สัตยาบัน และได้จดทะเบียนไว้กบั สานักเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อ ๘
ธันวาคม ๒๕๕๒ ทาให้ ASEAN Charter มีคุณลักษณะเป็ น
ข้อตกลงระหว่างประเทศทีส่ มบูรณ์
 เป็ นรากฐานและโครงสร้างสาหรับการสร้างประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community)
สาระสาคัญใน ASEAN Charter (ต่อ)
 กาหนดให้มคี วามสัมพันธ์กบั องค์กรนอกอาเซียนซึง่ สนับสนุ นอาเซียน
 กาหนดความคุม้ กันและเอกสิทธิของเจ้
าหน้าทีส่ ว่ นต่าง ๆ ในอาเซียน
์
 ยืนยันหลักการของการตัดสินใจในอาเซียน ซึง่ ต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานของการปรึกษาหารือ
และ ฉันทามติ (consensus)
 กาหนดขัน้ ตอนของการระงับของพิพาททีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งของอาเซียน
 กาหนดบทบาทของประธานอาเซียนให้มหี น้าทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในการนาความร่วมมือของ
เอเซียนในแต่ละปีของการเป็ นประธาน
 ยืนยันการใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางานของอาเซียน
สาระสาคัญใน ASEAN Charter (ต่อ)
 กาหนดคาขวัญอาเซียนไว้วา่ “วิสยั ทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคม
เดียว” (“One Vision, One Identity, One
Community”)
 กาหนดรายละเอียดธงอาเซียน ดวงตราอาเซียน วันอาเซียน ๘ สิงหาคม
และเพลงประจาอาเซียน (“The ASEAN Way” คาร้องแต่งโดย
คุณพยอม วลัยพัชร ดนตรีโดยคุณกิตติคุณ โสตประเสริฐ และคุณสาเภา
ตรีอุดม )
 กาหนดการดาเนินความสัมพันธ์ภายนอก รวมทัง้ การเปิดโอกาสให้ประเทศ
ต่าง ๆ แต่งตัง้ ทูตเป็ นผูแ้ ทนประจาอาเซียน (Ambassador to
ASEAN)
ความสาคัญของ ASEAN Charter
 ยืนยันความแน่วแน่ในการร่วมมือกันสร้างประชาคมอาเซียน
 ความร่วมมืออาเซียนเพือ่ ผลประโยชน์ของประชาชนชาวอาเซียน
 พัฒนาองค์กรให้ทนั สมัย มีหลักการทีเ่ ป็ นสากล เคารพกฎระเบียบ ปฏิบตั ิ
ตามข้อตกลง รวมทัง้ การให้องค์กรมีสภาพบุคคลตามกฎหมาย
 กาหนดกระบวนการระงับข้อพิพาทเกีย่ วกับเรือ่ งอาเซียน
 ยืนยันสนับสนุ นการรวมตัวทางเศรษฐกิจตามหลักทุนนิยมทีเ่ จริญเติบโต
ตามพลังขับเคลือ่ นโดยตลาด
 พยายามพัฒนาอาเซียนให้เป็ นศูนย์รวมของความร่วมมือเพือ่ การพัฒนา
คุณทราบหรื อไม่วา่ ASEAN Charter …
 เริม่ ต้นด้วยคาอารัมภบทว่า “ เรา บรรดาประชานของรัฐสมาชิกของสมาคมแห่ง
ประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)“
 นายกรัฐมนตรีไทย พณฯ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็ นคนเซ็นกฎบัตร
อาเซียน
 ประเทศไทยเป็ นรัฐสมาชิกให้สตั ยาบัณเป็ นรัฐสุดท้าย
 กฎบัตรอาเซียนสนับสนุ นให้ธารงรักษาภูมภิ าคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็ น
เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ และปราศจากอาวุธทีม่ อี านุภาพทาลายล้างสูงอื่น ๆ
ทุกชนิด (nuclear weapon-free and no weapons of
mass destruction in Southeast Asia)
สาระกฎบัตรอาเซียน…(ต่อ)
 กฎบัตรอาเซียนรับรองความเป็ นพลเมืองอาเซียนหรือไม่ (ยังไม่มกี าร
รับรอง แต่เรือ่ งนี้น่าเป็ นเป้าหมายสาคัญของอาเซียนในอนาคต)
 หลักการการเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค การไม่แทรกแซง
กิจการภายในของรัฐสมาชิก หรือปฏิบตั ติ ามควบคูก่ บั หลักการของความ
ผูกพันและความรับผิดชอบร่วมกัน รวมทัง้ การปรึกษาหารือกันเมื่อมีเรือ่ งที่
มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์รว่ มกันของอาเซียน
 ผูน้ าอาเซียนมีการประชุมสุดยอดปีละสองครัง้ (เมษายน และ พฤศจิกายน
 เลขาธิการอาเซียนได้รบั การแต่งตัง้ จากผูน้ าในทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
คุณทราบหรื อไม่ว่า ASEAN Charter …(ต่อ)
 AICHR คืออะไร
 มูลนิธอิ าเซียนคืออะไร (ASEAN Foundation)
 องค์กรภาคธุรกิจทีม่ สี มาชิกจากรัฐสมาชิกอาเซียนต่างๆ มีสว่ นเกีย่ วข้องกับกฎบัตร
อาเซียนได้อย่างไร (อาจได้รบั การยอมรับให้มฐี านะเป็ นองค์ภาวะทีม่ คี วามสัมพันธ์
กับอาเซียน = entity associated with ASEAN
 งบประมาณของสานักเลขาธิการอาเซียน จัดหามาอย่างไร (รัฐสมาชิกส่งเงินลงขัน
ในส่วนที่เท่าๆ กันให้แก่สานักเลขาธิการอาเซียนใช้จ่ายเป็ นรายปี )
 ประเทศทีเ่ ป็ นประธานอาเซียนจะเป็ นประธานขององค์กรอาเซียนใดบ้าง
(ASEAN Summit, 3 ASEAN Community Councils,
ACC, AMM, SEANWFZ Commission, AEM, AFMM,
ADMM, CPR, AICHR, ARF, EAS,
คุณทราบหรื อไม่ว่า ASEAN Charter …(ต่อ)
 กฎบัตรอาเซียนจะมีการทบทวนเมือ่ ไร (๕ ปีหลังจากทีก่ ฎบัตรมีผลบังคับ
ใช้ หลังวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖)
 กฎบัตรอาเซียนได้มกี ารแปลไว้กภ่ี าษาแล้ว (แปลครบทุกภาษาของทุก
ชาติสมาชิกอาเซียน สิงคโปร์แปลเป็ นภาษาจีน ฟิลปิ ปินส์เป็ นรัฐสมาชิก
สุดท้ายทีแ่ ปลกฎบัตรอาเซียนเป็ นภาษาตากาลอค หาอ่านกฎบัตรอาเซียน
และคาแปลภาษาต่าง ๆ ได้ ที่ www.asean.org)
 กฎบัตรอาเซียนเหนือกว่าสนธิสญ
ั ญาลิสบอนของสหภาพยุโรปในด้านใด
(สัน้ กว่า สามารถกาหนดภาษาทางานไว้เพียงภาษาเดียว อีกทัง้ มีการ
กาหนดให้มคี าขวัญ และเพลงประจาอาเซียนได้ ซึง่ ทางฝา่ ยรัฐสมาชิก
สหภาพยุโรปไม่สามารถตกลงกันได้เลยในเรือ่ งเหล่านี้)
คุณทราบหรื อไม่ว่า ASEAN Charter …(ต่อ)
 กฎบัตรอาเซียนจะมีการทบทวนเมือ่ ไร (๕ ปีหลังจากทีก่ ฎบัตรมีผลบังคับ
ใช้ หลังวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖)
 กฎบัตรอาเซียนได้มกี ารแปลไว้กภ่ี าษาแล้ว (แปลครบทุกภาษาของทุก
ชาติสมาชิกอาเซียน สิงคโปร์แปลเป็ นภาษาจีน ฟิลปิ ปินส์เป็ นรัฐสมาชิก
สุดท้ายทีแ่ ปลกฎบัตรอาเซียนเป็ นภาษาตากาลอค หาอ่านกฎบัตรอาเซียน
และคาแปลภาษาต่าง ๆ ได้ ที่ www.asean.org)
 กฎบัตรอาเซียนเหนือกว่าสนธิสญ
ั ญาลิสบอนของสหภาพยุโรปในด้านใด
(สัน้ กว่า สามารถกาหนดภาษาทางานไว้เพียงภาษาเดียว อีกทัง้ มีการ
กาหนดให้มคี าขวัญ และเพลงประจาอาเซียนได้ ซึง่ ทางฝา่ ยรัฐสมาชิก
สหภาพยุโรปไม่สามารถตกลงกันได้เลยในเรือ่ งเหล่านี้)
ความหมายสัญญาลักษณ์ Asean
 น้ าเงินคือสันติภาพและเสถียรภาพ
 แดงคือความกล้าหาญและพลวัตร
 ขาวคือความบริสทุ ธิ ์
 เหลืองคือความมังคั
่ ง่
 วงกลมคือความเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน
 ต้นข้าวสิบต้นมัดรวมกัน คือความสามัคคี พลังอาเซียน
กฎบัตรอาเซียนกับกระแสโลกาภิวตั น์
วิธีทางานอาเซียนในอดีต
 เป็ นกันเอง ไม่เป็ นทางการ
 กรอบการทางานไม่ชดั เจน
 เวลานาไปปฏิบตั ิ ไม่จริงจัง
 ไม่ให้ความสาคัญโปรเจ๊กต์ตวั เองไม่ม ี
ส่วนเกีย่ วข้อง
 ไม่มที ุนและแรงงานมาสนับสนุ น
 ทาก็ได้ ไม่ทาก็ไม่วา่ ไม่มบี ทลงโทษ
หลังมีกฎบัตร
 เป็ นทางการ
 มีกรอบทางานชัดเจน เช่น ประชาคม
อาเซียนในปี ๒๐๑๕
 มีภาระกิจต้องทาตาม
 มีบทลงโทษ
กฎบัตรอาเซียนกับโครงสร้ างใหม่
 ประชุมสุดยอดปี ละ สองครัง(ครั
้ ง้ แรกไม่เป็ นทางการกลางปี ครัง้ ที่สองปลายปี ทางการ






มีผนู้ าคู่เจรจาร่วม)
จัดตัง้ สภาประสานงานอาเซียน มีรฐั มนตรีต่างประเทศเป็ นคณะกรรมการ
ตัง้ เพิ่มอีกสามสภาคือ สภาประชาคมการเมืองความมันคง
่ สภาประชาคมเศรษฐกิจ
และสภาประชาสังคมและวัฒนธรรม (พบกันปี ละสองครัง)้
จัดตัง้ กลไกส่งเสริมและป้ องกันสิทธิมนุษยชน
จัดตัง้ ระบบผูแ้ ทนถาวรในสานักเลขาธิการอาเซียน(สหรัฐ อียู ญี่ปนุ่ เยอรมัน อังกฤษ
สาธารรัฐเช็คเ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลี ได้ รัสเซีย สเปญ ได้แต่งตัง้ ทูตประจา
อาเซียน)
เพิ่มสองตาแหน่ งรองเลขาธิการอาเซียน
ปรับโครงสร้างสานักเลขาธิการใหม่พร้อมอัดฉี ดเพิ่มงบประมาณประจาปี
ปี 2015 สมาชิกอาเซียน
มีกี่ประเทศ?
อาเซียนขยายตัวในอนาคต
 อาเซียนจัดตัง้ ขึน
้ ปี ๑๙๖๗
 บรูไนเข้าเป็ นสมาชิกในปี ๑๙๘๔
 เวียตนามมาเข้าปี ๑๙๙๕
 ลาวกับพม่าเข้าอาเซียนพร้อมกันปี ๑๙๙๗
 กัมพูชาเป็ นประเทศสุดท้ายเข้ามาในปี ๑๙๙๙
 ติมอร์ตะวันออกอาจะได้เข้าอีกห้าปี ข้างหน้ า
 ปาปัวนิวกีนีกเ็ ช่นกัน อีกสักสิบปี ข้างหน้ า
 ใครจะไปรู้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์อาจจะเข้าอาเซียนอีกยี่สิบปี ข้าหน้ า
ความร่ วมมืออาเซียนในช่ วงสี่สิบสองปี
 ช่วงแรก ปี ๑๙๖๗-๑๙๗๖ความร่วมมือเน้ น ๓มิติ—สร้างความไว้วางใจ,
สร้างความเข้าใจปัญหาสมาชิก, ปลูกฝังนิสยั หารือปรึกษา
 ช่วงสอง ปี ๑๙๗๖-๑๙๘๖ ทดสอบความร่วมมืออาเซียนเน้ นความมันคง
่
ภายใน เรื่องปัญหาการก่อการร้ายตามชายแดน แก้ปัญหาเฉพาะใน
ภูมิภาค เช่นปัญหากัมพูชา ผูอ้ พยพ ไม่แทรกแซงการเมืองภายในสมาชิก
 ช่วงสาม ปี ๑๙๘๗-๑๙๙๖ ทศวรรษของการปรับตัวหลังสงครามเย็น การ
เริ่มขยายตัวอาเซียน รับสมาชิกใหม่
 ช่วงสี่ ปี ๑๙๙๗-๒๐๐๘ ทศวรรษสับเปลี่ยนและสับสน
 ช่วงที่ห้า ๒๐๐๙-อาเซียนใหม่ มีกฎบัตรอาเซียน มีความเป็ นนิติบคุ คลเริ่ม
ถกเรื่องสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย
บทบาทใหม่ เลขาธิการอาเซียน
 ติดตามและรายงานผลความคืบหน้าและการนาไปปฏิบตั คิ าแถลงการณ์ของผูน้ า





อาเซียนและข้อตกลงต่างๆ
เป็ นผูต้ คี วามหมายของกฎบัตรอาเซียนในกรณีจาเป็ น
ปฏิสมั พันธ์กบั องค์กรต่างๆเกีย่ วข้องกับอาเซียน
เป็ นตัวแทนและปากเสียงให้กบั อาเซียน
ส่งเสริมผลประโยชน์อาเซียน และความเป็ นนิตบิ ุคคล
ประชุมซัมมิตอาซียนทุกบทบาทเลขาธิการสุรนิ ทร์สาคัญมาก
ผลประโยชน์การเป็ นประธาน
(Rotational Asean
chair)
ตัวอย่ างจากเวียตนาม อินโดนีเซียและกัมพูชา
เวียตนาม (2010) ยกระดับ ข้อพิพาทในทะเลจีน
ใต้สเู่ วทีระหว่างประเทศ
อินโดนีเซีย (2011) เสริม บทบาทอาเซียนในเวที
การเมืองโลก สิทธมนุษยชน
กัมพูชา (2012) ยับยัง้ ข้อพิพาททะเลจีนใต้งด
ออกแถลงการณ์รว่ ม
ความสาคัญไทยฐานะประธานอาเซียน
 โอกาสดีแสดงวิสยั ทัศน์ของประเทศและผูน้ านานถึง ๑๘ เดือน (อย่านึกถึงอดีตที่
พัทยา)
 บทบาทนาไทยในอาเซียน ๓ สถานภาพ:
-ผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ อาเซียน
-ประเทศแรกทีน่ ากฎบัตรอาเซียนมาปฏิบตั ิ สูอ่ าเซียนใหม่
-มีเลขาธิการเป็ นคนไทย
ผลประโยชน์ ...ในระดับชาติ
 เพิม่ ความรูแ้ ละความเข้าใจอาเซียนภายในประเทศ
 ปลูกฝงั ให้เยาวชนไทยมีสว่ นรวมในการสร้างประชาสังคมอาเซียน
 เพิม่ ความรูข้ องคนไทยในประเทศสมาชิกทัง้ สิบประเทศ
 กระตุน้ ให้สถาบันศึกษาในทุกระดับสอนวิชาเกีย่ วกับอาเซียน
 ให้ประชาชนมีความเป็ นหุน้ ส่วนในกิจกรรมอาเซียนในทุกเรือ่ ง
 คนไทยเป็ นเจ้าภาพและทูตอาเซียนในช่วงเป็ นประธาน
ผลประโยชน์ ...ในระดับภมู ภิ าค
 เป็ นเจ้าภาพซัมมิตอาเซียนครัง้ ที่ สอง(ครัง้ แรกในปี ๑๙๙๕)
 ช่วงเปลีย่ นผ่าน ประธานอาเซียนแสดงบทบาทนาของกลุ่ม
 สร้างมาตรฐานสากลในการก่อตัง้ กลไกสิทธิมนุ ษยชนอาเซียน
 ส่งเสริมความมีสว่ นรวมของภาคประชาสังคมในอาเซียน
 เสริมสร้างอาเซียนเป็ นองค์กรเพือ่ ประชาชนให้ได้
 เพิม่ ศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์และความมันคงในอาเซี
่
ยน
Lyrics, “The ASEAN Way”
Raise our flag high, sky high
Embrace the pride in our heart
ASEAN we are bonded as one
Look-in out to the world.
For peace, our goal from the very start
And prosperity to last.
We dare to dream we care to share.
Together for ASEAN
we dare to dream,
we care to share for it's the way of ASEAN.
Mr.Kittikhun Sodprasert, Mr Sampow Triudom, Mrs.Payom Valaipatchra
บทบาทผู้นาไทยในการประชุมสุดยอด
 ผูป้ ้ อนประเด็นการเจรจาสุดยอดทัง้ หมด เน้นสิทธิมนุ ษยชน และภาค
ประชาสังคม
 ชีน้ าและวางกรอบการเจรจา รวมทัง้ ผลการเจรจา เช่นกรอบความริเริม่
เชียงใหม่
 เข้าใจความละเอียดอ่อนการทูต เข้าใจวัฒนธรรมสมาชิกอาเซียนดี
 ไม่ปากพล่อย นึกจะพูดอะไรก็พดู ไม่คานึงถึงผลกระทบระยะยาว
 ต้องมีไหวพริบ โต้ตอบ เพือ่ ปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติได้ดี
 ต้องเข้าใจชัน้ เชิงของคูเ่ จรจาทัง้ สมาชิกาเซียนและประเทศอื่นๆ
กลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน
 ล่าช้ามาเป็ นเวลา ๑๕ปี ไม่มฉี นั ทามติ (อาเซียเอ่ยถึงสิทธิมนุ ษยชนครัง้
แรกในปี ๑๙๙๓)
 เอเชียเป็ นภูมภิ าคเดียว ยังไม่มกี ลไกปกป้องสิทธิมนุ ษยชน
 ไทยส่งเสริมค่านิยมสิทธิมนุ ษยชนในระดับสากล
 ต้องตรวจสอบ ติดตาม สืบสวนคดีละเมิดสิทธิมนุ ษยชน พร้อม
มาตรการลงโทษ
 เสนอรายงานประจาปี ของประเทศสมาชิก
 สร้างกลไกในระดับคณะกรรมาธิการทีม่ อี านาจชัดเจน
คุณภาพสิทธิมนุษยชนในอาเซียน
ไทย ฟิลปิ ปิ นส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย มีคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
พม่าเพิง่ มีคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ
(เหลือเชือ่ )
สิงค์โปร์และบรูไนมีบทบาทเป็ นมือประสานเพือ่ ไม่ให้มา
เพ่งเล็งมายังสองประเทศนี้
เวียตนาม ลาว และกัมพูชา ไม่สนใจอยากมีกลไกนี้
ทางออกสื่อไทยในอนาคต
 เลิกเป็ นนักข่าว เลิกทาสือ่ เป็ นนักร้องท่าจะดี
 ร่วมกันเป็ นปากเสียงให้กบั รัฐบาล ไม่ตกขบวนรถไฟ
 ผลิตสือ่ ทางเลือกอินดีทงั ้ ในกรุงเทพหรือต่างจังหวัด
 สือ่ ชุมชนต่างจังหวัดต้องมีคุณภาพ รายงานข่าวระดับชาติได้
 สร้างเครือข่ายเสรีภาพสือ่ ทัง้ ในและนอกประเทศ
 สือ่ ออนไลน์ มีสกู๊ปข่าวเจาะสืบสวนพิเศษ
 ใช้สอ่ื อิสระในเมืองนอกเล่นข่าวฮ๊อตๆเจาะลึกแทน เหมือนในอดีต
 มีสภาหนังสือพิมพ์และสมาคมนักข่าว-นักหนังสือพิมพ์เข็มแข็ง
 องค์กรตรวจสอบภาคประชาชนและระบบจัดการคุณภาพสือ่ ทีเ่ ชื่อถือได้
ระบบการจัดการคุณภาพสื่ อ (ISO สื่ อ)
 ระบบการจัดการคุณภาพ
 การยอมรับระบบการจัดการ สื่อมาตรฐานสูงสุด ต้อง
คุณภาพสื่ อ (Quality-
คานึ งถึงการให้บริการที่ดี
Management System-QMS) ต่อ:
เป็ นเรื่ องของความสมัครใจ
-ผูอ้ ่านและสาธารณชน
ไม่ มีการบังคับ เป็ นการ
ตัดสิ นใจเชิงยุทธศาสตร์ ของ -สังคมประชาธิปไตยและเพิม่
การไหลเวียนข้อมูลข่าวสาร
ผูบ้ ริ หารโดยได้รับการ
สนับสนุนจากทีมงานกอง -ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียรวมทัง้
พนักงานและคนให้โฆษณา
บรรณาธิการ
วัฒนธรรมสื่อในองค์ กรควรมีคุณสมบัติ
ดังนี:้
 มีวิสยั ทัศน์ และจุดยืนกองบรรณาธิการที่ชดั เจน
 ต้องรายงานข่าวและข้อเท็จจริงอย่างถูกต้อง
 มีกลไกชัดเจนในการตรวจสอบความถูกต้องข่าวและการแก้ไขข่าว
 แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริง
 ตอบสนองเสียงสะท้อนผูอ้ ่านและผูม
้ ีส่วนได้เสียได้ทางสังคมอย่างรวดเร็ว
มีประสิทธิภาพ
 คู่มือจริยธรรมสื่อขององค์กรมีการแจกจ่ายและปฏิบตั ิ กนั อย่างทัวถึ
่ ง
 มีการฝึ กปรือนักข่าวและการประเมินผลการทางานที่มีประสิทธิภาพ
 มีการแบ่งแยกที่ชดั เจนระหว่าง โฆษณากับเนื้ อหาสาระสื่อ
องค์ กรสื่อมีมาตรฐานคุณภาพสูง
มีอสิ รภาพ ไม่อยูใ่ ต้บงั คับใคร
มีความโปร่งใสเรือ่ งใครเป็ นเจ้าของรวมทัง้ สายสัมพันธ์
อื่นๆทีจ่ ะสามารถกระทบกระเทือนเนื้อหาสาระสื่อ
มีคมู่ อื จริยธรรมสือ่ ทีช่ ดั เจน เปิ ดเผย คนในคนนอกอ่าน
เข้าใจได้อย่างดี
จุดประสงค์ ISO สื่ อ
 ช่วยองค์กรสือ่ พัฒนาระบบการจัดการ เพิม่ คุณภาพเนื้อหาสาระ
 มีขนั ้ ตอนการปรับปรุงระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ประโยชน์คนอ่านและผูท้ ส่ี ว่ น
ร่วมอื่นๆ
 สือ่ ทุกประเภททุกความคิดต้องทาตามข้อบังคับและคุณสมบัตกิ าหนดไว้
 สือ่ ไม่รบั การตรวจสอบคือสิง่ ตีพมิ พ์ลามกและส่งเสริมความเกลียดชัง
 การตรวจสอบสือ่ มีลกั ษณะเป็ นขัน้ ตอน
ขันตอน...ระบบการบริ
้
หารคุณภาพสื่อ
ฝ่ ายบริหารต้องมีเอกสารและข้อมูลที่มีผลกระทบกระเทือน
ต่อ:
-คุณภาพเนื้อหาสือ่
-ความสัมพันธ์ต่อองค์กรตรวจสอบสือ่
-ความสัมพันธ์กบั เจ้าหน้าทีบ่ า้ นเมือง
-ความสัมพันธ์กบั ผูใ้ ห้โฆษณา (กฎข้อบังคับในการับโฆษณา)
-ความสัมพันธ์กบั ผูใ้ ห้เนื้อสาระรวมทัง้ ข้อมูลข่าว
-มีขดี ความสามารถในการวัดจานวนผูอ้ ่านและความพอใจ
-มีการจัดการทัพยากรมนุ ษย์ทด่ี ี
เอกสารและคูม่ ือสื่อที่องค์กรควรมี
 วิสยั ทัศน์ขององค์กร
 คูม่ อื แนวนโยบายกองบรรณาธิการ
 กฎข้อบังคับในเรือ่ งโฆษณา
 คูม่ อื จริยธรรมนักข่าว
 คูม่ อื เกีย่ วกับการควบคุมคุณภาพ
ความรับผิดชอบผู้บริหารสื่อ
 ต้องมีคณะกรรมการดูแลคุณภาพสือ่ ภายในองค์
 ต้องกรรมการไกล่เกลีย่ เป็ นอิสระ
 ผูบ้ ริหารสือ่ ต้องชีแ้ จงความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของหรือผูถ้ อื หุน้ กับ เจ้าหน้าทีบ่ า้ นเมือง
กลุม่ การเมือง และผูใ้ ห้โฆษณา
 ผูบ้ ริหารสือ่ จัดตัง้ กลไกให้พนักงานได้รจู้ กั พูดคุยกับกลุม่ ดังกล่าว
 ในรายงานประจาปีตอ้ งมีรายละเอียดต่อไปนี้คอื : รายงานความสัมพันธ์ต่อองค์กร
วิชาชีพต่างๆ เช่นสภาหนังสือพิมพ์แห่งประเทศ ไทย ยอดขาย เสียงสะท้อนผูอ้ ่านและ
พนักงานทัวไป
่
การจัดการบุคลากรในองค์ กรสื่อควรมี:
ให้โอกาสการฝึกฝนวิชาชีพ
การรับพนักงานและการเลิกจ้างต้องโปร่งใส
ปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ทว่ี างไว้อย่างเคร่งครัด
ประเมินการทางานแบบบูรณการพนักงานแต่ละคน
กระตุน้ พนักงานให้มบี ทบาทในการปรับปรุงคุณภาพ
องค์กรและพนักงานด้วยกัน
การจัดการระบบการผลิตสื่อ องค์กรต้ อง...
 ปฏิบตั ติ ามคูม่ อื จรรยาบรรณและกฎเกณฑ์อ่นื ๆทีส่ ามารถเพิม่ คุณภาพ
โดยรวม
 มีกลไกน่าเชื่อถือในการวัดจานวนคนอ่าน
 มีคณะกรรมการพิจารณาเนื้อหาสือ่
 มีกฎเกณฑ์ชดั เจนในการประเมินบุคคลภายนอกทีเ่ ข้ามามีสว่ นในเรื่องการ
กาหนดเนื้อหาสาระสือ่
 เคารพลิขสิทธิ ์ต่อสิง่ ตีพมิ พ์ทไ่ี ม่ใช่เป็ นของตนเอง
 มีดรรชนีวดั คุณภาพสือ่ ยอดขาย เสียงร้องทุกข์สอ่ื และเสียงสะท้อนคนทัวไป
่
แนวโน้ มอนาคตสื่อไทยในระดับสากล?
 ความต้องการวิชาชีพสือ่ ในการสร้างมาตรฐานสากลในประเด็นต่างๆเกีย่ วกับสื่อ
 สือ่ ทุกประเภทมีความจาเป็ นต้องหาทางไกล่เกลีย่ ใหม่ๆระหว่างปจั จัยทางเศรษฐกิจและ
เรือ่ งมาตรฐานคุณภาพ
 สือ่ ตีพมิ พ์และสือ่ อีเล็กโทรนิคทัวโลกอยากมี
่
เครือ่ งมือเรียกความน่ าเชือ่ ถือของวิชาชีพนี้
กลับมาอย่างยังยื
่ น
คุณสมบัตนิ ักข่ าวอุดมคติพนั ธุ์ใหม่
 ซื่อสัตย์ต่อตัวเองและคนอ่าน แสวงหาความจริงทุกรูปแบบ
 รายงานข่าวที่มีการเสนอทางออก ไม่เน้ นเฉพาะแต่ความขัดแย้ง
 รู้เรื่องปรัชญาของการตลาดและการเมืองประชานิยม
 รู้ประวัติศาสตร์ไทยและศึกษาภูมิภาคอื่นๆ
 รู้ซึ้งกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูกต่างๆ
 เข้าใจข้อดีข้อเสียกระแสโลกานุวตั น์
 รู้กฎหมายอาชญกรรมระหว่างประเทศ และอื่นๆ
 เข้าใจปัญหาข้ามชาติ: โรคเอ็ดส์ โรคระบาด สิทธิมนุษยชน การก่อการร้าย
การสูญเสียพืชพันธ์และบรรยากาศโลก หลักการค้าเสรี เป็ นต้น (พูดง่ายๆ
รู้ทกุ เรื่อง เจาะลึกบางเรื่อง)
ขอบคุณ
Asean Way
สือ่ กับวิถอี าเซียน
วิถีอาเซียนเจ็ดประการ
 อาเซียนไม่แทรกแซงสมาชิกอื่น แต่...
 อาเซียนไม่ใช่กาลังทหารแก้ปญั หา แต่....
 อาเซียนใช้วธิ กี ารทูตมากกว่าการทหาร
 อาเซียนขีเ้ หนียว ประหยัด หวังเล็งผลเลิศตลอดเวลา
 ผูน้ าอาเซียนต้องคุยกันบ่อย พบกันอย่างน้อยๆปี ละสองครัง้
 อาเซียนรวมกันมีพลังต่อรอง แยกกันพากันไปตาย
 ค่าสมาชิกหนึ่งล้านห้าแสนเหรียญต่อปี ถูกมาก ได้ผลคุม้ ค่า
วิถีสื่ออาเซียน?
ASEAN Way
Thai Way
วิถีสื่อไทย
แนวโน้ มอนาคตสื่อไทยในระดับสากล?
ความต้องการวิชาชีพสือ่ ในการสร้างมาตรฐานสากลใน
ประเด็นต่างๆเกีย่ วกับสือ่
สือ่ ทุกประเภทมีความจาเป็ นต้องหาวิธอี ยูร่ ่วมระหว่าง
ปจั จัยทางเศรษฐกิจและเรือ่ งมาตรฐานคุณภาพ
สือ่ ตีพมิ พ์และสือ่ อีเล็กโทรนิกอยากมีเครือ่ งมือเรียก
ความน่าเชือ่ ถือของวิชาชีพนี้กลับมาอย่างยังยื
่ น
คุณสมบัตนิ ักข่ าวอุดมคติพันธุ์ใหม่
 ซื่อสัตย์ต่อตัวเองและคนอ่าน แสวงหาความจริงทุกรูปแบบ
 รายงานข่าวที่มีการเสนอทางออก ไม่เน้ นเฉพาะแต่ความขัดแย้ง
 รู้เรื่องปรัชญาของการตลาดและการเมืองประชานิยม
 รู้ประวัติศาสตร์ไทยและศึกษาภูมิภาคอื่นๆ (อาเซียน)
 รู้ซึ้งกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูกต่างๆ
 เข้าใจข้อดีข้อเสียกระแสโลกานุวตั น์
 รู้กฎหมายอาชญกรรมระหว่างประเทศ และอื่นๆ
 เข้าใจปัญหาข้ามชาติในและนอกอาเซียน: โรคเอ็ดส์ โรคระบาด สิทธิ
มนุษยชน การก่อการร้าย การสูญเสียพืชพันธ์และบรรยากาศโลก หลัก
การค้าเสรี เป็ นต้น (พูดง่ายๆรู้ทกุ เรื่อง แเต่เจาะลึกบางเรื่อง)
"cheizu tinbarte"
Terima kersih
ขอบคุณมาก