(2) ทีมนำติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน โดย

Download Report

Transcript (2) ทีมนำติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน โดย

แนวทางการพัฒนาเพื่อธารงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
(องค์การมหาชน)
พฤศจิกายน 2557
1
เขียนให้น้อย
คิดให้มาก
ทาให้มากที่สดุ
คุยกันต่อไปนี้ เป็ นเครือ่ งมือช่ว
I-1 การนาองค์กร
ทีมนาซักซ้อมความเข้าใจกับผูป้ ฏิบตั ิ งานแต่ละหน่ วย
ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์ ขององค์กร
และการนาค่านิยมไปปฏิบตั ิ ในงานประจาของแต่ละ
คน
(2) ที มนาติดตามความก้าวหน้ าของการพัฒนาอย่าง
สมา่ เสมอทุกเดือน โดยครอบคลุมทัง้ ในระดับ
หน่ วยงาน, PCT,และระบบงาน
(3) ที มนากาหนดเป้ าหมายความปลอดภัยของผูป
้ ่ วยและ
ติดตามการบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว
(1)
(1) ที มนาซักซ้อมความเข้าใจกับผูป
้ ฏิบตั ิ งานแต่ละหน่ วย
ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์ ขององค์กร
ผูน้ าเลื
อก keyาค่word
ของวิสยัิ บทัตั ศิ ในงานประจ
น์ ที่เหมาะสมกั
บแต่ลละะ
และการน
านิยมไปปฏ
าของแต่
หน่ วคน
ยงาน แล้วใช้คาถามว่าสมาชิกในแต่ละหน่ วยงานมี
บทบาทต่อการบรรลุความสาเร็จในประเด็นดังกล่าว
อย่างไร
ตัวอย่าง วิสยั ทัศน์ “รพ.ที่ประชาชนไว้วางใจ” นามาสู่
คาถามว่าแต่ละคนจะทางานประจาในหน่ วยงานของตน
อย่างไรเพื่อให้ประชาชนไว้วางใจ ตัง้ แต่ ER, ward, คน
สวน, พนักงานเปล,ซักฟอก ฯลฯ
(1) ที มนาซักซ้อมความเข้าใจกับผูป
้ ฏิบตั ิ งานแต่ละหน่ วย
ถึงบทบาทของตนต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์ ขององค์กร
ิ ยมในที่นาค่
ค่านและการน
ี้ หมายถึ
งค่านิยิ บมของ
รพ. และค่าของแต่
านิยมของ
านิยมไปปฏ
ตั ิ ในงานประจ
ละ
HA/HPH
คน ร่วมกัน
DOนนาค่านิยมเหล่านัน
ผูน้ าควรร่วมกั
้ มาเขีDON’T
ยนเป็ นลักษณะ
ปฏิบตั ิตอ่ เพื่อนร่วมงานด้ วยแนวคิดลูกค้ าภายใน ไม่ใส่ใจว่าเพื่อนร่วมงานต้ องการอะไร
ิ
พฤต
กรรมที่ DO & DON’T ให้ชดั ๆ และสื่อสารให้ทุกคน
รับรู้ความต้ องการและตอบสนอง
รัรับบฟั งทราบ
นางค่และหาข้
านิยอมสรุป“ร่วทมกัางานเป็
นที่อคงความคิ
ม” ดของตน ไม่มีใครยอมใคร
ความเห็นทีเช่
่แตกต่
น โต้ เถียงเพื
เพื่อนาไปปฏิบตั ิ
(2) ที มนาติดตามความก้าวหน้ าของการพัฒนาอย่าง
สมา่ เสมอทุกเดือน โดยครอบคลุมทัง้ ในระดับ
การต
ตามทPCT
าให้เและระบบงาน
กิดการขับเคลื่อน ถ้าติดตามจนเป็ น
หน่ิ ดวยงาน
ปกติ จะไม่ร้สู ึกเครียด
การติดตามอย่างสมา่ เสมอ ควรทาให้แต่ละหน่ วยงาน
แต่ละ PCT แต่ละระบบงาน ได้มีโอกาสนาเสนอผลงาน
ความก้าวหน้ าของตนอย่างน้ อยไตรมาสละครัง้
เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น แต่ละหน่ วยแต่ละเรือ่ งอาจจะ
รายงานไม่เหมือนกัน (ขอเพียงให้ไปสรุปความก้าวหน้ า
มาเล่าสู่กนั ฟัง) สิ่งที่จะรายงานอาจจะเป็ นไปได้ในรูปแบบ
(3) ที มนากาหนดเป้ าหมายความปลอดภัยของผูป
้ ่ วยและ
ติดตามการบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว
I 1 : Hand hygiene
M 1.2 : Improve the safety of high-alert drug
M 3 : Assuring medication accuracy at transition in care (Medication Reconciliation)
M 9 : Blood safety
P 1: Patients identification
P 2.1 : Effective communication –SBAR
P 2.3 : Communicating critical test results
E 1 : Response to the deteriorating patient
E 3 : Acute coronary syndrome
E 4 : Maternal & neonatal morbidity
PSG ข้างต้นคือรายการขัน
้ ตา่ ที่ทุก รพ.ควรปฏิบตั ิ อาจใช้
หลัก 3P มาช่วย
Purpose: กาหนดเป้ าหมายที่ ชด
ั เจน กาหนดตัวชี้วดั ที่มี
ความหมายและเป็ นไปได้ (บางเป้ าหมายอาจจะไม่
สามารถกาหนดตัวชี้วดั ได้)
(4) ที มนาใช้ Leadership Walkround เพื่อรับรู้ปัญหาและ
สร้างความเข้าใจกับผูป้ ฏิบตั ิ งานเกี่ยวกับคุณภาพและ
ทีมความปลอดภั
นา ควรประกอบด้
ว
ยผู
น
้
าระดั
บ
สู
ง
3-5 คน ที่
ยอย่างสมา่ เสมอทุกเดือน
สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาหน้ างานได้
ความสมา่ เสมอมีความสาคัญอย่างยิ่ง ทุกเดือนคือ
ความถี่ตา่ สุด ถ้าเป็ นไปได้ควรเป็ นทุกสัปดาห์
เป้ าหมายของการทา Leadership Walkround
• รับรู้ปัญหาและช่วยแก้ปัญหาให้ทน
ั ทีที่หน้ างาน
(ถ้าทาได้)
• รับรู้ความพยายามในการพัฒนา และให้กาลังใจ
(5) ที มนากาหนดจุดที่ ม่งุ เน้ นให้มีการปฏิบต
ั ิ และการ
พัฒนาที่ชดั เจนและติดตามผล
จุดที่ม่งุ เน้ น รพ.อาจจะเรียกว่าอะไรก็ได้ ที่เข้าใจ
ตรงกัน เช่น เข็มมุ่ง, priorities
จุดที่ม่งุ เน้ นให้มีการปฏิบตั ิ และการพัฒนา อาจจะ
พิจารณารวมกันหรือแยกกันก็ได้
ถ้าจะพิจารณาแยก
• จุดที่ ม่งุ เน้ นให้มีการปฏิบต
ั ิ คืองานปกติ เช่น Patient
Safety, เวชระเบียน
• จุดที่ ม่งุ เน้ นให้มีการพัฒนา คือความคาดหวังที่ จะมี
ทบทวน
รพ.มีจดุ ที่มงุ่ เน้ นอะไร
มีการติดตามผลอย่างไร
(6) ที มนาปรับปรุงหรือแสดงให้เห็นช่องทางการสื่อสาร
กับบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
คุณค่าสาคัญของการสื่อสารคือความเข้าใจกัน และ
ความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
สิ่งที่ควรทบทวนในเรื่องการสื่อสาร (1) กลุ่มเป้ าหมาย
(2) เนื้ อหา (3) ช่องทาง
• เนื้ อหามิได้มีเพียงนโยบาย เป้ าหมาย กิจกรรม แต่
รวมความถึงสิ่งที่คิด และเหตุผลที่คิดเช่นนัน้
• เหตุผลที่ คิดอาจจะเป็ นหลักการ ข้อมูล หรือผลการ
วิเคราะห์
ทบทวน
กิจกรรมการสื่อสารอะไรที่ทาเป็ นประจา
เนื้ อหาการสื่อสารสาคัญที่ควรเน้ นคืออะไร
ผลการสื่อสารเป็ นอย่างไร
I-2 การบริหารเชิงกลยุทธ์
(1)สรุปแผนกลยุทธ์ขององค์กรด้วย tree
diagram ลงในหนึ่ งหน้ ากระดาษ A4
พร้อมทัง้ ตัวชี้วดั ที่เกี่ยวข้อง
(2)ที มนาประเมินความยากง่ายและ
ความก้าวหน้ าของการบรรลุวตั ถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์แต่ละข้อ และตอบสนองอย่าง
เหมาะสม
(1) สรุปแผนกลยุทธ์ขององค์กรด้วย tree diagram ลงใน
หนึ่ งหน้ ากระดาษ A4 พร้อมทัง้ ตัวชี้วดั ที่เกี่ยวข้อง
ยุทธ์ 1
พันธกิจ
วิสยั ทัศน์
Goal:
KPI:
โครงการ 2.1:
ยุทธ์ 2:
การตรวจสอบงายๆ
่
เมือ
่ ทุกโครงการบรรลุวต
ั ถุประสงคท
์
จะบรรลุ goal ของยุทธศาสตรทางซ
โครงการ 2.2:
์
Obj:
KPI:
Goal:
KPI:
ยุทธ์ 3:
Goal:
KPI:
Obj:
KPI:
ตัวอย่าง tree diagram สรุปแผน
รพ.อาจใช้ชื่อเรียกที่แตกต่างออกไป
จานวนชัน้ ของการแตกแขนงอาจมากกว่า
(1) สรุปแผนกลยุทธ์ขององค์กรด้วย tree diagram ลงใน
หนึ่ งหน้ ากระดาษ A4 พร้อมทัง้ ตัวชี้วดั ที่เกี่ยวข้อง
WHY
HOW
Tree diagram ทาให้เห็นภาพรวม ตรวจสอบ
ความสัมพันธ์และความสมบูรณ์ ใช้สื่อสาร
• นาแผนมาสรุปเป็ น Tree diagram
ให้เข้าใจได้ง่าย
• ทาความชัดเจนในวัตถุประสงค์ของแต่
กล่อง (ยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ)
• ทบทวนว่ามีตว
ั ชี้วดั ตามวัตถุประสงค์
• ตรวจสอบความสมบูรณ์ ของแผนว่าเมื่อ
ทาครบถ้วนในแขนงย่อยแล้วจะบรรลุ
เจตนารมย์ของกิจกรรมนี้
เพื่อประโยชน์ ของ รพ.เองในการทบทวน
และการสื่อสารกับสมาชิก
(2) ที มนาประเมินความยากง่ายและความก้าวหน้ าของ
การบรรลุวตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์แต่ละข้อ และ
างเหมาะสมาวหน้ าในการปฏิบตั ิ
WHYตอบสนองอย่
การติดตามความก้
HOW
ตามแผนกลยุทธ์ เป็ นขัน้ ตอนสาคัญเพื่อให้
• เมื่อเริ่มต้นดาเนินการ: ประเมินความยาก
มันใจว่
่ าแผนจะบรรลุความสาเร็จ
ง่ายของแต่ละแผน เพื่อทุ่มเทความ
พยายามให้กบั แผนงานที่มีโอกาสบรรลุ
เป้ าหมายยาก
• ระหว่างดาเนินการ: ติดตาม
ความก้าวหน้ าของการดาเนินงาน
(3) ที มนาทบทวนกลยุทธ์และความก้าวหน้ าที่ เกี่ ยวข้อง
กับความปลอดภัยของผูป้ ่ วย และการทางานเป็ น
ิ ตรในพืน้ ที่ างาน
เครืความปลอดภั
อข่ายกับหน่ วยงานพั
นธม
WHY
ยของผู
้ป่วยและการท
HOW
เป็ นเครือข่าย ถือเป็ นความความสาคัญ
• ร่วมกันทบทวนเพื่อหาทางให้สองประเด็น
ระดับสูงในปัจจุบนั
นี้ ประสบความสาเร็จอย่างงดงาม
I-3 การมุ่งเน้ นผูป้ ่ วยและผูร้ บั ผลงาน
(1)แสดงให้เห็นการนาเสียงสะท้อนจาก
ผูป้ ่ วยมาปรับปรุงเพื่อตอบสนองความ
คาดหวัง เช่น พฤติกรรมบริการ เวลารอ
คอย การให้ข้อมูล
(2)ใช้กระบวนการรับรู้ความต้องการของ
ผูป้ ่ วยและชุมชนที่ได้ข้อมูลเชิงลึกมากขึน้
เช่น การทา focus group เพื่อรับฟัง
(1)แสดงให้เห็นการนาเสียงสะท้อนจากผูป
้ ่ วยมาปรับปรุง
เพื่อตอบสนองความคาดหวัง เช่น พฤติกรรมบริการ
เวลารอคอย
การให้ข้อมูล องการและความ
WHY
การตอบสนองความต้
HOW
คาดหวังของผู้ป่วย เป็ นหน้ าที่ขององค์กร
• สรุปบทเรี
ย
นการปรั
บ
ปรุ
ง
ที
่
ไ
ด้
ท
ามาแล้
ว
และของวิชาชีพ
• ใช้มม
ุ มองใหม่ๆ ในการจัดระบบงานเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของทัง้ สองฝ่ าย
ผูใ้ ห้บริการมีความสุข ผูร้ บั บริการได้รบั
การตอบสนอง
(2) ใช้กระบวนการรับรู้ความต้องการของผูป
้ ่ วยและ
ชุมชนที่ได้ข้อมูลเชิงลึกมากขึน้ เช่น การทา focus
group
เพืบ่อฟั
รับงฟัสงิ่ งประสบการณ์
องผูป้ ่ าคั
วยและญาต
WHY
การรั
ที่ผป้ ู ่ วยให้คขวามส
ญ หรือ ิ
HOW
ประสบการณ์ของผู้ป่วย มีส่วนต่อการดูแล
•ที่ ป
สัลอดภั
งเกตผูย้ปส่ วย
/ครอบครั
าหรั
บผู้ป่วย วที่อยากจะบอกบาง
สิ่งบางอย่างให้เราทราบ และรับฟังอย่าง
ตัง้ ใจ
• จัดเวที ให้กลุ่มผูป
้ ่ วยมีโอกาสมาเล่า
ประสบการณ์ในการเข้ารับบริการให้ทีมผู้
I-4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้
มีการทบทวนตัวชี้วดั ที่สาคัญซึ่งจะใช้วดั ความสาเร็จของ
องค์กร และการ align ตัวชี้วดั เหล่านี้ ไปทัง้ องค์กรคู่กบั
ตัวชี้วดั สาคัญของแต่ละหน่ วยงาน/ระบบงาน ที่อาจมี
เพิ่มเติม
(2) แสดงให้เห็นการวิเคราะห์ข้อมูลสาคัญที่ เชื่อมโยงผลลัพธ์
ของการพัฒนากับความพยายามในการพัฒนาหรือ
ทรัพยากรนาเข้าที่ใส่เข้าไปหรือลักษณะความเจ็บป่ วยที่
เปลี่ยนแปลงไปอย่างน้ อย 1 เรื่อง
(3) แสดงให้เห็นการตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ระบบ
สารสนเทศ/เทคโนโลยีสารสนเทศ และความต้องการที่อยู่
(1)
(1) มีการทบทวนตัวชี้วด
ั ที่สาคัญซึ่งจะใช้วดั ความสาเร็จ
ขององค์กร และการ align ตัวชี้วดั เหล่านี้ ไปทัง้ องค์กร
คู่กบการวั
ั ตัวชี้วดดั ผลจะท
สาคัญของแต่
วยงาน
ระบบงาน
WHY
่ห่า/งจาก
าให้ร้วู ล่าะหน่
เราอยู
HOW
เป้ าหมายเพียงใด
•การวั
พิจารณาเป้
าหมายส
าคั
ญ
ของ
รพ
.
สั
ก
2-3
ดที่ดี ควรจากัดเฉพาะตัวชี้วดั ที่สาคัญ
ประเด็น องกันทัง้ รพ.
และสอดคล้
• ทบทวนว่าในแต่ละเป้ าหมาย มีตว
ั ชี้วดั
ความสาเร็จอะไรบ้าง มีการเชื่อมโยงระบบ
การวัดลงไปสู่หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างไร
(2) แสดงให้เห็นการวิเคราะห์ข้อมูลสาคัญที่ เชื่อมโยง
ผลลัพธ์ของการพัฒนา กับความพยายามในการ
พัฒนา หรือทรัพยากรนาเข้าที่ใส่เข้าไป หรือลักษณะ
WHY การวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัด ควรนาไปสู่
ความเจ็บป่ วยที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างน้ อย 1 เรื่อง
ข้อสรุปบทเรียนว่าสิ่งที่ทาไปนัน้ ก่อให้เกิด
HOW
แนวโน
ิ นใจใน
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพื่อใช้ตดัวิเสคราะห
์
ทรัพอนาคต
ยากร
ความพยายามใน
การ
นาเข้า
ลักษณะความ
เจ็บป่ วยที่
เปลี่ยนแปลง
การพัฒนา
เปลี่ยนแปลง
ิ
ระดับกิจกรรมการ
ที
่
เ
ก
ด
ขึ
น
้
วิเคราะหความสั
ม
พั
น
ธ
์
์
พัฒนา
(3)แสดงให้เห็นการตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้
ระบบสารสนเทศ/เทคโนโลยีสารสนเทศ และความ
ต้อIT
งการที
่อยู่ในแผนด
การ างานที่มี
WHY
มีความจ
าเป็ นาเน
ต่อิ นการท
HOW
ประสิทธิภาพ, การรับรู้ความต้องการใช้ IT
ในภาพรวมมีความสาคัญในการพัฒนาระบบ
ผูใ้ ช้/ความ
ต้องการ
การตอบสนอง
(ระบบที่ มีใช้อยู่
แล้ว)
แผนดาเนินการ
(4)วิเคราะห์ความเสี่ยงของระบบสารสนเทศและวาง
แนวทางป้ องกันที่เหมาะสม
WHY
Information Security มีความสาคัญต่อการ
HOW
ให้บริการของ รพ.
ความเสี่ยง
Power
supply
Virus
Computer
Confidential
ity
แนวทางป้ องกันที่มีอยู่
(5) ระบุความรู้ที่จาเป็ นสาหรับองค์กร โดยเชื่อมโยงมา
จากทิศทางองค์กรและความสามารถ/ความเชี่ยวชาญ
องค์การจั
กรที่รดะบุการความรู
ไว้
WHY
้ที่ดีเริ่มต้นจากการระบุ
HOW
ความรู้ที่จาเป็ นสาหรับ รพ.
ความรู้ที่
จาเป็ น
แหล่งความรู้
ของ รพ.
แนวทางการจัดการ
ความรู้
ความรูท้ จ่ี าเป็ นมีทงั ้ ความรูใ้ นตาราและความรูเ้ ชิงปฏิบตั ิ
แหล่งความรูอ้ าจอยูใ่ นรูปฐานข้อมูลหรือตัวบุคคล
แนวทางการจัดการความรูค้ อื การทาให้ความรูเ้ ชิงปฏิบตั ใิ นตัวคนออกมาอยูใ่ นรูปทีส่ อ่ื สารถ่ายทอดได้
(6) จัดทาบัญชีรายการการใช้ scientific evidence หรือ
CPG และประเมินcompliance ในประเด็นสาคัญว่า
ปฏิEvidence-based
บตั ิ ได้ประมาณเท่าไรpractice นามาสู่การดูแล
WHY
HOW
ผู้ป่วยที่เหมาะสมและได้ผล
Evidence/CPG
Compliance
(อัตราการปฏิบต
ัิ
ตามแนวทางที่
กาหนดไว้)
Clinical outcome
(ถ้ามี)
(7) รวบรวม tacit knowledge ที่ เกิดขึน
้ จากกิจกรรม
ทบทวนต่างๆ ในลักษณะ bullet
WHY
ความรู้เชิงปฏิบตั ิ จากการทบทวนเป็ นสิ่งที่มี
คุณค่าในการป้ องกันปัญหาในอนาคต
HOW
กิจกรรมทบทวน
ความรู้เชิงปฏิบตั ิ ที่ได้รบั จากการ
ทบทวน
I-5 การมุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล
(1) แสดงให้เห็นปั จจัยที่ มีผลต่อความผูกพันสาหรับ
บุคลากรแต่ละกลุ่มและความพยายามที่จะเพิ่มความ
ผูกพันตามปัจจัยเหล่านัน้
(2) ระบุ technical competency ที่ ต้องพัฒนาซึ่งเป็ นผลมา
จากกิจกรรมทบทวนต่างๆ และการพัฒนา
competency ที่ เกิดขึน
้
่น
(3) สรุปเกณฑ์สาคัญที่ ใช้ในการประเมินผลงานในปี ที่ ผา
มาว่ามุ่งเน้ นให้บคุ ลากรมีการปฏิบตั ิ และปรับปรุงตัวไป
ในทิศทางใด ผลที่เกิดขึน้ เป็ นอย่างไร มีการนามา
(1) แสดงให้เห็นปั จจัยที่ มีผลต่อความผูกพันสาหรับ
บุคลากรแต่ละกลุ่มและความพยายามที่จะเพิ่มความ
ผูกพั
นตามปักจพัจัน
ยเหล่
านัน้คลากร ทาให้บค
WHY
ความผู
ของบุ
ุ ลากร
ทางานอย่างมีความสุข และ รพ.บรรลุผล
จ ปัจจัยความ การเพิ่มความผูกพัน
กลุ่มบุสคาเร็
ลากร
HOW
ผูกพัน
(2) ระบุ technical competency ที่ ต้องพัฒนาซึ่งเป็ นผล
มาจากกิจกรรมทบทวนต่างๆ และการพัฒนา
competency
ที่เกกิ ดยภาพบุ
ขึน้
WHY
การพัฒนาศั
คลากรที่ดี คือการ
พัฒนาเพื่อให้ทาหน้ าที่ที่รบั ผิดชอบได้อย่าง
สมบูรณ์Competency
ซึ่งโอกาสพัทีฒ่ นาส่วการพั
นหนึ่ฒงได้
กิจกรรม
นามาจาก
กิจกรรมทบทวน
ทบทวน
ต้องพัฒนา competency บุคลากร
HOW
(3) สรุปเกณฑ์สาคัญที่ ใช้ในการประเมินผลงานในปี ที่
ผ่านมาว่ามุ่งเน้ นให้บคุ ลากรมีการปฏิบตั ิ และปรับปรุง
ิ ศทางใด ผลที่เกิดขึน้ เป็ นอย่างไร มีการ
ตั
ว
ไปในท
WHY Performance Management System มี
นามาปรับปรุงอย่างไร
เป้
าหมายเพื
่
อ
ให้
บ
ค
ุ
ลากรรั
บ
รู
ค
้
วามคาดหวั
ง
HOW
ิ
ิ
ขององค์
ก
ร
และปฏ
บ
ต
ั
ต
ามความคาดหวั
ง
จุดเน้ นของการ
ผลการใช้จดุ เน้ นดังกล่าวใน
ดังกล่ินาผลงาน
ว
ประเม
การประเมิน
(4) แสดงให้เห็นวิธีการจัดการกับปั ญหาบุคลากรไม่
เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหน่ วยงานที่สาคัญหรือ
มี
ค
วามเสี
่
ย
งสู
ง
WHY บุคลากรไม่เพียงพอเป็ นปั ญหาทุกที่ แต่ มี
ความสาคัญสาหรับหน่ วยงานที่สาคัญหรือ
HOW
ดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง จาเป็ นต้องมี
หน่ วยงานที่สาคัญ/ดูแล แนวทางการจัดอัตรากาลัง
หลักประกันว่าผูป้ ่ วยจะได้รบั การดูแลอย่าง
ผูป้ ่ วยที่เสี่ยงสูง
ปลอดภัย
(5) แสดงให้เห็นแนวโน้ มของผลการสร้างเสริมสุขภาพ
และการดูแลสุขภาพของบุคลากร
WHY
บุคลากรสุขภาพควรเป็ นแบบอย่างที่ดีใน
การสร้างเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพ
HOW
กลุ่มบุคลากร
กลุมปกติ
่
กลุมเสี
่ ่ ยง
กลุมที
่ โี รค
่ ม
ประจาตัว
กิจกรรม
แนวโน้ มผลลัพธ์ที่
เปลี่ยนแปลง
I-6. การจัดการกระบวนการ
(1) แสดงให้เห็นว่ามีความร่วมมือกับองค์กร/หน่ วยงาน
ภายนอกทัง้ ในภาคสุขภาพและภาคส่วนอื่นๆ อย่างไร
เพื่อให้บรรลุพนั ธกิจขององค์กร แต่ละองค์กรมีบทบาท
อย่างไร มีความคาดหวังต่อองค์กรดังกล่าวอย่างไร
ผลงานที่ผา่ นมาเป็ นอย่างไร มีการสื่อสารกันอย่างไร
(2) ที มนาติดตามการนาแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(purpose, process design & deployment,
performance monitoring & improvement) ไปใช้ใน
แต่ละระบบงานและหน่ วยงาน และตอบสนองอย่าง
เหมาะสมทัง้ การยกย่องชมเชยและการกระตุ้น
(1) แสดงให้เห็นว่ามีความร่วมมือกับองค์กร/หน่ วยงาน
ภายนอกทัง้ ในภาคสุขภาพและภาคส่วนอื่นๆ อย่างไร
เพื่อให้บรรลุพนั ธกิจขององค์กร แต่ละองค์กรมี
WHY
บทบาทอย่
งต่อองค์กรดังกล่
าว
ความร่าวงไร
มมืมีอคกัวามคาดหวั
บหน่ วยงานภายนอกมี
ความ
อย่าจงไร
ผลงานที
่ผบา่ การแก้
นมาเป็ นปอย่
างไรขมีภาพในพื
การสื่อสารกั
น่
าเป็
น
ส
าหรั
ั
ญ
หาสุ
้
น
ที
HOW
อย่างไร
เป้ าหมายของ
รพผลงาน
.
หน่ วและการบรรลุ
ยงาน
ความคาดหวั
ง
ภายนอก
(2) ที มนาติดตามการนาแนวคิดการจัดการกระบวนการ
ไปใช้ในแต่ละระบบงานและหน่ วยงาน และตอบสนอง
WHY
อย่าการใช้
งเหมาะสมทั
ง้ การยกย่
้น
PDCA
หรือ 3Pองชมเชยและการกระตุ
กับกระบวนการ ทาให้
HOW
เกิดการทางานอย่างเป็ นระบบ และบรรลุ
•เป้ ทีาหมาย
มนาทบทวนแนวคิด process
management ของ รพ.
• ที มนาติดตามการบรรลุเป้ าหมายของ
ระบบงานและหน่ วยงานต่างๆ
• ที มนาให้การยกย่องชมเชยระบบงาน/
หน่ วยงานที่เป็ นตัวอย่างในการนา process
(2) ที มนาติดตามการนาแนวคิดการจัดการกระบวนการ
ไปใช้ในแต่ละระบบงานและหน่ วยงาน และตอบสนอง
่าระบบงาน
ตัวอย่างที
่จะบอกได้วง้ การยกย่
/หน่ วยงานมีการใช้แ้น
นวคิดก
งเหมาะสมทั
องชมเชยและการกระตุ
คือความสามารถที่จะตอบคาถามต่อไปนี้
เป้ าหมาย
กระบวนการ ข้อกาหนด/สิ่งที่
สาคัญ
คาดหวัง
ตัววัด/ผลลัพธ์
(ขอมู
้ ลของแตละหน
่
่ วยงาน/ระบบงาน)
(3) ที มนาส่งเสริมให้มีระบบ feed back ข้อมูลระหว่าง
หน่ วยงานในฐานะ internal customer และสรุปผลการ
WHY
ิ ดขึน้ ขึน
ตอบสนองส
าคัญที่เงก้ ระบบ
คุณภาพของทั
้ กับ the weakest
HOW
•link
แต่ภายในระบบ
ละหน่ วยงานวิเคราะห์ internal
customer หลักของตน
สร้างช่องทางรับฟังเสียงสะท้อนหรือ feed
back จาก internal customer ทัง้ ที่ เป็ น
Internal
เสียงสะท้อน
การปรับปรุง
ทางการและไม่เป็ นทางการ
Customer
• นาเสียงสะท้อนและอุบต
ั ิ การณ์ที่เคยเกิดมา
•
(ขอมูลระดับหนวยงาน)
(4) ที มนาทบทวนความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบต
ั ิ ที่
อาจทาให้บริการของ รพ.ต้องหยุดชะงัก และภาวะ
WHY
ฉุกการเตรี
เฉินที่ทาให้
มีภาระบร
มากขึ
ยมพร้
อมรับิการเพ
มือ ทิ่ มาให้
บน้ ริการไม่
HOW
หยุดชะงัก และ รพ.ไม่ปัน่ ป่ วน
ภัยพิบตั ิ /ภาวะฉุกเฉินที่มี ความพร้อมในการรับมือ
โอกาสกระทบ รพ.
II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย
และคุณภาพ
(1) สรุปการปรับปรุงระบบงานเพื่อป้ องกันความ
เสี่ยงที่สาคัญ และผลการ monitor ตัวชี้วดั
เกี่ยวกับระบบงานดังกล่าว
(2) ทบทวนและปรับปรุงความสมา่ เสมอ/ความ
ครอบคลุมในการทากิจกรรมทบทวนคุณภาพ
(3) สรุปตัวชี้วด
ั ที่แสดงผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพ
ทางคลินิกในกลุ่มผูป้ ่ วยสาคัญ
(1) สรุปการปรับปรุงระบบงานเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงที่
สาคัญ และผลการ monitor ตัวชี้วดั เกี่ยวกับระบบงาน
WHY
ดังกล่
าว ยมพร้อมและการกากับติดตาม เป็ น
การเตรี
บทบาทสาคัญในการบริหารความเสี่ยงของ
รพ. ่ยง การปรับปรุงเพื่อ ผลการ monitor
ความเสี
HOW
สาคัญ
ป้ องกัน
ตัวชี้วดั ที่เกี่ยวข้อง
(2) ทบทวนและปรับปรุงความสมา่ เสมอ/ความ
ครอบคลุมในการทากิจกรรมทบทวนคุณภาพ
การทบทวนคุณภาพคือการสร้างวัฒนธรรม
HOW การเรียนรู้ และเป็ นวิธีการค้นหาเหตุการณ์
ไม่พึงประสงค์จความถี
ากรอบด้
กิจกรรมทบทวน
่/ าน ความครอบคลุม
WHY
คุณภาพ
สมา่ เสมอ
(3) สรุปตัวชี้วด
ั ที่แสดงผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพทาง
ิ
ิ
่
คล
น
ก
ในกลุ
ม
ผู
ป
้
่
วยส
าคั
ญ
WHY
HOW
พันธกิจของ รพ.คือการดูแลผู้ป่วย การ
พัฒนาคุณภาพของ รพ.จึงควรแสดงให้เห็น
ผลลัพธ์การดูแลที่ดีขึน้
กลุ่มผูป้ ่ วย/โรค
การพัฒนา
คุณภาพ
ผลลัพธ์/แนวโน้ ม
II-2.1 การบริหารการพยาบาล
(1)สรุปการปรับปรุงระบบการนิเทศทางการ
พยาบาลและผลลัพธ์ที่เกิดขึน้
(2)สรุปผลงานการพัฒนาคุณภาพตามจุดเน้ น
ของฝ่ ายการพยาบาล/ขององค์กร
(3)ตัวอย่างการปรับปรุงระบบงานร่วมกับ
วิชาชีพอื่น การพัฒนาวิชาชีพและพัฒนา
บุคลากรทางการพยาบาล
(1) สรุปการปรับปรุงระบบการนิเทศทางการพยาบาลและ
ิ
ผลลั
พ
ธ์
ท
่
ี
เ
ก
ด
ขึ
น
้
WHY
HOW
การนิเทศทางการพยาบาลคือเครื่องมือการ
บริหารที่สาคัญของผูน้ าทางการพยาบาล
การปรับปรุงระบบนิเทศ
ทางการพยาบาล
ผลลัพธ์ที่เกิดขึน้
(2) สรุปผลงานการพัฒนาคุณภาพตามจุดเน้ นของฝ่ าย
การพยาบาล
/ขององค์กร
WHY
HOW
การดูแลทางการพยาบาลเป็ นส่วนที่อยู่กบั
ผู้ป่วยตลอดเวลา สะท้อนมุมมองที่เป็ นองค์
กรวม และมีโอกาสป้ องกันอุบตั ิ การณ์ได้สงู
การพัฒนาตามจุดเน้ นของ
ฝ่ าย/องค์กร
ผลลัพธ์ที่เกิดขึน้
(3) ตัวอย่างการปรับปรุงระบบงานร่วมกับวิชาชี พอื่น การ
พัฒนาวิชาชีพและพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล
WHY
บทบาทสาคัญของผูบ้ ริหารการพยาบาล
HOW
สรุปกิจกรรมการพัฒนา
การปรับปรุง
ระบบงานรวมกั
บ
่
วิชาชีพอืน
่
การพัฒนา
วิชาชีพ
II-2.2 องค์กรแพทย์
(1) ขอให้สรุปนโยบายหรือข้อตกลงที่ แพทย์
ยอมรับที่จะใช้ร่วมกันเพื่อคุณภาพและความ
ปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย โดยอย่างน้ อย
ครอบคลุมกรณี ที่มีการทบทวนคุณภาพหรือ
เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
(2) ขอให้สรุปการพัฒนาที่ แพทย์ให้การสนับสนุน
หรือร่วมมือกับวิชาชีพ/ระบบงานต่างๆ เช่น
ระบบยา IC การดูแลผู้ป่วยเรือ้ รัง
(1) ขอให้สรุปนโยบายหรือข้อตกลงที่ แพทย์ยอมรับที่ จะ
ใช้ร่วมกันเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแล
ผูป้ ่ วย โดยอย่างน้ อยครอบคลุมกรณี ที่มีการทบทวน
WHY ข้อตกลงที่ ชด
ิ
ิ
่
ั
เจนน
าไปสู
ก
ารปฏ
บ
ต
ั
ท
่
ี
ค
งเส้
น
คุณภาพหรือเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
คงวา และมีโอกาสป้ องกันปัญหาที่เคย
้ หรือคาดการณ์ที่ว่าจะเกิดขึน้ ได้
HOW เกิดขึน
โดยเฉพาะอย่
านโยบาย
ยิ่งในบร
ทที่มีการหมุนเวียน
กระบวนการ
/
/ข้ิ บ
อตกลงทางการแพทย์
สถานการณ์
ของแพทย์อยู่ตลอดเวลา
(2) ขอให้สรุปการพัฒนาที่ แพทย์ให้การสนับสนุนหรือ
ร่วมมือกับวิชาชีพ/ระบบงานต่างๆ เช่น ระบบยา IC
WHY
การดู
แลผูป้ ว่ วยเรื
ง างวิชาชีพมีความสาคัญ
ความร่
มมื อ้ รัระหว่
HOW
ต่อการดูแลผูป้ ่ วย
วิชาชีพ/
ระบบงาน
สรุปกิจกรรมการพัฒนา
(3) ขอให้แสดงถึงความร่วมมือของแพทย์ในพืน
้ ที่ที่อยู่
ต่างองค์กร ในการขอคาปรึกษา การทบทวนกรณี
ผูป้ ่ วย การส่งต่อ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนา
WHY ในบริบทของ รพ.ชุมชนที่ มีแพทย์จานวน
ศักยภาพของแพทย์และวิชาชีพที่ทางานร่วมกัน
น้ อย ความร่วมมือกับแพทย์ใน รพ.อื่น
วมมือทีง่เกว่
กิดาขึจึน้ งมี
โดยเฉพาะ รพ.ที่มความร่
ีศกั ยภาพสู
การขอ
ความสาคัญ
HOW
คาปรึกษา
การทบทวน
ผู้ป่วย
การส่งตอ
่
II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผูป้ ่ วย
(1) สรุปผลการสารวจและปรับปรุงอาคารสถานที่ และ
สิ่งแวดล้อมในรอบปี ที่ผา่ นมา
(2) สรุปกิจกรรมเกี่ยวกับการป้ องกันอันตรายและการ
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเมื่อเกิดอัคคีภยั
รวมทัง้ บทเรียนจากการฝึ กซ้อม
(3) สรุปบัญชีรายการวัสดุ/ของเสียอันตราย ที่ เก็บ
มาตรการความปลอดภัย และข้อมูลที่แสดงการ
กากับดูแล
(4) สรุปข้อมูลที่ ใช้ในการบริหารจัดการเครื่องมือและ
(1) สรุปผลการสารวจและปรับปรุงอาคารสถานที่ และ
สิ่งแวดล้อมในรอบปี ที่ผา่ นมา
WHY
HOW
เพื่อความปลอดภัยด้านอาคารสถานที่และ
สิ่งแวดล้อม
ผลการสารวจ
การปรับปรุง
(2) สรุปกิจกรรมเกี่ยวกับการป้ องกันอันตรายและการ
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเมื่อเกิดอัคคีภยั รวมทัง้
บทเรี
ย
นจากการฝึ
กซ้
อ
ม
WHY
รพ.เป็ นอาคารสาธารณะ ต้องรับผิดชอบใน
HOW
การป้ องกันความสูญเสียจากอัคคีภยั
การป้องกัน
อัคคีภย
ั
การเตรียม
ความพรอม
้
บทเรียนจาก
การฝึ กซ้อม
(3) สรุปบัญชีรายการวัสดุ/ของเสียอันตราย ที่ เก็บ
มาตรการความปลอดภัย และข้อมูลที่แสดงการกากับ
ดูแลเป็ นความรับผิดชอบของ รพ.ที่จะต้องจัดการ
WHY
HOW
กับวัสดุอนั ตรายอย่างปลอดภัย
วัสดุ/ของเสีย ที่เก็บ มาตรการความ
อันตราย
ปลอดภัย
การกากับ
ดูแล
(4) สรุปข้อมูลที่ ใช้ในการบริหารจัดการเครื่องมือและ
ระบบสาธารณูปโภค เช่น ความเพียงพอ ความพร้อม
ใช้ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุง การสอบเทียบ แผนการ
WHY ข้อมูลเป็ นเครื่องมือสาคัญสาหรับการบริหาร
จัดหาเพิ่มเติม/ทดแทน
ที่มีประสิทธข้ิ ภอาพ
มูลเกี่ยวกับเครื่องมือและระบบ
สาธารณูปโภค
ความเพียงพอ
ความพรอมใช
้
้
คาใช
่
้จายใน
่
การซ่อมบารุง
การสอบเทียบ
(5) ทบทวนข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการบาบัดน้า
เสียและการจัดการขยะ
WHY
ข้อมูลเป็ นเครื่องมือสาคัญสาหรับการบริหาร
ที่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ
ระบบ
ระบบบาบัดน้า
เสี ย
การจัดการขยะ
(6) สรุปการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
และการเยียวยา
WHY
HOW
สิ่งแวดล้อมสามารถใช้เป็ นเครือ่ งมือในการ
เยียวยาได้
การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เพือ
่ การสราง
้
เสริมสุขภาพ
เพือ
่ การเยียวยา
II-4 การป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ
(1) ทบทวนความเสี่ยงและแนวโน้ มของอัตรา
การติดเชื้อที่สาคัญของ รพ. ในรอบสามปี ที่
ผ่านมา สรุปบทเรียนและจัดทาแผนพัฒนา
(2) ประเมินการปฏิบต
ั ิ ในเรื่อง hand hygiene,
การใช้ PPE, standard precaution, isolation
precaution
(3) ทบทวนประสิทธิภาพของการเฝ้ าระวังการติด
เชื้อ
(1) ทบทวนความเสี่ยงและแนวโน้ มของอัตราการติดเชือ
้
ที่สาคัญของ รพ. ในรอบสามปี ที่ผา่ นมา สรุปบทเรียน
และจั
นา
WHY
ใช้ดขท้อาแผนพั
มูลเพื่อฒการวางแผนพั
ฒนา
HOW
การติดเชื้อ
อัตรา/
แนวโน้ ม
บทเรียน/แผนพัฒนา
(2) ประเมินการปฏิบต
ั ิ ในเรื่อง hand hygiene, การใช้
PPE, standard precaution, isolation precaution
มาตรการเหล่านี้ มีความสาคัญต่อการ
HOW ป้ องกันการติดเชื้อใน รพ. ซึ่ งต้ องทาให้ มนใจ
ั่
มาตรการ
ว่าสมาชิกประเม
ปฏิบตินั ิ การ
อย่างเคร่งแผนการพั
ครัด ฒนา
WHY
ปฏิบตั ิ
Hand
hygiene
การใช้ PPE
Standard
Precaution
(3) ทบทวนประสิทธิภาพของการเฝ้ าระวังการติดเชื้อ
WHY
HOW
การเฝ้ าระวังการติดเชื้อทาให้มีข้อมูลเพื่อใช้
ประเมินระบบ และป้ องกันการระบาดได้
•ทัน
เทีท่ยวบกั
งที บอัตราการติดเชื้อใน รพ.ที่มีลกั ษณะ
เดียวกัน
• ทบทวนเวชระเบียนที่มีการทาหัตถการหรือ
สอดใส่อปุ กรณ์
• ทบทวนเวชระเบียนที่สงสัยว่าจะมีการติด
เชื้อแต่ไม่สามารถสรุปผลว่าติดเชื้อได้
II-5 ระบบเวชระเบียน
(1) สรุปแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของความ
สมบูรณ์ของเวชระเบียน
(2) สรุปประเด็นที่ ได้จากการทบทวนคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยจากเวชระเบียน และการนา
ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผนและ
ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย
(1) สรุปแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของความสมบูรณ์ ของ
เวชระเบี
ย
น
WHY
HOW
ความสมบูรณ์ของเวชระเบียนเป็ นส่วนหนึ่ ง
ของคุณภาพการดูแลผู้ป่วย จะเน้ นความ
สมบูรณ์อย่างไร ควรเป็ นไปเพื่อประโยชน์ ใน
การดูแลผู้ป่วย
2555
2556
2557
Admission
note
Progress note
Nurse note
(2) สรุปประเด็นที่ ได้จากการทบทวนคุณภาพการดูแล
ผูป้ ่ วยจากเวชระเบียน และการนาข้อมูลไปใช้
WHY
เวชระเบี
ยนคือร่องรอยคุณ
ภาพการดู
แลป้ ่ วย
ประโยชน์
ในการวางแผนและปรั
บปรุ
งการดูแลผู
HOW
ผู้ป่วยที่เราสามารถเรียนรู้ได้
ประเด็นที่ได้จากการ
ทบทวน
การนาไปใช้ประโยชน์ ใน
การดูแลผูป้ ่ วย
II-6 ระบบจัดการด้านยา
(1) นาข้อมูลแนวโน้ มของการเกิด medication
error/adverse drug event มาวิเคราะห์และ
วางแผนตอบสนอง
(2) สรุปข้อมูลประสิทธิภาพของระบบบริหาร
เวชภัณฑ์
(1) นาข้อมูลแนวโน้ มของการเกิด medication
error/adverse drug event มาวิเคราะห์และวางแผน
เพื่อเป้ าหมายความปลอดภัยในการใช้ยาที่
ตอบสนอง
WHY
HOW
เพิ่มขึน้
แนวโน้ มการเกิด ME/ADE แผนการปรับปรุง/ผลลัพธ์
(2) สรุปข้อมูลประสิทธิภาพของระบบบริหารเวชภัณฑ์
WHY
HOW
เพื่อเป้ าหมายประสิทธิภาพของระบบบริหาร
เวชภัณฑ์น
แนวโน้ มการเกิด ME/ADE แผนการปรับปรุง/ผลลัพธ์
II-6 ระบบจัดการด้านยา
(1) นาข้อมูลแนวโน้ มของการเกิด medication
error/adverse drug event มาวิเคราะห์และ
วางแผนตอบสนอง
(2) สรุปข้อมูลประสิทธิภาพของระบบบริหาร
เวชภัณฑ์