Japanese Encephalitis - cyberlab.lh1.ku.ac.th

Download Report

Transcript Japanese Encephalitis - cyberlab.lh1.ku.ac.th

Japanese
Encephalitis
Japanese Encephalitis
►JEV
เป็ นสาเหตุของ epidemic
encephalitis ทีส่ าคัญทีส่ ุ ดในโลก
►ไวรัสคงอยู่ในธรรมชาติได้ อย่ างซับซ้ อนและน่ าทึง่ เกีย่ วพัน
กับสั ตว์ หลายชนิดทั้งนก สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม และแมลงที่
เป็ น vectors
Definition
►การติดเชื้อไวรัสใน neuron
ของสมอง ทาให้ เกิด ไข้
คลืน่ ไส้ อาเจียน ท้ องเสี ย ปวดหัว ซึม โคม่ า และตาย การ
ติดต่ อระหว่ างคนและสั ตว์ โดยแมลงพาหะคือ ยุง ไวรัส
ก่ อให้ เกิดสมองอักเสบจากการที่มนั penetrate เข้ า
ไปทาให้ เซลสมองติดเชื้อ ตามมาด้ วยอาการทางคลินิกของ
viremia ทีไ่ ม่ ชัดเจนเป็ นระยะสั้ นๆ
Epidemiology (JE)
Amplifying host
หมู นก (เช่ น นกกระยาง นกกานา้ นกกระสา) มี
อัตรา seroconversion สู งจึงเป็ น
virus amplification พบ
viremia 2-5 วัน (อาจนานกว่ านี)้
anti JEV antibody
titers ระดับสู ง
(หมา<แกะ<ฬ่ อ<ม้ า)
คน
ตระกูล Bovine
Domestic fowl และ
สั ตว์ เลือ้ ยคลาน
ไม่ เกิด seroconversion หรือ
viremia สั้ น ไตเตอร์ ต่า
dead-end hosts
ไม่ ขยายต่ อหรือต่ อไปสั ตว์ อนื่
South Asia,
Southeast Asia,
East Asia
Transmission (JEV)
►บริเวณทีม
่ กี ารปลูกข้ าวทั้งปี
เป็ นบริเวณทีม่ อี ุบัตกิ ารสู ง
โดยเฉพาะฤดูฝน
►Culex spp. mosquitoes
►vehicle ของ transmission = นา้ ลายยุง
ทีต่ ิดเชื้อ
►Cx.
fuscocephala, Cx. geledus
ในประเทศไทย
Animal infections (JEV)
- PIG
►ในหมู Non-immune จะเกิดการติดเชือ้ ได้ ภายใน 1
สัปดาห์ และเกิด antibodies หลังจากนัน้ 3 สัปดาห์
►ยุงมีนิสัยชอบกัดสัตว์ ใหญ่ มากกว่ า
►พบหมูตด
ิ เชือ้ ในขณะที่ไม่ มีเชือ้ ในคน = ยุงมี
different preference.
►การวินิจฉัย
การแยกเชื้อไวรัส จากตัวอย่ าง
serum; การพบ seroconversion
(HI, ELISA)
►การป้ องกัน: live attenuated JE
vaccine
Animal infections (JEV)
- HORSE
►อาการ: ติดเชื้อแบบไม่ แสดงอาการ หรือ fatal
encephalitis
►วินิจฉัย: แยกเชื้อไวรัสจากสมอง; การหา IgM
specific antibodies โดยวิธี ELISA
►Prevention : vaccine
อาการในคน
►โดยมากการติดเชื้อเป็ นแบบไม่ แสดงอาการ มีแค่ ประมาณ 1 ใน
25-1000 รายทีม่ ีอาการป่ วย
►อาการป่ วย = encephalitis
►ในรายทีอ่ าการน้ อยกว่ า = aseptic meningitis
หรือเป็ นแค่ ไข้ ปวดหัว
►คนที่แค่ มีอาการง่ วงเหงา (lethargy) มีประมาณ 33%
ถึง 50% ที่สามารถฟื้ นได้ โดยอาจมีอาการทางประสาท
หลงเหลือ
►เด็กอายุน้อยกว่ า 10 ปี มักตาย หรือถ้ ารอดจะมีโอกาสเกิด
อาการหลงเหลือว่ ามีการบกพร่ องทางระบบประสาทมากกว่ า
►ทัว่ ไปแล้ วผู้ป่วย 1/3 แสดงอาการ neurological
disability อยู่ ได้ แก่ ความจาเสื่ อม การรับรู้ ผดิ ไป
พฤติกรรมเปลีย่ น ชัก motor weakness oรือ
paralysis และมีความผิดปกติของ tone และ
coordination.
►ในเด็กมักพบ Persistent EEG
abnormalities
อาการทางประสาท
กัมพูชา จีน ลาว พม่ า ไทย เวียดนาม
Public Health Aspect
►การรายงานและ Surveillance: มีไม่ กรี่ ายที่
สามารถบอกสาเหตุได้
►การป้ องกัน: ในอินเดียใช้ bovine เป็ น
‘blocking host’, ทาวัคซีนในหมู และทาการ
ควบคุมยุง
►การทาวัคซีนในหมูอย่ างเดียว =
ineffective
►การควบคุม vector จะสาเร็จเมือ่ ช่ วงฝนตกชุ กซา
ลง
►เมือ่ เกิด epidemic ต้ องทา integrated
pest management ซึ่งอาจเป็ นทางเดียว
ในการลด JEV transmission
►Physical
separation of vector
and human population by at
least 3 km ทาให้ อตั ราเสี่ ยงลดลงรวดเร็ว
►ใส่ ม้ ุง
►ไม่ มกี ฎควบคุม: รายงานเจ้ าหน้ าทีส
่ าธารณสุ ขท้ องถิ่น
มาตรการป้ องกัน
►ให้ ความรู้ แก่ ประชาชน
►ทาลายลูกนา้ และกาจัดแหล่ งเพาะพันธุ์ยุง
►ทาลายยุงตัวแก่ โดยการพ่ นสารเคมีตามบ้ านเรือน
►ติดมุ้งลวด
►หลีกเลีย่ งการถูกยุงกัด (repellant)
►ในพ.ท.ทีม
่ โี รคเป็ นประจา ควรให้ ภูมคิ ุ้มกันแก่ สัตว์ เลีย้ ง
หรือจัดคอกสั ตว์ ให้ ห่างออกไปจากทีพ่ กั อาศัย
►ใช้ วคั ซีนฉีดแก่ เด็ก และนักท่ องเทีย่ ว
►ให้ ภูมค
ิ ุ้มกันโดยใช้ immune serum ทีผ่ ลิต
จากคนหรือสั ตว์ แก่ ผ้ ูทที่ างานในห้ องปฏิบัติการ
(inactivated JE
vaccine ได้ มาจาก infected neonatal
mouse brain)
►การทาวัคซีน JE ไม่ เปลีย่ นแปลงอัตราการติดเชื้อแต่ ป้องกัน
การแสดงอาการ
►ทาวัคซีนตอนอายุประมาณ 1 ปี
มาตรการเมื่อมีการระบาด
►ให้ มกี ารตรวจหาการติดเชื้อในม้ าหรือนก รวมถึงผู้ป่วยใน
ชุมชนด้ วย เพือ่ ดูแนวโน้ มของการเกิดโรค
►พ่ นหมอกควัน หรือพ่ นฝอยละอองยาฆ่ าแมลงทาง
เครื่องบิน