สื่อการสอนเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Download Report

Transcript สื่อการสอนเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

สื่อการสอนเรือ่ ง
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
(Ebola Virus Disease; EVD)
สาหรับ อาสาสมัครสาธารณส ุขประจาหมูบ่ า้ น (อสม.)
โดยกระทรวงสาธารณส ุข วันที่ 15 กันยายน 2557
หัวข้อนาเสนอ








ความรูเ้ กี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
มาตรการการป้องกัน และควบค ุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน
คาแนะนาสาหรับประชาชนทัว่ ไป
คาแนะนาสาหรับผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศ
ผลกระทบของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
ข้อสร ุปและข้อเสนอแนะ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา..คืออะไร?
 เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลันร ุนแรง
 โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ปรากฏขึ้นเป็นครัง้ แรกเมื่อปีพ.ศ. 2519 เกิดขึ้นที่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และประเทศซ ูดาน
 มีทงั้ หมด 5 สายพันธ์ ุ ได้แก่ สายพันธบ
์ ุ ุนดีบเู กียว, ซาอีร,์ ซ ูดาน, เรซตัน,
ไอวอรีโคสต์
 ทาให้มีอต
ั ราป่วยตายประมาณร้อยละ 50-90
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา..ติดติดต่อได้อย่างไร?
ติดต่อได้จาก 2 ทาง
1. ติดต่อจากสัตว์
โดยการสัมผัสตัวสัตว์สารคัดหลัง่ กับเลือด
หรือเครือ่ งในของสัตว์ป่าที่ติดเชื้อ
จากการชาแหละสัตว์เลี้ยงล ูก
ด้วยนมที่ตายจากการติดเชื้อ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา..ติดติดต่อได้อย่างไร?
2. ติดต่อจากคนสูค
่ น
 สัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลัง่ ได้แก่
 น้ามูก
 น้าลาย
 ปัสสาวะ
 อ ุจจาระ
 น้าอส ุจิ (นาน 2เดือน)
 สัมผัสโดยตรงกับร่างกายของผูเ้ สียชีวิต
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา..มีอาการอย่างไร?
แพร่เชื้อได้ ในระยะที่เริ่มมีการแสดงอาการ
 มีระยะฟักตัวประมาณ 2 - 21 วัน
 ไข้สงู เฉียบพลัน
 อ่อนเพลียมาก
 ปวดศีรษะและเจ็บคอ
 ปวดกล้ามเนื้อมาก
ต่อจากนัน้ จะมีอาการ อาเจียน
ท้องเสีย มีเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
มีผื่นเลือดออกที่ ผิวหนัง ตับและไตทางาน บกพร่อง
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา..รักษาอย่างไร?
 ยังไม่มีวค
ั ซีนป้องกันโรคอีโบลา และยารักษาจาเพาะ ขณะนี้
กาลังอยูร่ ะหว่างการศึกษาวิจยั
 การรักษา จึงเป็นการรักษา ประคับประคองตามอาการ
สถานการณ์ของโรค…เป็นอย่างไร ?
สถานการณ์ในต่างประเทศ
 พบในประเทศแถบแอฟริกา จานวน 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศกินี ไลบีเรีย
เซียร์ราลีโอน ไนจีเรีย และเซเนกัล
- ประเทศที่พบการระบาดในวงกว้าง ได้แก่ กินี ไลบีเรีย และเซียร์ราลีโอน
- กลมุ่ ประเทศที่มีผป้ ู ่ วยรายแรกจากประเทศอื่นได้แก่ ไนจีเรีย เซเนกัล
ไนจีเรีย เยอรมัน สหรัฐอเมริกา นอร์เวย์ และ สเปน
 WHO ประกาศ ให้สาธารณรัฐเซเนกัลและประเทศ
ปลอดเชื้ออีโบ
ลา
จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
พบผูป้ ่ วยสะสม 8,997 ราย เสี ยชีวิต 4,493 รายรายละเอียด ดังนี้
ประเทศ
จำนวนผู้ป่วย (รำย)
เสียชีวติ (รำย)
กินี
1,472
843
ไลบีเรี ย
4,249
2,458
เซียร์ราลีโอน
3,252
1,183
ไนจีเรี ย
20
8
เยอรมัน
3
1
สหรัฐอเมริ กา
2
1
นอร์เวย์
1
-
สเปน
1
-
เซเนกัล
1
-
ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ภูมิภาคแอฟริกา ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ – 12 ตุลาคม 2557
สถานการณ์โรค…เป็นอย่างไร (ต่อ)
สถานการณ์ประเทศไทย
 ประเทศไทย ยังไม่มีรายงานผูป
้ ่ วยด้วยโรค ติดเชื้อไวรัสอีโบลา
 ประเทศไทย พบผูเ้ ข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 2 ราย ทัง้ นี้ ผลตรวจทาง
ห้องปฏิบตั ิการให้ผลลบต่อเชื้อไวรัสอีโบลา
 ประเทศไทย ดาเนินการเฝ้าระวังป้องกันควบค ุมโรคอย่างเข้มแข็ง
ต่อเนื่องภายใต้ความร่วมมือของท ุกภาคส่วน
มาตรการที่ดาเนินการ..
 องค์การอนามัยโลกประกาศให้เป็น “ ภาวะฉ ุกเฉินทางด้านสาธารณส ุข
ระหว่างประเทศ ”
 องค์การอนามัยโลกวางแผนการสนับสน ุน
ด้านการรักษา การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
อ ุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ
และความช่วยเหลือด้านความเป็นอยู่
 ศึกษาค้นคว้าแนวทางการรักษา
(วัคซีน, ยา )
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย
1. การจัดระบบเฝ้าระวังโรคทัง้ ในคนและสัตว์
 ติดตามสถานการณ์รว
่ มกับองค์การอนามัยโลก(WHO)
 ประเมินความเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
 ติดตามเฝ้าระวังผูท้ ี่เดินทางมาจากประเทศที่มีโรคระบาด โดยคัดกรอง
ที่ด่านควบค ุมโรค ที่สนามบินนานานาชาติท ุกแห่ง และเฝ้าระวังสัตว์
นาเข้า จากต่างประเทศ
 คัดกรองในการให้วีซา่ แก่ ผูเ้ ดินทางจากประเทศที่มีการระบาด
 กระทรวงการต่างประเทศ ได้มี คาเตือน ประชาชนไทยให้หลีกเลี่ยง
การเดินทางไปยังประเทศที่เกิดโรค
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
 กรมปศ ุสัตว์ ชะลอ การนาเข้าสินค้า (สัตว์/ซากสัตว์)
จากประเทศที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสอีโบลา รวมทัง้ เฝ้าระวังการนาเข้า
ทัง้ ทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และ ชายแดน
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ชะลอ การรับคาขออน ุญาตให้นาเข้า หรือนาผ่านซึ่งสัตว์ป่าและซากของ
สัตว์ป่า จากประเทศที่มีการรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ
ลา
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ)
2. การด ูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
 สถานพยาบาลมีหอ้ งแยกผูป
้ ่ วยท ุกจังหวัด และให้ปฏิบตั ิตามหลักการ
ป้องกันการติดเชื้อ ในโรงพยาบาลเหมือนผูป้ ่ วยโรคติดต่ออันตรายสูง
 แนะนาการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบลา สาหรับบ ุคลากร
และเจ้าหน้าที่สาธารณส ุข
มาตรการป้ องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ)
 ติดตามการใช้และจัดหาชุด อุปกรณ์ ป้องกันการติดเชื้อ สาหรับเจ้าหน้ าท่
เพื่อปฏิบตั ิ งานในโรงพยาบาลและในพืน้ ท่
 การรักษาผูป
้ ่ วย ให้ปฏิบตั ิ ตามแนว จากกรมการแพทย์
ทัง้ น้ มการคาปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาล
ในการรักษา ตลอด 24 ชัวโมง
่
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
ช ุดป้องกันร่างกาย
สาหรับการด ูแลผูป้ ่ วยสงสัยติดเชื้อไวรัสอีโบลา
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
3. การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงาน
เครือข่ายทัว่ ประเทศ เพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบตั ิการ
ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
มาตรการป้องกันควบค ุมโรคของไทย (ต่อ)
4. การบริหารจัดการ
 กรมควบค ุมโรค และกระทรวงสาธารณส ุข เปิดศูนย์ปฏิบต
ั ิการตอบโต้
ภาวะฉ ุกเฉิน และ บูรณาการการทางานของท ุกหน่วยงานและสัง่ การไป
ยังหน่วยปฏิบตั ิทวั่ ประเทศ
 จัดประช ุมผูเ้ ชี่ยวชาญ
เพื่อประเมินสถานการณ์และความเสี่ยง
พร้อมทัง้ ปรับมาตรการในการป้องกัน
ควบค ุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน
1. เฝ้าระวังโรคในช ุมชน
 ค้นหาผูป
้ ่ วยในช ุมชน
โดยค้นหาผูท้ ี่มีประวัติอาศัยอยูห่ รือเดินทางมาจาก ประเทศที่เกิด
โรคในช่วง 21 วัน
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน (ต่อ)
 เฝ้าระวังและสังเกตอาการ
หากพบว่ามีไข้หรือมีอาการคล้ายกับโรค
ติดเชื้อไวรัสอีโบลาภายใน 21 วัน ให้รบี แจ้ง
เจ้าหน้าที่สาธารณส ุขทราบโดยเร็ว
 หลีกเลี่ยงการสัมผัส
หากพบผูป้ ่ วยที่สงสัย หลีกเลี่ยงการสัมผัส สวมหน้ากากอนามัย
สวมถ ุงมือ พร้อมให้คาแนะนาการป้องกันโรคเบื้องต้น
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน (ต่อ)
2. หมัน่ ติดตามข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากกระทรวง สาธารณส ุขและสื่อสาธารณะ
ต่างๆ เป็นประจาสม่าเสมอ เพื่อให้ได้ความรูท้ ี่ชดั เจน และสามารถไป
ถ่ายทอด เป็นวิทยากรต่อไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน (ต่อ)
3. ถ่ายทอดความรูโ้ รคในช ุมชน

เยี่ยมบ้าน สังเกตให้ความร ้ ู และให้คาแนะนา

ให้ความร ้ ู แนะนา และบริการเบื้องต้นใน ศูนย์สาธารณส ุขมูลฐาน
ช ุมชน (ศสมช.)

ถ่ายทอดความรูผ้ า่ นหอ กระจายข่าว วิทย ุช ุมชน และสื่อในท้องถิ่น
อื่นๆ

ถ่ายทอดและเผยแพร่ความร ้ ู เอกสารต่างๆ ใน เวทีประช ุมประชาคม
หมูบ่ า้ น/ช ุมชน ฯลฯ
บทบาทของ อสม. ในช ุมชน (ต่อ)
4. ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณส ุข และเครือข่ายต่างๆ
 จัดกิจกรรม ซ้อมแผนจาลองสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสอีโบลา
จังหวัดอ ุตรดิตถ์ ฝึกซ้อมแผนรับมือการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
คาแนะนา..สาหรับประชาชนทัว่ ไป
สิ่งที่ควรปฏิบตั ิ
ติดตามข้อมูลข่าวสารจากกระทรวงสาธารณส ุข
เพื่อให้รส้ ู ถานการณ์ และมีความรูค้ วามเข้าใจที่ถ ูกต้อง
คาแนะนา..สาหรับผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศ
สิ่งที่ควรปฏิบตั ิ
 หลีกเลี่ยงหรือชะลอการเดินทางไปใน
ประเทศที่มีการระบาด (ขณะนี้ ได้แก่
ประเทศกินี ไลบีเรีย )

ติดตามข้อมูลข่าวสารจากกระทรวง
สาธารณส ุข เพื่อให้รส้ ู ถานการณ์ และ
มีความรูค้ วามเข้าใจที่ถกู ต้อง
คาแนะนา..สาหรับผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศ (ต่อ)
สิ่งที่ควรปฏิบตั ิ
หากจาเป็ นต้องเดินทางไปยังประเทศที่เกิดการ
ระบาดควรปฏิบตั ิดงั นี้
 หมัน
่ ล้างมือด้วยน้าและสบู่ให้สะอาด
 หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผูป
้ ่ วย หรือสัมผัสผูป้ ่ วย
รวมถึงเสื้อผ้า เครือ่ งใช้ของผูป้ ่ วย
 หากมีอาหารป่วย เช่น ไข้สงู อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ อาเจียน
ท้องเสี ย มี ผื่น นูนแดงตามตัว ให้รีบ พบแพทย์
ทันที พร้อมกับแจ้งประวัติการเดินทาง
คาแนะนา..สาหรับผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศ (ต่อ)
สิ่งที่ “ไม่” ควรปฏิบตั ิ
 รับประทานเนื้อสัตว์ป่าท ุกชนิด
 สัมผัสสัตว์ป่าท ุกชนิด โดยเฉพาะสัตว์
จาพวก ลิง หรือค้างคาว
 ล้วงแคะแกะเกาจมูก
และขยี้ตา
ด้วยมือที่ยงั ไม่ได้ลา้ งให้สะอาด
 มีเพศสัมพันธ์กบ
ั คนที่ไม่ใช่คน่ ู อนหรือคร่ ู กั
 ซื้อยากินเอง
เวลาเจ็บป่วยด้วยอาการไข้
ผลกระทบ…โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
ผลกระทบของโรค
ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อ
 ส ุขภาพ
 เศรษฐกิจ
 สังคม
 ความมัน
่ คงทัง้ ในและต่างประเทศ
ข้อสร ุปและข้อเสนอแนะ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
 สถานการณ์การระบาดในประเทศแถบแอฟริกาตะวันตกอยูใ่ น
สถานการณ์ที่ยงั ไม่สามารถควบค ุมการระบาดได้
 ความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาใน.ประเทศไทยมีความเป็นไปได้
ที่จะมีการแพร่ระบาดเข้าสูป่ ระเทศไทย
ผ่านผูเ้ ดินทางระหว่างประเทศ
และสัตว์ป่าจากแอฟริกา
ข้อสร ุปและข้อเสนอแนะ (ต่อ)
 ประเทศไทย ได้ดาเนินการเฝ้าระวังป้องกันควบค ุมโรค อย่างเข้มแข็ง
ต่อเนื่องภายใต้ความร่วมมือของท ุกภาคส่วน
 การสื่อสาร ด้วยข้อมูลท่ถกู ต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ มความสาคัญใน
การรับมือกับสถานการณ์โรค
ขอขอบพระค ุณ
 นายแพทย์ธรรักษ์ ผลิพฒ
ั น์ (สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค)
 แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)
 แพทย์หญิงจริยา แสงสัจจา (สถาบันบาราศนราดูร)
 แพทย์หญิงดารินทร์ อารียโ์ ชคชัย (สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค)
 พญ.พจมาน ศิริอารยาภรณ
(สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค)
สามารถติดตามข้ อมูลข่ าวสารต่ างๆ ได้ ท่ ี
สานักโรคติดต่ออ ุบัติใหม่ กรมควบค ุมโรค
Website: http://beid.ddc.moph.go.th/
facebook: สานักโรคติดต่ออ ุบัติใหม่
สายด่วนกรมควบค ุมโรค 1422
QR code สาหรับระบบ Android
http://www.who.int/