การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ในภูมิภาค

Download Report

Transcript การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ในภูมิภาค

บทสรุปสำหรับอีโบลำก็คือเรำรูว้ ่ำจะหยุดมันอย่ำงไร
กำรสำธำรณสุขแบบดัง้ เดิม
ค้นหำผูป้ ่ วย แยกผูป้ ่ วย ดูแลรักษำผูป้ ่ วย
ติดตำมผูส้ มั ผัส ให้ควำมรูป้ ระชำชน และ
ป้ องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลอย่ำงเคร่งครัด
ทำสิ่งเหล่ำนี้ อย่ำงพิถีพิถนั ละเอียดลออ แล้วอีโบลำจะหมดไป
นพ. โธมัส ฟรีเด็น
ผอ.ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชำติ สหรัฐอเมริกำ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลำ
• ระยะฟกั ตัว 2 – 21 วัน (ทัวไปประมาณ
่
4 – 10 วัน)
• Highly transmissible โดย
–การสัมผัสโดยตรงกับ เลือด สารคัดหลัง่ ชิน้ เนื้อ อวัยวะ
ของเหลวจากร่างกาย ศพ ของผูต้ ดิ เชือ้
–การสัมผัสสิง่ ของทีม่ เี ชือ้ ติดอยู่
• Casual contact มีความเสีย่ งต่อการติดเชือ้ ต่า
• การระบาดรอบนี้มวี ธิ กี ารแพร่เชือ้ ทีส่ าคัญคือ person-to-person
transmission และ การจัดการศพและพิธศี พ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลำ
• โอกำสกำรแพร่เชื้อจะตำ่ ในช่วงแรกที่ผปู้ ่ วยเริ่มมีอำกำร
ดังนัน้ ตรวจจับผูป้ ่ วยให้ได้ตงั ้ แต่อำกำรน้ อยๆ จึงมี
ควำมสำคัญสูง
• อาการสาคัญคือมีไข้ ปวดศรีษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง อาเจียน
ถ่ายเหลว เลือดออก
• อัตราปว่ ยตายของการระบาดด้วยเชือ้ ไวรัสอีโบลาสายพันธุ์ Zaire
อยูท่ ป่ี ระมาณร้อยละ 50 – 90
• กำรรักษำเป็ นกำรรักษำตำมอำกำร ยังไม่ยารักษาเฉพาะ และ
ยังไม่มวี คั ซีน
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลำ
• เราสามารถ inactivated เชือ้ อีโบลาได้โดยวิธี UV radiation,
gamma irradiation, heating for 60 minutes at 60 °C or
boiling for five minutes.
• เชือ้ ไวรัสสามารถถูกทาลายได้ดว้ ย sodium hypochlorite และ
disinfectants
• Freezing or refrigeration ไม่สามารถ inactivate เชือ้ อีโบลาได้
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra
Leone, Liberia
by week of reporting, December 2013 - 1 August
2014
จำนวนผูป้ ่ วยที่รำยงำนโดยองค์กำรอนำมัยโลกภูมิภำคอำฟริกำ
Ebola virus disease, West Africa – update 13 August 2014
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria
by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014
All country
ในช่วง 4 สัปดำห์ล่ำสุด
พบผูป้ ่ วยถึง 815 รำย
(46% ของทัง้ หมด)
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria
by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014
Guinea
Sierra Leone
Liberia
Nigeria
source: www.ecdc.europa.eu/
source: http://www.cdc.gov/
แผนที่แสดงกำรขยำยตัวของพืน้ ที่ระบำด
ใน 3 ประเทศแถบอำฟริกำตะวันตก
วันที่ 20 ก.ค. 57
วันที่ 7 ส.ค. 57
ขณะนี้การระบาดครอบคลุมทุกเมืองของเซียร่าลีโอน และเข้าสูเ่ มืองหลวงของทัง้ 3 ประเทศ
กำรติดเชื้อของเจ้ำหน้ ำที่สำธำรณสุข
• นับถึงวันที่ 11 สิงหาคม มีเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขติดเชือ้ แล้ว
มากกว่า 170 คน และเสียชีวติ แล้วกว่า 81 คน
(http://www.who.int/csr/disease/ebola/overview-august-2014/en/)
• ในประเทศไนจีเรียมีผสู้ มั ผัสนาย Patrick Sawyer จานวน 59
คน (เป็ นเจ้าหน้าทีส่ นามบิน 15 คน เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข 44
คน) ในจานวนนี้มผี ตู้ ดิ เชือ้ แล้ว 12 คน
• ผูท้ ี่มีควำมเสี่ยงสูงสุด: ผูด้ แู ลผูป้ ่ วยใกล้ชิด
สถานการณ์ในประเทศไนจีเรีย
• BBC news รายงานข่าวพยาบาลหนึ่งในทีมดูแลผูป้ ว่ ยรายแรกของไนจีเรียหนีออก
จากสถานทีก่ กั โรค เพือ่ เดินทางกลับบ้านทีเ่ มือง Enuku มีผสู้ มั ผัสพยาบาลคนนี้ไป
อีก 20 คน
– ปจั จุบนั ไนจีเรียอยูร่ ะหว่างการติดตามผูส้ มั ผัสรวม 198 คน (177 คนใน Lagos
และ 21 คนใน Enuku)
สถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัส Ebolaในประเทศไนจีเรีย
เจ้ำหน้ ำที่สนำมบิน (15 คน)
Patrick Sawyer
บุคลำกรทำงกำรแพทย์ (44 คน)
ป่ วย 12 คน
กักกันได้ 11 คน
หนี 1 คน (พยำบำล)
หนี ไปเมือง Enugu
มีผ้สู มั ผัส 118 คน
มีผ้สู มั ผัส 21 คน
ประเทศฮ่องกง
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (1)
องค์กำรอนำมัยโลก
• ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลาในอาฟริกาตะวันตกเป็ นภาวะ
ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC)
– ประเทศที่มีกำรระบำด: ออกคาแนะนาให้มกี ารจากัดการเดินทางของผูป้ ว่ ยอีโบ
ลาหรือผูส้ มั ผัส การคัดกรองผูโ้ ดยสารขาออก จัดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ในระดับสูงสุด เพิม่ ความพร้อมของอุปกรณ์ในการดูแลรักษา การวินิจฉัย และลด
กิจกรรมการรวมตัวของคนหมูม่ าก
– ประเทศที่มีควำมเสี่ยงสูง และประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีกำร
ระบำด: ให้มกี ารเตรียมการเฝ้าระวัง การจัดระบบตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร การ
ควบคุมโรคติดเชือ้ ในโรงพยาบาล อุปกรณ์ป้องกันการติดเชือ้ และการสอบสวน
ควบคุมโรค
– ประเทศอื่นๆ: ไม่มกี ารห้ามเดินทางหรือการค้า แต่ให้เตรียมความพร้อมในด้าน
ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้อง
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (2)
องค์กำรอนำมัยโลก (ต่อ)
• ในวันจันทร์ท่ี 11 สิงหาคม 2557 คณะผูเ้ ชีย่ วชาญด้านจริยธรรมการวิจยั ของ
องค์การอนามัยโลก มีความเห็นว่า “ในสถานการณ์ทม่ี กี ารระบาดขณะนี้ การใช้ยา
หรือวิธกี ารรักษาทีย่ งั ไม่ได้รบั การพิสจู น์ประสิทธิผลหรือความปลอดภัยเป็ นเรือ่ งที่
เป็ นไปตามหลักจริยธรรม หากนามาใช้ภายใต้หลักการทีเ่ หมาะสม”
• Options:
– Zmapp – Mapp Biopharmaceutical, Inc.
– Favipiravir - Fujifilm Holdings Corp.
– TKM-Ebola - Tekmira Pharmaceuticals
– AVI-7537 – Sarepta Therapeutics
– BCX4430 - Biocryst Pharmaceuticals
– ST-383 - Siga Technologies.
มำตรกำรเพิ่มเติมขององค์กำรอนำมัยโลก
• WHO ประกาศให้ประเทศเคนย่าเป็ นประเทศทีเ่ สีย่ งสูง
ประเทศเคนย่ า อยู่ ใ นแอฟริ ก า
ตะวันออก แต่เป็ นศูนย์กลางของการ
บิ น โดยมี เ ที่ ย วบิ น 76 เที่ ย วต่ อ
สัปดาห์มาลงทีป่ ระเทศเคนย่า
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (3)
ประเทศ Liberia
– Dr. Kent Brantly ซึง่ เป็ นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ Samaritan's Purse care
center และ Nancy Writebol ได้รบั ยาทดลองและพบว่ามีอาการดีขน้ึ
– Miguel Pajares อายุ 75 ปีทางานในองค์กรเอกชนในไลบีเรียถูกส่งกลับสเปน
พร้อมกับ Juliana Bohi (ไม่ตดิ เชือ้ )
– ประธานาธิบดีไลบีเรียให้ขอ้ มูลว่ามีแพทย์ 3 คน และบุคลากรทางการแพทย์
เสียชีวติ แล้ว 32 ราย (10 สค.) และรัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข มีทหารช่วยจากัดการเดินทางเข้าออกจากพืน้ ทีร่ ะบาด และอนุ มตั ิ
งบประมาณ 18 ล้านดอลล่าร์ (ปรับปรุงสถานพยาบาล ประกัน รถ อาหาร ...)
– 95% ของแพทย์อาสาสมัคร ถอนตัวออกจากประเทศแล้ว เหลือแพทย์ใน
ประเทศเพียง 50 คน
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (4)
US CDC
• ให้คาแนะนาผูเ้ ดินทางเป็ นระดับสูงสุด (ระดับ 3) ในทัง้ 3 ประเทศ คือให้หลีกเลีย่ ง
การเดินทางทีไ่ ม่จาเป็ น ส่วนไนจีเรียให้เป็ นระดับสองคือเดินทางด้วยความ
ระมัดระวัง
• ในสัปดาห์ทผ่ี า่ นมา CDC เพิม่ ระดับ EOC response level เป็ นระดับ 1 มีการระดม
บุคลากรเพือ่ มาร่วมการดาเนินการเรือ่ งอีโบลา มีการส่งเจ้าหน้าทีเ่ ข้าไปช่วยใน
ประเทศทีก่ าลังระบาด (กินี 14, ไลบีเรีย 18, ซิเอร่า เลโอน 16, ไนจีเรีย 7) – Stop
Ebola at its source
– จัดตัง้ Emergency Operation Centers และระบบข้อมูล
– ช่วยเรือ่ ง Exit Screening
– เตรียมความพร้อมรับมือภายในประเทศ
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (5)
ห้องผูป้ ่ วย: ให้ผปู้ ว่ ยพักในห้องแยก มีหอ้ งน้ าในตัว จากัดและบันทึกผูเ้ ข้าห้องผูป้ ว่ ย
อุปกรณ์ป้องกัน : เจ้าหน้าทีค่ วรสวมใส่ถุงมือ กาวกันน้า พลาสติกคลุมรองเท้า แว่น
หรือพลาสติกป้องกันใบหน้า และหน้ากากป้องกันโรค และอาจพิจารณาสวมใส่
อุปกรณ์อ่นื ๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์
กำรทำหัตถกำรที่ก่อให้เกิดละอองฝอย:
ให้หลีกเลีย่ งหัตถการทีก่ ่อให้เกิดละอองฝอย
หากจาเป็ นให้ดาเนินการในห้องแยก
การติดเชือ้ ทางอากาศ และใสหน้ากากป้องกัน
ทีเ่ หมาะสม (N95 หรือสูงกว่า)
กำรทำควำมสะอำดห้องและสิ่งแวดล้อม:
สถำนกำรณ์ กำรป่ วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผำ่ นมำ (6)
• มาตรการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ และติดตามนักเดินทาง
– Mandatory self-reporting
– Thermoscan ซักประวัติ และวัดอุณหภูมิ
– Health beware card
– การติดตามสอบถามอาการผูเ้ ดินทาง
• มาตรการตัง้ รับ อาศัยการวินิจฉัยและแยกผูป้ ว่ ยให้ได้โดยเร็ว
– Early detection
– Infection Control
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (1)
• กำรคัดกรองผูเ้ ดินทำงจำกประเทศที่มีกำรระบำดที่สนำมบิน
• กำรให้คำแนะนำกับผูเ้ ดินทำง
• กำรติดตำมสอบถำมอำกำรผูเ้ ดินทำงเป็ นเวลำ 21 วัน นับจำกวันที่
เดินทำงออกจำกประเทศที่มีกำรระบำด
• กำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กบั ระบบป้ องกันโรคติดเชื้อใน
โรงพยำบำล รวมถึงกำรเตรียมอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเจ้ำหน้ ำที่
• กำรจัดระบบให้มีกำรตรวจจับผูป้ ่ วยได้อย่ำงรวดเร็วที่โรงพยำบำล
และลดจำนวนผูส้ มั ผัส
• กำรสอบสวนควบคุมผูส้ มั ผัส
ขอบคุณครับ
มำตรกำรทำงด้ำนกำรเฝ้ ำระวังโรค
• หากพบผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการไข้ 38 องศาเซลเซียสขึน้ ไป ร่วมกับมีประวัติ
เดินทางกลับมาจากประเทศทีพ่ บผูป้ ว่ ยในช่วง 21 วันก่อนเริม่ ปว่ ย โดย
ให้แจ้งเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขเพือ่ สอบสวนและเก็บตัวอย่างส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั กิ ารทันที
• ขณะนี้ยงั ไม่พบผูป้ ว่ ยเข้าข่ายเฝ้าระวัง
โรคไข้เลือดออกอีโบลา
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (2)
กำรจัดระบบเฝ้ ำระวัง
• กรมควบคุมโรคดาเนินการติดตามสถานการณ์รว่ มกับองค์การอนามัย
โลก ประเมินความเสีย่ งอย่างต่อเนื่องตัง้ แต่เริม่ มีการระบาด
• ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดาเนินการคัดกรองผูท้ เ่ี ดินทางมา
จากประเทศทีพ่ บโรค โดยการซักประวัตสิ ขุ ภาพ วัดอุณหภูมริ า่ งกาย
ตัง้ แต่วนั ที่ 8 มิถุนายน - 13 สิงหาคม 2557 จานวน 447 ราย
– ทัง้ หมดไม่มอี าการปว่ ย
• ดาเนินการติดตามผูเ้ ดินทางจากประเทศทีม่ กี ารระบาด ขณะนี้ยงั มีผู้
เดินทางอยูใ่ นช่วงเฝ้าระวัง 21 วัน จานวน 79 คน
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (3)
• กระทรวงการต่างประเทศ ได้มคี าเตือนประชาชนไทยให้หลีกเลีย่ งการเดิน
ทางเข้าไปยังประเทศทีเ่ กิดโรค หากจาเป็ นต้องเดินทางไปให้ลงทะเบียนการ
เดินทางตามมาตรการของกระทรวงการต่างประเทศ
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เฝ้าระวังสัตว์ทม่ี าจากอาฟริกา ไม่
พบมีการนาสัตว์เข้ามายังประเทศไทย
• กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ชะลอการนาเข้าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยโรค
ระบาดสัตว์จากประเทศทีม่ รี ายงานการระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลา และมี
การควบคุมการนาเข้าทัง้ ทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และชายแดน
• กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ให้ความรูเ้ รือ่ งอีโบลา แก่ อสม. เพือ่ สือ่ สารกับ
ประชาชน สือ่ สาร
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (4)
• กำรดูแลรักษำและป้ องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำล
– สถานพยาบาลเตรียมห้องแยกผูป้ ว่ ยในทุกจังหวัด โดยเฉพาะ
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัวไป
่ และให้ปฏิบตั ติ ามหลักการ
ป้องกันการติดเชือ้ ในโรงพยาบาลเหมือนผูป้ ว่ ยโรคติดต่ออันตรายสูง
เช่น โรคซาร์ส อย่างเคร่งครัด
– การรักษาผูป้ ว่ ยตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุม
ป้องกันการติดเชือ้ ทีก่ รมการแพทย์กาหนด และให้คาปรึกษาแก่แพทย์
พยาบาลในการรักษาตลอด 24 ชัวโมง
่
– สถาบันบาราศนราดูรได้จดั ทาคาแนะนาการป้องกันการแพร่กระจาย
เชือ้ ไวรัสอีโบลา การรับและส่งต่อผูป้ ว่ ยโรคติดต่อร้ายแรง สาหรับ
บุคลากรและเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข ทีเ่ กีย่ วข้อง
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (5)
• กำรตรวจทำงห้องปฏิบตั ิ กำร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รว่ มกับหน่วยงานทัวประเทศก
่
าลังพิจารณา
แนวทางการส่งวินิจฉัยให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล
• กำรบริหำรจัดกำร
– กรมควบคุมโรคเปิดศูนย์ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทุกวัน
– กระทรวงสาธารณสุขเปิดศูนย์ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ภาวะฉุกเฉินบูรณา
การการทางานของทุกหน่วยงานและสังการไปยั
่
งหน่วยปฏิบตั ทิ วั ่
ประเทศ
สรุปและข้อเสนอ
• สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลาในประเทศแถบอาฟ
ริกาตะวันตกขณะนี้อยูใ่ นสถานการณ์ทไ่ี ม่สำมำรถควบคุมกำรระบำด
ได้
• คำดว่ำจะระบำดต่อไปอีกไม่น้อยกว่ำ 3-6 เดือน
• มาตรการทีด่ าเนินการในประเทศไทยเป็ นไปตามคาแนะนาขององค์การ
อนามัยโลกตามประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ
(PHEIC) และจะมีการติดตามประเมินปรับมาตรการตามสถานการณ์
เป็ นระยะ
• การประกาศให้โรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลา เป็ นโรคติดต่ออันตราย เพื่อให้มี
การดาเนินมาตรการได้อย่างเข้มข้นเพิม่ ขึน้
สรุปและข้อเสนอ
• ข้อเสนอ
 สนับสนุนการดาเนินการควบคุมโรคในประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก
 เผยแพร่คาแนะนาผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศให้หลีกเลีย่ งการเดินทาง
ไปยังประเทศทีม่ กี ารระบาด
 ควรมีการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารให้กบั ประชาชนและเจ้าหน้าทีใ่ น
เว็บไซต์ทงั ้ ในระดับกรม และกระทรวงสาธารณสุข
 เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร
 เตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือ