สื่อเรื่องทฤษฏีแรงโน้มถ่วงของโลก

Download Report

Transcript สื่อเรื่องทฤษฏีแรงโน้มถ่วงของโลก

แก ้มลิงสรรพสงิ่ บรรเทา
กลุม
่ สาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร์
คุณรู ้หรือไม่ โครงการแก ้มลิงใช ้
หลักการทางวิทยาศาสตร์อะไรในการ
บริหารจัดการ
 วิธก
ี ารแก ้ไขปั ญหาน้ าท่วมในภูมภ
ิ าคต่างๆคือ
1. การก่อสร ้างคันกันน้ า โดยการก่อสร ้างคันดิน
กัน
้ น้ าขนานไปตามลา น้ าเพือ
่ ป้ องกันมิให ้น้ าล ้น
ตลิง่ ไปท่วมในพืน
้ ทีต
่ า่ งๆ ด ้านใน
2. การก่อสร ้างทางผันน้ า เพือ
่ ผันน้ าทัง้ หมดหรือ
บางสว่ นทีล
่ ้นตลิง่ ท่วมล ้นเข ้ามาให ้ออกไป
3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลาน้ า เพือ
่ ให ้
น้ าทีท
่ ว่ มทะลักสามารถไหลไปตามลาน้ าได ้
สะดวก หรือชว่ ยให ้กระแสน้ าไหลเร็วยิง่ ขึน
้
การแก ้ไขปั ญหาน้ าท่วมพืน
้ ทีใ่ นเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตาม
พระราชดาริ “แก ้มลิง”
 ลักษณะและวิธก
ี ารของโครงการแก ้มลิง
1. ดาเนินการระบายน้ าออกจากพืน
้ ทีต
่ อนบน ให ้ไหลลง
คลองพักน้ าขนาดใหญ่ทบ
ี่ ริเวณชายทะเล
2. เมือ
่ ระดับน้ าทะเลลดตา่ กว่าระดับน้ าในคลอง ก็ทา
้ กการทฤษฎี
การระบายน้ าจากคลองดังกล่าว โดยใชหลั
แรงโน ้มถ่วงของโลก (Gravity Flow)ตามธรรมชาติ
3. สูบน้ าออกจากคลองทีท
่ าหน ้าที่ “แก ้มลิง”นี้ เพือ
่ จะได ้
ทาให ้น้ าตอนบนค่อยๆไหลมาเองตลอดเวลา สง่ ผลให ้
ปริมาณน้ าท่วมพืน
้ ทีล
่ ดนัอยลง
4. เมือ
่ ระดับน้ าทะเลสูงกว่าระดับน้ าในลาคลองให ้ทาการ
ปิ ดประตูระบายน้ าโดยยึดหลักน้ าไหลลงทางเดียว
วัฏจักรของน้ า
 1. ในตอนกลางวันแหล่งน้ าเมือ
่ ได ้รับความร ้อน
จากแสงอาทิตย์จะเปลีย
่ นสถานะกลายเป็ นไอน้ า
 2. ไอน้ าทัง้ หมดและไอน้ าทีไ่ ด ้จากการคายน้ า
่ ากาศเบือ
ของพืชจะถูกอากาศร ้อนพัดพาสูอ
้ งบน
เมือ
่ กระทบอากาศเย็นจะกลั่นตัวเป็ นหยดน้ า
ขนาดเล็กจานวนมากรวมตัวกันเป็ นเมฆ
 3. ลมจะพัดพาเมฆไปในทีต
่ า่ งๆเมือ
่ หยดน้ า
เล็กๆรวมตัวกันเป็ นหยดน้ าขนาดใหญ่และ
น้ าหนักมากก็จะตกลงมาเป็ นฝนหรือหิมะแล ้วแต่
อุณหภูมข
ิ องอากาศ
ึ ลงไปใน
 4. สาหรับผลบนบกน้ าฝนสว่ นหนึง่ จะซม
ั ้ หินตืน
ดินอยูใ่ นชน
้ เรียกว่าน้ าในดิน
ึ ลึกจากผิวดินลงไปขัง
 5. น้ าฝนอีกสว่ นหนึง่ จะซม
ั ้ หินเรียกว่าน้ าบาดาล
อยูใ่ นระหว่างชน
ึ ลงในดินจะไหลไปรวมอยูใ่ น
 6. น้ าฝนทีไ่ ม่ซม
่ ม่น้ า และไหลลง
ทะเลสาบ สว่ นหนึง่ จะไหลลงสูแ
่ ะเล มหาสมุทร
สูท
การสร ้างเมฆฝน
 วิธก
ี ารทดลอง
่ งในถาดโลหะให ้เต็มถาดวางไว ้จน
1. นาน้ าแข็งก ้อนใสล
ถาดเย็น
่ งในขวด
2. นาน้ าร ้อน 250 ลูกบาศก์เซนติเมตรใสล
ปากกว ้าง
3. นาถาดโลหะทีบ
่ รรจุน้ าแข็งมาวางบนปากขวด ทิง้ ไว ้
ั ครูส
สก
่ งั เกตการเปลีย
่ นแปลง
คาถามหลังการทดลอง
 1. เมือ
่ นาถ่านโลหะน้ าแข็งมาวางปิ ดปากขวดที่
บรรจุน้ าร ้อน ฝายในขวดปากกว ้างเกิดการ
เปลีย
่ นแปลงอย่างไร
 2. หยดน้ าในขวดปากกว ้างเกิดขึน
้ ได ้อย่างไร
สรุปผลการทดลอง
เมือ
่ อากาศร ้อนเหนือระดับน้ าร ้อนในขวดแก ้ว
ลอยตัวสูงขึน
้ ไปกระทบกับถาดโลหะเย็น ไอน้ า
จะกลั่นตัวเป็ นหยดน้ า
การเกิดเมฆในธรรมชาติ
ในธรรมชาติเมฆเกิดจากมวลอากาศบริเวณ
ใกล ้พืน
้ ดินมีอณ
ุ หภูมส
ิ งู ขึน
้ จึงลอยตัวสูงขึน
้
ขณะทีล
่ อยตัวสูงขึน
้ นีเ้ อง อุณหภูมข
ิ องมวล
อากาศจะลดลงทีค
่ วามสูงระดับหนึง่ ไอน้ าทีม
่ ี
มวลอากาศพามาด ้วยจะมีอณ
ุ หภูมล
ิ ดลงจนถึง
จุดน้ าค ้าง ไอน้ าจะควบแน่นเป็ นหยดน้ าและก่อ
ตัวเป็ นเมฆ
สมบัตท
ิ ั่วไปของน้ า
 1. การรักษาระดับผิวน้ าให ้เท่ากันเสมอ
 2. น้ ามีรป
ู ร่างเปลีย
่ นไปตามภาชนะทีบ
่ รรจุ
่ ต
 3. น้ าไหลจากทีส
่ งู ลงสูท
ี่ า่ น้ าจะเคลือ
่ นทีไ่ ป
เรือ
่ ยๆ อย่างต่อเนือ
่ งตามแรงดึงดูดของโลก
เพราะน้ าเป็ นสสารทีม
่ ม
ี วลและมีน้ าหนัก น้ าหนัก
ของน้ า คือ แรงดึงดูดของโลกทีก
่ ระทาต่อมวล
ของน้ าทัง้ หมดนั่นเอง ดังนัน
้ ถ ้าไม่มส
ี งิ่ กีดขวางน้ า
่ ต
จะไหลจากทีส
่ งู ลงสูท
ี่ า่ เสมอ
 4. น้ ามีแรงดัน แรงดันของน้ า คือ น้ าหนักของน้ าที่
กดลงบนพืน
้ ทีบ
่ ริเวณหนึง่ ๆ
ั พันธ์กบ
 แรงดันของน้ าจะสม
ั ระดับความลึกของ
น้ า คือ
– น้ าทีร่ ะดับเดียวกัน จะมีแรงดันของน้ าเข ้าไป
– น้ าทีร่ ะดับทีล
่ ก
ึ กว่าจะมีแรงดันมากกว่าน้ าทีร่ ะดับตืน
้
กว่า
การทดลองแรงดันน้ า
 1. นาขวดน้ าจะรูไว ้สามรูโดยให ้ระยะห่างแต่ละรู
เท่ากันแต่มค
ี วามสูงแตกต่างกัน
 2. ใชดิ้ นน้ ามันอุดรูทเี่ จาะไว ้ด ้านนอกของขวดน้ า
จากนัน
้ เติมน้ าให ้เต็มกระป๋ อง
 3. แกะดินน้ ามันทีอ
่ ด
ุ รูไว ้ออกทุกรู ในระหว่างนัน
้
ให ้เติมน้ าให ้เต็มขวดอยูต
่ ลอดเวลาแล ้วสงั เกตการ
ไหลของน้ าจากรูทงั ้ สาม
สรุปผลการทดลอง
 น้ าทีไ่ หลจากรูลา่ งสุดจะพุง่ ไปได ้ไกลทีส
่ ด
ุ รองลง
ได ้แก่รก
ู ลางและรูบนสุดซงึ่ อาจกล่าวได ้ว่าน้ าทีอ
่ ยู่
ระดับลึกจะมีแรงดันมากกว่าน้ าทีอ
่ ยูร่ ะดับตืน
้ และ
น้ าทีอ
่ ยูร่ ะดับเดียวกันจะมีแรงดันเท่ากันเสมอ