04-วิกฤติชาติ นำเสนอ

Download Report

Transcript 04-วิกฤติชาติ นำเสนอ

“วิกฤติชาติ การแก้ ไข และ
อนาคตเศรษฐกิจไทย”
Presented by Group 3 MPPM 15
นายกรัฐมนตรีไทย ปี พ.ศ.2544- จนถึงปัจจุบัน
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พลเอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์ นายสมัคร สุ นทรเวช นายสมชาย วงศ์ สวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
17 ก.พ. 2544
ถึง
19 ก.ย. 2549
1 ต.ค. 2549
ถึง
29 ม.ค. 2551
29 ม.ค. 2551
ถึง
9 ก.ย. 2551
9 ก.ย. 2551
ถึง
2 ธ.ค. 2551
17 ธ.ค. 2551
ถึง
ปั จจุบัน
ปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยในประเทศ
ความขัดแย้ งทาง
การเมือง
ขาดความเชื่อมัน่ ของ
ผู้บริ โภคและนักลงทุน
ปั ญหาเศรษฐกิจ
จัดการโดย
สร้ างความสามั ค คี ข องคน
ไทยชาติ
ยุตคิ วามขัดแย้ งอย่ างสันติ
นโยบายมาตรการกระตุ้ น
เศรษฐกิจ
ปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยภายนอก
ราคาน ้ามันใน
ตลาดโลกสูงขึ ้น
เกิดภาวะเงิน
เฟ้อ
กระทบต่อผู้มี
รายได้ น้อย
ปั ญหาวิกฤต
สถาบันการเงินใน
อเมริ กา
ส่งผลต่อตลาดหลักทรัพย์
เงินทุนไหลออก ความผัน
ผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
กระทบต่อการ
ส่งออกของประเทศ
นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2544-2549
สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
มาตรการนโยบายแก้ ไขเศรษฐกิจ
• ขาดดุลการคลัง
• ปรับปรุงระบบภาษี
• แผนการบริหารทรัพย์สินและหนี ้สิน
สาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
• ด้ านนโยบายด้ านการคลัง
• ด้ านนโยบายด้ านการเงิน
• คุณภาพของข้ อมูลด้ านการเงิน
• เปิ ดโอกาสให้ ภาคประชาชน
นักวิชาการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
• นโยบายการเงินปล่อยสินเชื่อกับ
นโยบายด้ าน
การคลัง
นโยบายการเงิน
สถาบันการเงิน
และตลาดทุน
สร้ างความ
โปร่งใสในด้ าน
เศรษฐกิจ
นโยบายเร่งด่วน
ภาคธุรกิจ
• ส่งเสริมความสามารถการแข่งขัน
ของสถาบันการเงินเร่งพัฒนา
ตลาดเงินและตลาดทุน
• พักชาระหนี ้เกษตรกรรายย่อยเป็ นเวลา 3 ปี
• จัดตังกองทุ
้
นหมูบ่ ้ านและชุมชนเมือง แห่งละ
1 ล้ านบาท
• จัดตังธนาคารประชาชน
้
• สร้ างหลักประกันสุขภาพทัว่ หน้ า โครงการ 30
บาท รักษาทุกโรค
ผลงานด้ านความรุ่ งเรืองทางเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาการฟื้ นตัวและการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและความเคลือ่ นไหวของดัชนีหลักทรัพย์
[สมชัย จิตสุ ชน/ชัยสิ ทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ ]
ข้อสรุ ปผลการวิเคราะห์:
1. การฟื้ นตัวจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของไทยนั้นขึ้นกับความรุ นแรงของวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศ
ส่ ว นใหญ่ฟ้ื นตัวก่ อ นไทย ยกเว้นเพียงอิ นโดนี เซี ย ซึ่ งประสบปั ญหาเสถี ย รภาพทางเศรษฐกิ จ
ในขณะที่รัฐบาลทักษิณได้ ประโยชน์ จากความมีเสถียรภาพก่ อนหน้ าการเข้ ามาบริหาร
2. ไม่ มีหลักฐานบ่ งชี้ว่า ในภาวะปกติ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยภายใต้ การบริ หาร
ของรั ฐ บาลทั ก ษิ ณ สู ง กว่ า อั ต ราปกติ ข องประเทศ หรื อ สู ง กว่า ประเทศเพื่ อ นบ้า นที่ มี ร ะดับ
พัฒนาการเศรษฐกิจใกล้เคียงกับไทย
3. มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ทฤษฎี Dual Track Economy สาหรับประเทศไทยโดยเฉพาะในช่วง
ที่มีทรัพยากรส่ วนเกินเหลืออยู่ แต่ รัฐบาลทักษิณมิได้ มีส่วนในการเพิม่ อุปสงค์ ภายในมากนัก การ
เพิม่ ขึน้ ของการบริโภคมาจากปัจจัยอืน่ มากกว่ า เช่ นอัตราดอกเบีย้ ทีต่ ่า
4. ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ของไทยมีผลตอบแทนแท้ จริงในระยะที่รัฐบาลทักษิณบริหารค่ อนข้ างสู ง
ส่ วนหนึ่งเป็ นเพราะดัชนีตกต่าไปลึกมากก่ อนรั ฐบาลทักษิณ อย่างไรก็ตามพบว่าในระยะสองปี
หลัง ของรั ฐ บาลทัก ษิ ณ อัต ราผลตอบแทนของไทยติ ด ลบและมี ผ ลงานต่ า ที่ สุ ด เมื่ อ เที ยบกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน ผลรวมคือแม้ รัฐบาลทักษิณจะบริ หารมา 5 ปี เต็ม อัตราผลตอบแทนตลาด
หลักทรัพย์ ไทยก็ยงั ไม่ สามารถลบล้ างความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ จากวิกฤติเศรษฐกิจได้
เปรียบเทียบอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจแต่ ละช่ วงเวลา
ประเทศ
อัตราปกติ
ไทย
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
เกาหลีใต้
สิงคโปร์
จีน
เวียดนาม
5.7
5.9
6.4
2.7
6.2
6.8
7.9
6.7
ช่วงฟื้ นตัวเศรษฐกิจไทย
ก่ อนทักษิณ
ยุคทักษิณ
(2542-2543)
(2544-2546)
4.6
2.8
7.5
4.7
9.0
7.9
7.5
5.8
ยุคทักษิณหลังวิกฤต
(2547-2548)
4.8
4.4
3.3
4.1
5.4
0.9
8.4
7.1
หมายเหตุ : อัตราปกติ หมายถึงอัตราการขยายตัวช่วงปี 2523-2539 ที่ไม่รวมปี ที่ขยายตัวต่ามากไปหรื อสู งมากไป
5.3
5.2
6.3
5.6
3.9
7.5
9.5
8.0
ผลงานด้ านความโปร่ งใสในการบริหารเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาหุ้นกลุ่มชิน
[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ]
ข้อสรุ ปผลการวิเคราะห์:
1. รั ฐบาลทักษิ ณมี นโยบายและมาตรการหลายอย่างที่ ให้ประโยชน์อ ย่า ง
เฉพาะเจาะจงต่อธุ รกิจที่ใกล้ชิดกับผูน้ ารัฐบาล นโยบายและมาตรการเหล่านี้
เป็ นสาเหตุสาคัญประการหนึ่ งที่ทาให้หลักทรัพย์ของชิน คอร์ ปอเรชัน่ ซึ่ งถือ
ครองโดยกลุ่มชิ นวัตรและดามาพงศ์มีมูลค่าเพิ่มสู งขึ้นโดยรวม 41,258 ล้าน
บาท จนสามารถขายให้แก่นกั ลงทุนต่างชาติได้ในราคา 73,000 ล้านบาทในปี
2549
2. แม้ในภาพรวมจากมุมมองระดับมหภาค ผลงานของตลาดหลักทรัพย์ไทยจะ
ไม่ มีความแตกต่ างกับประเทศเพื่อนบ้านนัก แต่ หากวิเคราะห์ แยกส่ วนจะ
พบว่ามี ลกั ษณะที่ น่าสนใจบางประการ อันอาจเป็ นสิ่ งบ่งชี้ ถึงปั ญหาความ
โปร่ ง ใสในการบริ ห ารเศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลทัก ษิ ณ ได้ โดยพบว่ า มี ธุ ร กิ จ
จานวนหนึ่งที่ได้รับประโยชน์มากกว่าบางกลุ่ม
บริษทั จดทะเบียนทีม่ กี ารเพิม่ มูลค่ าหลักทรัพย์ ตามราคาตลาดสู งสุ ด 10 แห่ ง (หน่ วย:ล้ านบาท)
บริษทั
มูลค่ าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด
(9 กพ. 2544)
มูลค่ าหลักทรัพย์ ตามราคาตลาด
(23 มค. 2549)
อัตราการเพิม่
ร้ อยละ (%)
มูลค่ าที่เพิม่
1.
PTTEP
64,874
351,044
286,170
441.1
2.
SCC
37,200
295,200
258,000
693.5
3.
ADVANC
126,360
306,918
180,558
142.9
4.
TPI
7,995
161,850
153,855
1,924.4
5.
BBL
59,393
211,882
152,488
256.7
6.
KBANK
60,578
160,730
100,152
165.3
7.
SCB
20,981
110,084
89,103
424.7
8.
SHIN
61,677
144,742
83,065
134.7
9.
LH
13,564
78,958
65,394
482.1
10.
SCCC
29,750
94,500
64,750
217.6
ที่มา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ผลงานด้ านนโยบายประชานิยม กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านและจด
ทะเบียนคนจน
[สมชัย จิตสุ ชน/จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ ]
ข้อสรุ ปผลการวิเคราะห์:
1. นโยบายกองทุนหมู่บา้ นประสบความสาเร็ จพอควรในการเข้าถึงกลุ่มผูท้ ี่มีศกั ยภาพในการ
ใช้ประโยชน์จากเงินกูก้ องทุน คือเป็ นเกษตรกรที่สามารถนาเงินไปลงทุนด้านการเกษตร
ได้ อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาในเรื่ องการกูย้ ืมซ้ าซ้อนและอาจไม่ทวั่ ถึ ง ตลอดจนยังมีผูก้ ู้
จานวนหนึ่งที่ตอ้ งกูย้ มื เงินจากแหล่งอื่นมาใช้คืนเงินกองทุน
2. ในการประเมิ น ผลต่ อ การเพิ่ ม รายได้แ ละลดรายจ่ า ยนั้น พบว่ า มี ค วามแตกต่ า งกัน
พอสมควรระหว่า งผูก้ ู้ที่ ใช้ป ระโยชน์จ ากเงิ น กองทุ น ได้แ ละผูท้ ี่ ไ ม่ ไ ด้ป ระโยชน์ จ าก
เงินกองทุน ทาให้ในภาพรวมเงินกองทุนหมู่บา้ นมิได้มีผลทาให้รายได้ของผูก้ เู้ พิ่มสู งกว่า
ผูท้ ี่มิได้กเู้ งินกองทุนอย่างมีนยั สาคัญ
3. ข้อมูลการจดทะเบียนคนจนมีปัญหาในเรื่ องความสมบูรณ์และแม่นยา เพราะมีคนจนถึง
กว่าร้อยละ 70 ที่มิได้จดทะเบียนและผูจ้ ดทะเบียนร้อยละ 85 ไม่ใช่คนจน อาจทาให้เกิด
ปั ญหาการละเลยคนจนที่แท้จริ งหากรัฐบาลยึดถือฐานข้อมูลนี้โดยไม่ตรวจสอบกับแหล่ง
อื่น
นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2549-2551
สมัยรัฐบาล พลเอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์
นโยบายเศรษฐกิจ
ภาคเศรษฐกิจฐานราก เสริมสร้ าง
ความเข้ มแข็ง
ภาคเศรษฐกิจ ระบบตลาด
หลักคุณธรรมและการสร้ างความ
เป็ นธรรม
ภาคเศรษฐกิจส่ วนรวมสร้ าง
ภูมิค้ มุ กัน
แก้ ไขปั ญหาหนี ้สินเกษตรกร
ส่งเสริ มการลงทุนและการส่งออก
กระตุ้นเศรษฐกิจระยะสัน้ โดย
งบประมาณขาดดุล เร่ งรัด
เบิกจ่ายงบประมาณลดหย่อน
ภาษีที่อยู่อาศัย ฯลฯ
พัฒนาคุณภาพ/ศักยภาพ สินค้ า
เกษตรและ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน
ยกระดับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
โดยปรับลด
สร้ างเสถียรภาพราคาสินค้ า
เกษตร
พัฒนา/เสริ มสร้ าง SME
ทรัพย์สินทางปั ญญา
อัตราดอกเบี ้ย รักษาเสถียรภาพ
ค่าเงินบาท ฯลฯ
ส่งเสริ มการท่องเที่ยว
ส่งเสริ มการออม
มาตรการสาคัญ
• GDP ขยายตัว ปี 50 > ปี 49
• อัตราเงินเฟ้ อ ปี 50 < ปี 49
วิเคราะห์ การใช้ นโยบาย
จุด เด่ น เป็ นนโยบายที่ น าแนวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาเป็ นกรอบ
นโยบาย และมุ่งเน้ นการเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งด้ านเศรษฐกิจของชุมชนฐานราก
ร่วมกับภาคเศรษฐกิจระบบตลาดและภาคเศรษฐกิจส่วนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ
โดยให้ ความสาคัญกับหลักคุณธรรม จริ ยธรรมในการดาเนินการทางเศรษฐกิจ ใน
ระบบตลาดเสรี แต่ผลงานยังไม่ปรากฏผลตามกรอบนโยบายอย่างเป็ นรูปธรรม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักคุณธรรมกากับการพัฒนา
เศรษฐกิจในระบบตลาดเสรี
วิเคราะห์ นโยบายการแก้ ไขปัญหาเศรษฐกิจภายใต้
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.
2.
3.
4.
นโยบายไม่ ได้ พูดถึงเรื่องปัญหาการจัดการดูแลทรัพยากรธรรมชาติไม่ ว่าจะเป็ น ป่ า ที่ดนิ นา้ ทรัพยากรชายฝั่ง ฯลฯ ที่
ถือได้ ว่าเป็ นทุนทางเศรษฐกิจที่สาคัญ
สนับสนุนการออมในทุกระดับและพูดถึงการดาเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล เพือ่ ให้ สามารถรองรับการ
ขยายตัวของเศรษฐกิจอย่ างพอเพียงและมีการลงทุนทางด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐานที่จาเป็ นเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถใน
การแข่ งขันของประเทศและเสริมภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ ในขณะที่จะเสริมสร้ างวินัยทางการเงินการคลังของภาครัฐ
โดยการใช้ จ่ายอย่ างมีเหตุผลและประหยัดเท่ านั้น มิได้ กล่าวถึงกลไกภาษีเลยแม้ แต่ น้อย
หลักเศรษฐกิจพอเพียงของรัฐบาลชุดนีอ้ าจเป็ นแค่วาทกรรมที่ยงั คงโครงสร้ างชั้นภูมิทางอานาจและความสามารถใน
การแสวงหากาไรหรือการขูดรีดมูลค่าส่ วนเกินแบบเดิมๆอยู่ ก็อาจกล่าวได้ ว่าการเปลีย่ นแปลงครั้งนีก้ เ็ ป็ นการต่ อสู้ ของ
ชนชั้นนาระหว่าง 2 กลุ่มคือทุนนิยมกับศักดินา
เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแค่แนวคิดที่มีไว้ให้ คนเลือกปฏิบัติ สรุปได้ ว่าเป็ นเพียงแค่ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
รวมทั้งมีคุณธรรมและความรู้ ซึ่งก็ไม่ ต่างกันกับการที่รัฐบาลได้ ประกาศในนโยบายด้ านเศรษฐกิจดังที่ได้ กล่าวมาแล้ว
ว่าเป็ นแนวทางที่ทุกคนทุกวิถชี ีวติ สามารถนาไปใช้ ได้ ไม่ ว่าจะเป็ นเกษตรกร กรรมกร ไปจนถึงเจ้ าของบริษทั ยักษ์ ใหญ่
ต่ างๆ เป็ นแค่การเปลีย่ นแปลงคติในการดาเนินชีวติ หรือปรัชญาชีวติ ของตน แต่ โครงสร้ างความสัมพันธ์ ในระบบ
เศรษฐกิจยังคงมีลกั ษณะเดิมอยู่นั่นเอง
นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551
สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุ นทรเวช
มาตรการนโยบายแก้ ไขเศรษฐกิจ
• ลดอัตราภาษี สรรพสามิตน ้ามัน
มาตรการ 6 มาตรการ 6
เดือน (นโยบายประชานิยม)
ยกเลิกมาตรการกันสารอง
30%
มาตรการภาษี เพื่อกระตุ้น
และฟื น้ ฟูเศรษฐกิจ
• ชะลอการปรับราคาก๊ าซหุงต้ ม (LPG) ในภาคครัวเรื อน
• ลดค่าใช้ จ่ายน ้าประปาของครัวเรื อน
• ลดค่าใช้ จ่ายไฟฟ้ าของครัวเรื อน
• ลดค่าใช้ จ่ายเดินทางรถโดยสารประจาทาง
• ลดค่าใช้ จ่ายเดินทางโดยรถไฟชัน้ 3
• รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์ รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะรัฐประศาสนศาสตร์
นิด้า ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้ านเศรษฐศาสตร์ การเงินการคลัง กล่ าวถึงการยกเลิกมาตรการ
กันสารอง 30% ของธนาคารแห่ งประเทศไทยว่าส่งผลดีตอ่ ภาวะการลงทุนในตลาดหุ้นไทย นัก
ลงทุนต่างชาติต้องการโยกย้ ายเงินลงทุนมายังภูมิภาคเอเชีย เนื่องจากปั ญหาสินเชื่ อด้ อยคุณภาพ
(ซับไพร์ ม) ในสหรัฐอเมริ กา ทาให้ เม็ดเงินลงทุนต้ องแสวงหาที่ซงึ่ ให้ ผลตอบแทนได้ ดีและมีความ
ปลอดภัยกว่า ซึง่ ต้ องยอมรับว่า ตลาดหุ้นไทยมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจาก
อัตราส่วนราคาต่อกาไรต่อหุ้นหรื อP/E Ratio ของตลาดหุ้นไทยที่อยูใ่ นระดับค่อนข้ างต่า
• เพิ่มรายได้ ให้ แก่ประชาชนและช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
• มาตรการภาษีสนับสนุนวิสาหกิจชุมชมและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
• มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย
วิเคราะห์ การใช้ นโยบาย
นโยบายของรัฐบาลนายสมัคร แสดงออกในรู ปแบบมาตรการทางเศรษฐกิจ ที่
ออกมาบังคับใช้ มีผลทันทีเพื่อหวังผลกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยใช้ มาตรการทางภาษี
เป็ นตัวนา แต่เป็ นไปในลักษณะของนโยบายประชานิยม มากกว่าที่จะส่ งผลดี
หรื อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว
ส่ ว นนโยบายด้ านอื่ น ๆ ยั ง ไม่ ป รากฎผลชั ด เนื่ อ งจากระยะเวลาในการ
บริ หารงานค่อนข้ างน้ อย จึงยังไม่สามารถผลักดันนโยบายและมาตรการทาง
เศรษฐกิ จ อื่ น ๆ มาใช้ แต่ รั ฐ บาลในชุ ด ปั จ จุ บัน ของนายอภิ สิ ท ธิ์ ก็ ยัง คงน า
มาตรการบางอย่างมาสานต่อ เช่น การต่ออายุ 6
มาตรการ ออกไปอี ก
เนื่องจากเป็ นนโยบายประชานิยม
นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551
สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศ์ สวัสดิ์
นโยบายเศรษฐกิจ
นโยบายการบริหารเศรษฐกิจระดับมหภาค
• 1. สร้ างความมัน่ คงและเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานของสถาบันการเงินและตลาดทุน
• 2. สนับสนุนการเจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ ดูแลเงินเฟ้อให้ สอดคล้ องกับ
สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยภายใต้ การผันแปรอย่างรุนแรงของเศรษฐกิจ
• 3. รักษาวินยั การคลังเพื่อให้ เกิดความยัง่ ยืนทางการคลังในระยะยาว
• 4. ปรับปรุงระบบภาษีและการจัดเก็บภาษีให้ มีความเป็ นธรรม มีประสิทธิภาพ และเพียงพอ
กับรายจ่ายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต
• 5.ส่งเสริ มให้ มีระบบการออมระยะยาว เพื่อให้ ประชาชนมีเงินออมเพียงพอกับการดารงชีพใน
ยามชรา
• 6.ปรับปรุงประสิทธิภาพของตลาดทุนให้ ทดั เทียมกับตลาดหลักในภูมิภาคและตลาดโลกทัง้
ด้ านธรรมาภิบาล ราคา และคุณภาพ
เน้ นปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ
ภาคเกษตร
ภาคอุตสาหกรรม
ภาคการ
ท่องเที่ยวและ
บริ การ
การตลาด การค้ า
และการลงทุน
วิเคราะห์ การใช้ นโยบาย
1 นโยบายเร่งด่วน ซึ่งเป็ นการแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจที่รัฐบาลได้ ประเมิ นไว้ กลับไม่
มี ค วามชัด เจน ยากที่ น าไปผลัก ดัน หรื อ ส่ว นราชการน าไปปฏิ บัติ ในขณะที่
นโยบายที่ดาเนินการในระยะ 3 ปี กลับมีความชัดเจนมากกว่า
2 เป็ นผลพวงของรากฐานความคิดเดิมการบริ โภคนิยม ผ่าน Demand Side ของ
นายกฯสมัคร เช่น Mega Project SML OTOP และพักหนี ้เกษตรกร
3 ยังยึดหลักการหาเสียงด้ วยเงินงบประมาณ ในลักษณะประชานิยม จนเกิด หนี ้
สาธารณะเพิ่มขึ ้น
4 นโยบายทางด้ านเศรษฐกิจเร่ งด่วนที่ตงไว้
ั ้ มีการผลักดันด้ วยมติค ณะรัฐมนตรี
เพื่ อ ให้ หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบไปด าเนิ น การน้ อยมาก จึ ง ไม่ มี ก ารแก้ ไข
สถานการณ์ ทางเศรษฐกิจให้ ดีขึน้ จนเป็ นภาระต่อไปยังรัฐบาลชุดถัดไป (นาย
อภิสทิ ธิ์ฯ)
นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551-52
สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
“ ความสุ ขของคนไทย คือเป้าหมายของรัฐบาล ”
นโยบายด้ านเศรษฐกิจ (เน้ นที่สาคัญ)
แก้ ไขและบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจ
เพื่ อแก้ ไขและบรรเทาผลกระทบจากวิ กฤตเศรษฐกิ จ โลก
รัฐบาลชุดนีไ้ ด้ ใช้ มาตรการหลายชนิดผสมผสานกัน เช่น ช่วย
แบ่งเบาภาระค่าใช้ จ่ายของประชาชน บรรเทาการว่างงาน
ช่วยเหลือผู้ประกอบการ
ขนาดกลางและขนาดย่อม
ในขณะเดียวกันก็มองหา
หนทางเพิ่มรายได้ ให้ กบั
ประชาชน และลงทุนทาง
สังคมในเชิงรุก
นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค
สร้ างเสถียรภาพและความ
มัน่ คงของสถาบันการเงิน
รักษาวินยั การคลัง โดยปรับ
งบประมาณประเทศให้
สอดคล้ องกับเงินของแผ่นดิน
นโยบายปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ
บริ หารจัดการแหล่งน ้า
ให้ เพียงพอต่อพื ้นที่
การเกษตร
พัฒนาระบบโลจิสติกส์
ตลาดทางการเกษตร
เพื่อเพิ่มรายได้
แก้ ไขปั ญหาหนี ้สินทังใน
้
และนอกระบบของ
เกษตรกร
พัฒนาภาคเกษตรให้ มี
ความเข้ มแข็งโดยสร้ าง
ระบบการเรี ยนรู้
โครงการช่ วยเหลือค่ าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ
( เช็คช่ วยชาติ 2,000 บาท )
กระตุน้ เศรษฐกิจโดยการสร้างกาลังซื้ อโดยการให้ผทู้ ี่มี
รายได้น้ อ ยคนละ2,000 บาทครอบคลุ ม ผู้ที่ อ ยู่ ใ นระบบ
ประกันสังคม บุคลากรภาครัฐที่มีรายได้ต่ากว่า15,000 บาท
ต่อเดือน
โครงการส่ งเสริ มและสนั บสนุ นอุตสาหกรรมอาหาร
และอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่ อม (SMEs)
มาตรการด้ านการเงิน
รัฐปล่อยสิ นเชื่ อและการค้ าประกันแก่ผปู ้ ระกอบการSMEs ผ่านการเงิน
เฉพาะกิจ (SFIs)
มาตรการด้ านภาษี
ช่ ว ยเหลื อ และสนับ สนุ น ผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อ มและ
วิสาหกิจชุมชน
1.สนับสนุ น ธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ โดยลดอัตราจานองอสังหาริ ม ทรั พย์
เหลือร้อยละ 0.01 ไปจนถึงสิ้ นปี 2552
2.มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนธุรกิจท่องเที่ยว
3.มาตรการภาษีเพื่อ สนับสนุ นการปรับปรุ งโครงสร้ างหนี้ และโครงสร้าง
องค์กร ที่ผา่ นการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ การใช้ นโยบาย รัฐบาลภายใต้ การนาของ
ฯพณฯ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
1.ให้ความสาคัญกับเศรษฐกิจพอเพียง
2.มุ่งเน้นการแก้ปัญหาโครงสร้างของตลาด ตลาดปั จจัยการผลิต
ตลาดสิ นค้าและบริ การ และตลาดการเงิน มุ่งเน้นการมีส่วนร่ วม
ของหน่วยเศรษฐกิจระดับเล็ก กลาง และใหญ่
3. การลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศในระยะ
ยาว ทั้ง ในด้า นสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน ลอจิ ส ติ ก ส์ การเกษตร
สาธารณสุ ข ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ฯลฯ โดยการลงทุ น เหล่ า นี้ จะ
สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็ง 2553-2555
สรุปความเห็นโดยรวมต่ อนโยบาย ของรัฐบาลอภิสิทธิ์
1.กดดอกเบี้ยเงินฝากในอัตราต่าติดดินแต่ข้ ึนดอกเบี้ยเงินกู้
ในอัตราสู งเกินเพดานที่ผปู ้ ระกอบการจะรับไหวเอาเปรี ยบ
2.แจกเงิน 2,000บาท แก่ผมู ้ ีรายได้ต่ากว่า 15,000บาท โดยไม่
คานึงถึงแก่ประชาชนที่ยากจน ไม่มีงานทาที่เดือดร้อนทุกข์ยาก
ในชนบท
3.รัฐบาลต้องไม่หวังผลทางการเมือง ต้องมองให้ไกล ทา
โครงการที่ก่อให้เกิดการจ้างงานจริ งๆ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ผลของการนานโยบายไปปฏิบัติ
1.สร้ า งความเชื่ อ มั่น แก่ ภ าคเอกชนในการลงทุ น และการ
บริ โภค
2.ร่ วมมือกับภาคเอกชนในการชะลอและป้ องกันการเลิกจ้าง
3.สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานราก
4.รักษาเสถียรภาพราคาสิ นค้าเกษตรผ่านกลไกและเครื่ องมือ
ของรัฐและสร้างระบบประกันความเสี่ ยงทางการเกษตร
5.ลดภาระค่ า ครองชี พ ของประชาชน และก ากับ ดู แ ลราคา
อุปโภคบริ โภคและการบริ การที่มีความจาเป็ นต่อการครองชีพ
สรุปความเห็นโดยรวมต่ อนโยบาย ของรัฐบาลอภิสิทธิ์(ต่ อ)
4.ระบบเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง ที่ มี ก ารเชื่ อ มโยง
สอดคล้องกัน
5.นโยบายของรั ฐต้องดึ งให้ชุมชนที่เกี่ ยวข้องมามีส่วนร่ วม
ในการเมื อ งประชาชนสามารถก าหนดทิ ศ ทางได้ ทุ ก คนมี
ศักดิ์ศรี และมีสิทธิ์ ที่จะได้รับการดูแลในฐานะที่เป็ นคนไทย
6.เศรษฐกิจต้องมีกติกาการแข่งขันที่เป็ นธรรม บนพื้นฐาน
ของความสามารถและมีการกระจายรายได้อย่างทัว่ ถึงและยัง่ ยืน
7.สร้างสังคมให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ รัฐบาลต้องนาพา
ประเทศให้กา้ วพ้น ”ประชานิยม”
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ปี พ.ศ.2544-2550 (GDP)
GDP ณ ราคาประจาปี
ปี
พันล้ านบาท
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
5,133.5
5,450.6
5,917.4
6,489.8
7,087.7
7,813.1
8,469.1
อัตราการเติบโต (%)
4.3
6.2
8.6
9.7
9.2
10.2
8.2
ที่มา สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
เฉลี่ยต่ อคน
81,915.8
86,322.2
92,960.0
101,092.7
109,440.0
119,771.4
129,162.5
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติปี พ.ศ.2544-2550 (GNP)
GNP ณ ราคาประจาปี
ปี
พันล้ านบาท
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
5,048.4
5,362.0
5,806.3
6,363.7
6,917.7
7,655.9
8200.7
อัตราการเติบโต (%)
4.2
6.2
8.3
9.6
8.7
10.7
9.2
ที่มา สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
เฉลี่ยต่ อคน
80,558.4
84,918.5
91,215.8
99,126.9
106,815.9
117,362.2
124,831.6
จานวนผู้ประกันตนที่ขึ ้นทะเบียน
ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณี
ว่างงาน
การเปลี่ยนแปลงการใช้ จ่าย
ภาคครัวเรื อน
ปี 2550-2552
ช่องว่างความยากจน ความรุ นแรงปั ญหาความยากจน เส้นความยากจน สัดส่ วนคน
จน และจานวนคนจน ระหว่างปี พ.ศ. 2541-2550
2541
2543
2545
2547
2549
2550
ช่องว่างความยากจน
3.35
4.24
2.75
2.01
1.81
1.45
ความรุ นแรงปั ญหาความยากจน
0.99
1.30
0.81
0.56
0.53
0.41
เส้ นความยากจน (บาท/คน/เดือน)
1,130
1,135
1,190
1,242
1,386
1,443
สัดส่วนคนจน (ร้ อยละ)
17.46
20.98
14.93
11.16
9.55
8.48
จานวนคนจน (ล้ านคน)
10.2
12.6
9.1
7.0
6.1
5.4
ประชากรทัว่ ประเทศ (ล้ านคน)
58.7
59.9
61.2
62.9
63.4
63.9
ที่มา : ข้อมูลจากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรื อน สานักงานสถิติแห่งชาติ
อนาคตเศรษฐกิจไทย
มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ ช้ันนาทีม่ ีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย
ดร. อัมมาร สยามวาลา นักวิชาการเกียรติคณ
ุ ทีดีอาร์ ไอ
เชื่อว่าประชานิยมยังอยูค่ กู่ บั สังคมไทยไปอีกนาน
ภาระหนี ้ของประเทศที่สงู มาก ตัวแปรหลักที่จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในอนาคต
ปั ญหาเงินเฟ้อ ทาให้ รัฐต้ องใช้ เงินจานวนมากเพื่อแก้ ปัญหาประชาชน นาไปสู่
ปั ญหา Fiscal Crisis
ดร.โอฬาร ไชยประวัติ รองนายกรัฐมนตรี
มองว่า 10 ปี ข้ างหน้ าชนบทจะขยายตัวมากกว่าในเมือง
ราคาสินค้ าเกษตรมีแนวโน้ วสูงขึ ้น ทาให้ รายได้ เกษตรขยายตัวประมาณ 40%
และจีดีพีประเทศเพิ่ม
5-10 ปี ข้ างหน้ า ราคาน ้ามันและอาหารจะเป็ นตัวกาหนดทิศทางเศรษฐกิจไทย
มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ ช้ันนาทีม่ ีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย
ดร.บัณฑิต นิจถาวร รองผู้วา่ การธนาคารแห่งประเทศไทย
เศรษฐกิจของประเทศสามารถก้ าวไปสูเ่ ศรษฐกิจสมัยใหม่
หากประชาชนจานวนมากได้ รับการศึกษา มีโอกาสในการแข่งขันในตลาด
ปั ญหาการกระจายรายได้ ลดลง
ดร.ฉลองภพ สุสังกร์ กาญจน์ อดีตรัฐมนตรี วา่ การกระทรางการคลัง
อนาคตไทยต้ องมีโครงสร้ างที่สามารถปรับเปลี่ยนตามกระแสโลก
มีการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจมากขึ ้น เช่น การลดภาษี ในอาฟต้ า ปี 2015
การรวมกลุม่ ทางการค้ า และการลงทุนของอาเซียน เป็ น”ยุทธศาสตร์ ในเชิง
ภูมิภาค
มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ ช้ันนาทีม่ ีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย
ดร.ศุภวุฒิ สายเชือ้ กรรมการผู้จดั การฝ่ ายวิจยั บล.ภัทร
ทัว่ โลกวิตกจะเกิดภาวะเงินตึงตัวอย่างรุนแรงในตลาดการเงินโลก
ส่งผลกระทบเป็ นลูกโซ่ สูต่ ลาดการเงินของประเทศต่างๆ
เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจถดถอยตามมา
ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์
ความน่าเชื่อถือของประเทศที่กาลังลดลง
ปั ญหาเศรษฐกิจสหรัฐ
ปั ญหาการเมืองภายในประเทศ เจ้ าหน้ าที่ระดับสูงไม่กล้ าปฏิบตั ิงานจริง
การประสานงานระหว่างนโยบายการเงิน และการคลัง
คาดการณ์ ว่า GDP จะโตถึง 4 กว่ า เนื่องจากเศรษฐกิจฟื้ นตัว
6 ปั จจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
1. การเมืองไทย
2.อัตราเงินเฟ้อ
3.อัตราแลกเปลี่ยน
4.เสถียรภาพของสหรัฐ ยูโร ญี่ปนุ่
5.ราคาน ้ามัน
6. ราคาสินค้ าเกษตร ประเทศไทยมีแนวโน้ มจะส่งข้ าวรายใหญ่ของโลก
บทสรุ ปอนาคตเศรษฐกิจไทย
เร่ งปรั บโครงสร้ างเศรษฐกิจ
และการเมืองไทยครั ง้ ใหญ่
วางตาแหน่ งประเทศให้ ชัดเจน
ภาคการเกษตรยังคงเป็ นหัวใจ
ที่พ่ งึ พิงได้ อีกยาวนาน
ไทยสามารถก้ าวสู่ การเป็ น
ศู น ย์ กลางเศรษฐกิ จ ด้ านการ
ผลิ ต การค้ า และการเงิ น ใน
ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค ไ ด้ เ พ ร า ะ
ได้ เปรี ยบเชิงภูมิศาสตร์
ข้ อตกลงการค้ าเศรษฐกิจแบบ
ท วิ ภ า คี ห รื อ แ บ บ พ หุ ภ า คี
ภายในภู มิ ภ าคเพิ่ ม ขึ น้ อี ก ทั ง้
ข้ อตกลงใหม่ ๆ
ไทยมี โ อกาสขยายตั ว ในอนาคต
จากการต่ อ สู้ กั บ การเปลี่ ย นแปลง
ทางการเงิ น การค้ า เทคโนโลยี
การศึกษาพัฒนาเมือง คุณภาพชี วิต
ในภาคครัวเรื อน และความต้ องการ
ของภาคประชาชน
การนาหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ ด้วยการดาเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจอันจะทาให้ ปัจเจกบุคคล
และสังคมบรรลุซ่ งึ ศานติสุข จากการมีชีวติ ใน
โลกของวัตถุ ภายใต้ เงื่อนไขของการมีทรัยพากร
ที่จากัด (จากข้ อมูล ศ.ดร. อภิชัย พันธเสน) เป็ น
เรื่องที่น่าศึกษาเพื่อนามาประยุกต์ ใช้ กับอนาคต
ไทยได้ อีกทางหนึ่งเช่ นกัน
สมาชิกกลุ่ม 3 ห้ อง 2 MPPM 15
1. พิชิตพล ลีฬหารัตน์
รหัสนักศึกษา
2. พิรกิตติ์ รัตนดาราโชค
3. ปรางทิพย์ ติณสูลานนท์
4. สุภเมธินี ศีลเสน
5. นันท์ธีรา ธารณาวัฒน์
6. สโรชา รัตนาวะดี
7. ปั ทมาภรณ์ พิภพไชยาสิทธิ์
8. ภัฑริ า วาดวงศรี
9. สมนึก อินทสิทธิ์
10. ชวลิต เลขะวัฒนะ
11. อรวรรณ ก้ องปฐพีชยั
5210122108
5210122124
5210122126
5210122127
5210122138
5210122142
5210122153
5210122159
5210122160
5210122161
5210122175
สมาชิกกลุ่ม 3 ห้ อง 2 MPPM 15
12.เสกสรร ตังตรงน
้
้าจิต รหัสนักศึกษา
13.ศรันย์ดิษฐ์ เบญจพงศ์
14.อนุศกั ดิ์ จันทคราม
15.ปกาศิต แก้ วสุขแท้
16.พรทิพย์ กล้ วยไม้ ณ อยุธยา
17.อภินนั ท์ สุนทรานนท์
18.จารัส พัฒนเสรี
19.บงการ ศรี วโร
20.วราภรณ์ วงษ์ ศิริ
21.ศิวพงษ์ ภู่มาลา
5210122176
5210122177
5210122189
5210122190
5210122191
5210122192
5210122205
5210122206
5210122208
5210122214
สมาชิกกลุ่ม 3 ห้ อง 2 MPPM 15
22.สาคร สวนอุดม
รหัสนักศึกษา
23.ดิเรก ภักดีจาตุรันต์
24.ชิตพล จิระรัตน์พิศาล
25.ปรี ยนันท์ กิติพงษ์ พฒ
ั นา
26.ไอลดา กฤตศิลป์
27.เจริญ รัตนบรรณสกุล
28.วารี สังข์ศิลป์ไชย
29.พจนีย์ วรรณรัตน์
5210122215
5210122216
5210122217
5210122218
5210122219
5210122220
5210122221
5210122223
The end