รายละเอียดเพิ่มเติม

Download Report

Transcript รายละเอียดเพิ่มเติม

ศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกั ษ์
1. วิกฤตการพัฒนาทั่วโลก
1.1 การพัฒนาตามอย่ างประเทศที่เจริญแล้ ว
(Developed industrial country) คือ การพัฒนาเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมเสรี ทีม่ ่ ุงความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาจากเศรษฐกิจ
เป็ นฐานเพือ่ แก้ ปัญหา
1) ความยากจน (poverty)
2) ความไม่ ร้ ู (ignorance)
3) ความเจ็บไข้ ได้ ป่วย
(disease)
ทศวรรษแห่ งการพัฒนา
ระยะที่ 1 พ.ศ. 2503-2513
วิกฤตการพัฒนา
1) ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอลง
2) ของเสี ย สารพิษ มลภาวะเพิม่ ขึน้
3) ประชากรก่ อปัญหา
ใน 1) และ 2) อย่ างต่ อเนื่อง
พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตโต, 2539)
สิ่ งทีท่ าให้ เกิด
วิกฤต
ในการพัฒนาคือ
ความเจริญทีม่ นุษย์ ชนะ
แต่
โลกหายนะ
1.2 ปัญหาการพัฒนาประเทศไทย
1.ความขัดแย้ งในการแย่ งชิงทรัพยากรจะรุนแรงขึน้
2.พันธกิจด้ านสิ่ งแวดล้อมจะเป็ นภาระต่ อต้ นทุนการผลิต
3.กระแสประชาธิปไตยในประชาคมโลกมีอทิ ธิพลต่ อ
แนวคิดและค่ านิยมในการพัฒนาประเทศ
4. กระแสการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเป็ นภาระ
ทีร่ ัฐต้ องสร้ างความเข้ าใจทีถ่ ูกต้ องเพือ่ ลด
ความขัดแย้ งในสั งคม
5. ความโดดเด่ นของเอกลักษณ์ วฒ
ั นธรรมไทย
และภูมปิ ัญญาท้ องถิน่ ทีห่ ลากหลายในการสร้ างคุณค่ า
และมูลค่ าเพิม่ ของประเทศ
2. กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
2.1 กระแสโลกว่ าด้ วยการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ปี 1984 (2527) UN ตั้งคณะกรรมการอิสระ 22 คน
กาหนดกลยุทธ์ สิ่งแวดล้อมระยะยาวสาหรับชุมชนโลก
(Elliott, 2006)
ปี 1987 (2530) World Conference on
Environment and Development (WCED)
พิมพ์รายงานเรื่อง “Our Common Future”
หรือเรียกว่ า “Brundtland Report”
(WCED, 1987) ตามชื่อประธาน
ซึ่งเป็ นนายกรัฐมนตรีนอรเวย์ คือ
Gro Harlem Brundtland
ซึ่งมีการใช้ คาว่ า
“Sustainable Development”
ในแวดวงการเมืองและแนวคิดการพัฒนา
ของนานาชาติ ซึ่งต่ อมามีการแปลรายงานนี้
กว่ า 24 ภาษา
(Finger, 1994)
ปี 1992 (2535) The United Nations Conference
on Environment and Development หรือ
“Earth Summit” ที่ Rio de Janeiro, Brazil
ซึ่งเป็ นการประชุมนานาชาติทใี่ หญ่ สุด
มีผู้แทนกว่ า 170 ประเทศ เข้ าประชุม
มี NGO กว่ า 2,500 คน
มีสื่อมวลชนกว่ า 8,000 คน
จุดมุ่งหมายของการประชุมคือ
การกาหนดหลักการของการปฏิบัติการ
สู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในอนาคต
ให้ เป็ นทีย่ อมรับของผู้นาระดับสู ง
ซึ่งเรียกว่ า
“การประชุมสุ ดยอดระดับผู้นาประเทศ”
(Earth Summit)
(O’ Riordan, 2000)
ปี 1997 (2540) UNESCO ได้ จัด International
Conference “Environment and Society:
Education and Public Awareness for
Sustainability”
ที่เมือง Thessaloniki ประเทศกรีซ
โดยเน้ นบทบาทของการศึกษา
และความตระหนักของสาธารณชนเพือ่ ความยัง่ ยืน
พร้ อมทั้งการระดมสรรพกาลัง
สู่ จุดมุ่งหมายดังกล่ าว
(UNESCO, 1997)
ปี 2002 (2545) UN จัด World Summit
on Sustainable Development (WSSD)
มีผู้นาประเทศเข้ าประชุม จานวน 104 ประเทศ
ที่เมือง Johannesburg ประเทศ South Africa
มีผู้แทน NGOs จากประเทศกาลังพัฒนา
เข้ าประชุมจานวนมาก และมีการนาประเด็น
สิ ทธิมนุษยชน ความเป็ นธรรมทางสั งคม
และความรับผิดชอบของธุรกิจ
(Elliott, 2006)
UNESCO ได้ กาหนดให้ ปี 2005-2014 เป็ น
UNITED NATIONS
DECADE OF EDUCATION
FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT
Asia-Pacific Region
2.2 ความสาคัญของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
EARTH
SUMMIT
พ.ศ.2535
AGENDA 21
1. ประเทศสมาชิกต้ องกาหนดเป้าหมายการพัฒนา
แห่ งสหัสวรรษร่ วมกันภายใน พ.ศ. 2558 เพือ่
ยกระดับคุณภาพชีวติ และขจัดปัญหาความยากจน
ของคนในประเทศ
2. ประเทศสมาชิกควรมุ่งส่ งเสริมการพัฒนาศักยภาพ
มนุษย์ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาด้ านการศึกษาและการ
บริการด้ านสุ ขภาพ
3. เสริมสร้ างสานึกเพือ่ กระตุ้นให้ ประชากรทัว่ โลก
ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนโดย
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนต้ องร่ วมกันเป็ น
หุ้นส่ วนเพือ่ การพัฒนาและร่ วมกันพิทกั ษ์ สิ่งแวดล้อม
เพือ่ ให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืนต่ อไป
2.3 ความหมายของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
Sustainable Development
การพัฒนาที่ตอบสนองความต้ องการของคน
ในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ ทาให้ คนรุ่นต่ อไป
ในอนาคตต้ องประนีประนอมยอมลด
ความสามารถในการตอบสนอง
ความต้ องการของตนเอง
UNESCO, 1997, p.13
การพัฒนาที่ตอบสนองความต้ องการ
ของคนในปัจจุบันโดยไม่ ทาลาย
ทรัพยากรซึ่งเป็ นที่ต้องการของคนในอนาคต
CORSON, 1990, p.54
เป็ นการพัฒนาทีม่ ลี กั ษณะบูรณาการ
เป็ นองค์ รวมและมีดุลยภาพหรือ
การทาให้ กจิ กรรมของมนุษย์ สอดคล้ อง
กับกฎเกณฑ์ ธรรมชาติ
ป.อ. ปยตุ โต, 2541
2.4 แนวคิดหลักของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
สมัชชาโลกว่ าด้ วยสิ่ งแวดล้ อมและการพัฒนา (WCED)
“การพัฒนาจะต้ องเกิดความสมดุล
ระหว่ างเศรษฐกิจกับธรรมชาติอย่ าง
UNESCO
ยัง่ ยืน”
การพัฒนา
“การพัฒนาจะต้ อง
คู่กบั สิ่ งแวดล้อม
เกิดความสมดุล
ระหว่ างเศรษฐกิจกับ
วัฒนธรรมอย่ าง
การพัฒนา
ยัง่ ยืน”
คู่กบั วัฒนธรรม
เปลีย่ นกระบวนทัศน์ การพัฒนา (Paradigm
Shift)
จากการพัฒนาแบบคนเป็ นศูนย์ กลาง (Human Centered)
เป็ นแบบโลกเป็ นศูนย์กลาง (Earth Centered)
The Quality of Growth: การเติบโตอย่ างมีคุณภาพ
การเติบโตอย่ างมีคุณภาพ ทาได้ โดยการ
ให้ ความสาคัญกับการลงทุน 3 ด้ าน
1. ทุนทางกายภาพ (Physical capital)
2. ทุนมนุษย์ (Human capital)
3. ทุนธรรมชาติ (Natural capital)
4. ทุนทางสั งคม (Social capital)
การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
คือ การมีอนาคตทีม่ คี วามรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
มีความเป็ นธรรมในสั งคม และมีการปกป้ อง
คุ้มครองสิ่ งแวดล้อมธรรมชาติพร้ อมๆกัน
แผนภาพ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
การอยู่ดีมีสุขของสังคม
Societal Well-being
สั งคม
การพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงั่ ยืน
เศรษฐกิจ Sustainable Economic
Development
สิ่ งแวดล้ อม
คุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
Environmental Quality
การพัฒนาเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน
Sustainable Economic Development
1. การเติบโตที่ยงั่ ยืน (sustainable growth)
2. ความมีชีวติ ชีวา (vitality)
3. ความเป็ นธรรม (equity)
4. ประสิ ทธิภาพ (efficiency)
5. การแข่ งขันควบคู่กบั ความร่ วมมือ
(competition/co-operation)
การอยู่ดมี สี ุ ข (Societal Well-being)
1. การเสริมสร้ างพลังอานาจ (empowerment)
2. การมีส่วนร่ วม (participation)
3. การเลือ่ นชั้นทางสั งคม (social mobility)
4. ความสมานฉันท์ ของสั งคม (social cohesion)
5. ความหลากหลายควบคู่กบั เอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรม
(cultural diversity/identity)
6. ความเป็ นอยู่และสุ ขภาพทีด่ ี
(health and well-being)
การมีคุณภาพสิ่ งแวดล้ อมทีด่ ี
(Environmental Quality)
1. การอยู่ดมี สี ุ ข (well-being)
2. ความสมบูรณ์ ของระบบนิเวศน์
(ecosystem integrity)
3. ความสามารถในการรองรับของเสีย
(carrying capacity)
4. ความหลากหลายทางชีวภาพ (bio-diversity)
5. ประเด็นปัญหาระดับโลก
(global issues)
6. การอนุรักษ์ ทรัพยากร
(resource conservation)
7. การป้ องกันมลภาวะ
(pollution prevention)
8. การลดของเสี ย (waste reduction)
Brundtland Commission
เสนอหลักการ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน 8 ประการ
1. การฟื้ นฟูความเจริญเติบโต
2. การเปลีย่ นแปลงคุณภาพของความเจริญเติบโต
3. การบูรณาการเรื่องของสิ่ งแวดล้ อมสู่ การตัดสิ นใจ
4. การรักษาระดับจานวนประชากร
5. การกาหนดทิศทางใหม่ ของเทคโนโลยี
และการบริหารความเสี่ ยง
6. การอนุรักษ์ และขยายฐานทรัพยากร
7. การปฏิรูปความสัมพันธ์ ด้านเศรษฐกิจ
ระหว่ างประเทศ
8. การสร้ างความร่ วมมือที่เข้ มแข็ง
ระหว่ างประเทศ
การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในบริบทไทย
เป็ นการพัฒนาทีท่ าให้ เกิดดุลยภาพของมิติ
ทางเศรษฐกิจ สั งคม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม เพือ่ เสริมสร้ างความอยู่ดมี ี
สุ ขของประชาชนตลอดไป
มีกรอบแนวคิดในการดาเนินงาน 3 ด้ านคือ
1. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมอย่ างยัง่ ยืน
2. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยัง่ ยืน
3. การพัฒนาสั งคมที่ยงั่ ยืน
2.5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้ อมอย่ างยัง่ ยืน
หมายถึง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณที่
ระบบนิเวศน์ สามารถฟื้ นตัวกลับสู่ สภาพเดิมได้
การใช้
ทรัพยากรประเภท
Non-renewable
ต้ องใช้ ไม่ มาก
เกินขีดความ
สามารถในการ
ทดแทน
ต้ องทดแทนด้ วยทรัพยากรประเภท renewable
กรอบแนวคิด
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ในบริบทของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
1. การปรับปรุงกระบวนทัศน์ ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
• ผู้บริหารประเทศ ต้ องตระหนักว่ า การพัฒนา
ประเทศต้ องมีความสมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สั งคม
และสิ่ งแวดล้อมไปพร้ อมๆกัน “ทรั พยากรธรรมชาติ
เป็ นทุนประเภทหนึ่ง”
• ประชาชนทั่วไป ต้ องมีทัศนคติว่า
“ทรั พยากรธรรมชาติเป็ นทีห่ วงแหนของทุกคน
ในชาติ” ต้ องใช้ อย่ างประหยัด มีประสิ ทธิภาพ
และบารุงรักษาอย่ างต่ อเนื่องระยะยาว
2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมต้ องยึดหลักการบริหารจัดการเชิงนิเวศน์
• ต้ องเข้ าใจขีดจากัดและความสามารถ
ในการรองรับของระบบนิเวศน์
• ต้ องเปลีย่ นรู ปแบบการบริหารจัดการ
ตามเขตพืน้ ทีก่ ารปกครอง มาสู่ การจัดการ
ภายใต้ ระบบนิเวศน์ เพือ่ ให้ เกิดการบูรณาการ
โดยการมีส่วนร่ วมของชุมชน
3. การจัดการสิ่ งแวดล้อมต้ องหลากหลาย
• สิ่ งแวดล้อมชีวภาพ/ทรัพยากรธรรมชาติ
ต้ องนามาใช้ อย่ างยัง่ ยืนและเกิดประโยชน์ สูงสุ ด
• สิ่ งแวดล้อมกายภาพหรือมลพิษที่เกิดจากการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ ต้ องยึดหลักการ
ป้ องกันมากกว่ าแก้ไข
• สิ่ งแวดล้อมทางมนุษย์ และสั งคม ศิลป วัฒนธรรม
ประเพณีทมี่ นุษย์ สร้ างขึน้ เป็ นสิ่ งทีต่ มี ูลค่ าไม่ ได้
แต่ มคี ุณค่ าควรได้ รับการอนุรักษ์ ไว้
2.6 การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยัง่ ยืน
หมายถึง
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ให้ เจริญเติบโต
1. มีคุณภาพ
2. มีเสถียรภาพ
3. มีความสมดุล
ด้ านมหภาคมีเสถียรภาพทางการเงินและการคลัง
ทาให้ เกิดสภาพเอือ้ ต่ อการลงทุน และ
การดาเนินธุรกิจอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และสามารถแข่ งขันได้
ด้ านจุลภาค มีการเลือกผลิตอย่ างฉลาด
คือการให้ ความสาคัญกับการพัฒนา
อุตสาหกรรม และบริการเป้ าหมายทีม่ ี
ศักยภาพในการผลิตภายในประเทศที่
สอดคล้องกับความต้ องการของตลาด
ระบบเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพประกอบด้ วย
1. เสถียรภาพในประเทศ ได้ แก่ อัตราเงินเฟ้อต่า
ไม่ ผนั ผวน หนีส้ าธารณะของประเทศอยู่ใน
ฐานะที่จัดการได้ เป็ นต้ น
2. เสถียรภาพด้ านต่ างประเทศ ทุนสารอง
เงินตราต่ างประเทศอยู่ในระดับเพียงพอ
มูลค่ านาเข้ ารายเดือนของประเทศทาให้
อัตราแลกเปลีย่ นของประเทศมีเสถียรภาพ
มีปัจจัยการผลิตทีม่ คี ุณภาพไม่ ทาลาย
สิ่ งแวดล้อม (green productivity)
การพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงั่ ยืน
คนในประเทศส่ วนใหญ่ ต้องมีส่วนได้ รับ
ประโยชน์ จากการพัฒนาที่เหมาะสมและ
สอดคล้องกับศักยภาพของตนในเรื่องรายได้
ทุกคนมีโอกาสทางเศรษฐกิจทีท่ าให้ เกิด
ความทัดเทียมกันของรายได้ มีความสามารถ
ในการเข้ าถึงการใช้ ประโยชน์ ใน
ทรัพยากรธรรมชาติ บริการพืน้ ฐาน
ของรัฐ โดยใช้ มาตรการทั้งด้ านมหภาคและจุลภาค
2.7 การพัฒนาสั งคมที่ยงั่ ยืน
การพัฒนาคนและสั งคมให้ เชื่อมโยงกับ
การพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้ อมอย่ างสมดุล
พัฒนาคนให้ มผี ลิตภาพสู งขึน้ สามารถ
ปรับตัวรู้ เท่ าทันการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะนาไปสู่ การ
เพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตและการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจของประเทศอย่ างยัง่ ยืน มีจิตสานึก
พฤติกรรม และวิถชี ีวติ ที่ไม่ ทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี สามารถพึง่ พาตนเองได้ อย่ าง
มั่นคง มีระบบการจัดการทางสั งคมที่เสริมสร้ าง
การมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนของสั งคมในการ
พัฒนา/นาทุนทางสั งคมและทุนทางธรรมชาติ
มาประยุกต์ ให้ เหมาะสม
3. ยุทธศาสตร์ สู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
3.1 พลวัตของความสมดุล
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
สิ่ งแวดล้ อมธรรมชาติ = ความต้ องการในการพัฒนามนุษย์
ลดความต้ องการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
เพิม่ ขีดความสามารถ
ในการรองรับ
ของธรรมชาติ
ประชากร 6,000 ล้ าน : ค.ศ. 2000
ประชากร 9,000 ล้ าน : ค.ศ. 2030
3.2 ความเข้ าใจและความตระหนักของมหาชน
ในสั งคมประชาธิปไตย การปฏิบัติที่ส่งผลต่ อ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ขึน้ อยู่กบั ความตระหนัก
ความเข้ าใจ และการสนับสนุนของมหาชน
การโน้ มน้ าว "ผู้ทไี่ ม่ เห็นด้ วย" และ "ผู้ทไี่ ม่ ต้องการรับรู้"
ต้ องอาศัยการรณรงค์ ที่ใช้ "ประเด็นท้ องถิ่น"
หรือ Local issues จะได้ ผลดีกว่ าการใช้
"ประเด็นระดับโลก" หรือ Global issues
การแก้ปัญหาอิทธิพลของผู้เสี ยประโยชน์
จาเป็ นต้ องใช้ วธิ ีการเชิงประชาธิปไตย
(democratic means)
การแก้ปัญหาความสลับซับซ้ อนของข้ อความรู้
หรือข่ าวสารเกีย่ วกับการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
จะต้ องเริ่มต้ นด้ วยการนาเสนอปัญหาซึ่งประชาชน
รู้ สึกและเข้ าใจในระดับท้ องถิน่
เพือ่ เป็ นพืน้ ฐานไปสู่ การเข้ าใจในปัญหาซับซ้ อน
ระดับชาติและระดับโลกต่ อไป
การแก้ปัญหากลยุทธ์ การสื่ อสารทีไ่ ม่ เหมาะสม
ควรนาเสนอปัญหาในลักษณะที่แสดงให้ เห็นว่ า
สามารถจัดการแก้ไขได้ ด้วยการปฏิบัติ
ที่มีความรับผิดชอบ (manageable through
responsible conduct) โดยการนาเสนอทางออก
ในการแก้ปัญหา ที่เป็ นไปได้ (realistic solution)
และวิธีการปฏิบัติในการป้ องกัน
(means to take preventive action)
3.3 วิถกี ารดาเนินชีวติ
ประสิ ทธิผลของการเสริมสร้ างความตระหนัก
ของมหาชนเกีย่ วกับการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ขึน้ อยู่กบั
1. ระดับการเปลีย่ นทัศนคติและพฤติกรรม
ของประชาชนทั้งในบทบาทผู้ผลิตและผู้บริโภค
2. การรับผิดชอบร่ วม
3. การปฏิบัติหน้ าที่ในฐานะพลเมืองดี
การพัฒนาที่ยงั่ ยืนจะเกิดขึน้ ได้ จะต้ องเปลีย่ น
วิถกี ารดาเนินชีวติ ไปสู่ วถิ ชี ีวติ ทีย่ งั่ ยืน
(Sustainable lifestyles)
1. เปลีย่ นรู ปแบบการผลิตและการบริโภคของประชาชน
รายบุคคลด้ วยวิธีการบริโภคทีแ่ ตกต่ าง เช่ น การใช้
ผลิตภัณฑ์ ที่คงทน (Longer life) การใช้ ผลิตภัณฑ์
สี เขียว (บริโภคพลังงานน้ อยกว่ า)
2. ต้ องมีการตัดสิ นใจร่ วมเชิงนโยบายและการปฏิบัติ
ที่เหมาะสมจากองค์ กรภาครัฐ และภาคเอกชน
3. พลเมืองในสั งคมประชาธิปไตย สามารถแสดง
บทบาทที่เข้ มแข็งในการตัดสิ นใจร่ วมเพือ่ กาหนด
นโยบายสาธารณะ การพัฒนาระเบียบกฎหมาย
ภาษี และนโยบายการเงินของประเทศที่จะ
เสริมสร้ างการพัฒนาที่ยงั่ ยืนได้ โดยการเลือกตั้ง
ผู้แทนทีเ่ ข้ าใจ
หลักจริยธรรมของเวลา (ethic of time)
ที่จาเป็ นต้ องเริ่มต้ นลงมือปฏิบัติให้ เกิด
การพัฒนาที่ยงั่ ยืนก่อนที่จะไม่ มีเวลา หรือก่อนที่จะ
สายเกินไป (take action before reaching the point
of no return)
หลักจริยธรรมและวัฒนธรรม ที่จาเป็ นสาหรับ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืนได้ แก่ สิ ทธิและความรับผิดชอบ
ของมนุษย์ ความเป็ นธรรมของคนรุ่นปัจจุบันและ
คนรุ่นหลัง ความเป็ นปึ กแผ่ น ความยุตธิ รรม
ประชาธิปไตย เสรีภาพในการแสดงออกและ
ความใจกว้ าง ความทนทาน หรือความอดทน
ระบบมนุษย์ และระบบธรรมชาติอยู่ร่วมกัน
ในลักษณะความสั มพันธ์ ทสี่ มดุล
population,
Production,
etc
collapse
sustainable path B
human system
unsustainable path A
natural system
past present
future
time
3.6 ยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมอย่ างยัง่ ยืน
1. ยุทธศาสตร์ การจัดการด้ านอุปสงค์
มุ่งลดปริมาณการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
และการก่อมลพิษ โดยการใช้ กลไกราคาและ
การส่ งเสริมความรู้ ทางการจัดการและเทคโนโลยี
2. ยุทธศาสตร์ การอนุรักษ์ และคุ้มครอง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
มุ่งรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์
3. ยุทธศาสตร์ การฟื้ นฟูและใช้ ประโยชน์
อย่ างมีประสิ ทธิภาพมุ่งบูรณะทรัพยากรธรรมชาติ
ทีเ่ สื่ อมโทรมให้ สู่ ความอุดมสมบูรณ์
4. ยุทธศาสตร์ การอนุรักษ์ และฟื้ นฟูสภาพแวดล้ อม
ชุมชน มุ่งเกือ้ หนุนต่ อคุณภาพชีวติ และเป็ นฐาน
ในการพัฒนาความเข้ มแข็งทางเศรษฐกิจของ
ชุมชน
5. ยุทธศาสตร์ การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการ
มุ่งให้ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมเอือ้ ต่ อ
การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืนโดยการพัฒนากลไก และ
กระบวนการจัดการเชิงบูรณาการ
3.7 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยัง่ ยืน
1. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเข้ มแข็งทาง
เศรษฐกิจมหภาค มุ่งสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั
ภาคการเงินและการคลัง เพือ่ ให้ เป็ นปัจจัย
พืน้ ฐานสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยั่งยืน
2. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความสามารถในการ
แข่ งขัน มุ่งสร้ างระบบเศรษฐกิจทีม่ คี ุณภาพ
โดยให้ ความสาคัญกับภาคการผลิต และการ
บริการให้ มีประสิ ทธิภาพ สามารถแข่ งขันได้
ภายใต้ ศักยภาพและการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้
3. ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ มุ่งเปลีย่ นบทบาทภาครัฐ และ
ภาคเอกชนในการบริหารจัดการประเทศให้
เอกชนเป็ นผู้ริเริ่มและเป็ นแกนนา ในขณะที่
ภาครัฐเป็ นผู้สนับสนุนการอานวยความสะดวก
อย่ างยุตธิ รรมและโปร่ งใส
4. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเข้ าใจ ความพร้ อม
และจิตสานึกของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน มุ่งสร้ าง
ความตระหนักของผู้ประกอบการ และผู้บริโภค
ถึงผลกระทบของการผลิตและการบริโภคสินค้ า
ที่ไม่ ได้ มาตรฐานที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมและ
สุ ขอนามัยของผู้บริโภค
1. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพคน
มุ่งให้ คนมีคุณภาพและรู้ เท่ าทันการเปลีย่ นแปลง
โดยการเสริมสร้ างกระบวนการเรียนรู้
เสริมสร้ างศักยภาพ สถาบันการศึกษาปรับระบบ
การผลิตกาลังคนระดับกลางและระดับสู งให้ มี
ความเชื่อมโยงกับเป้ าหมายการพัฒนาประเทศ
2. ยุทธศาสตร์ พฒ
ั นาระบบการคุ้มครองสังคม
มุ่งป้ องกัน ช่ วยเหลือ และพัฒนาผู้ทไี่ ด้ รับผลกระทบ
จากการพัฒนาที่ไม่ ยงั่ ยืน โดยการสร้ างหลักประกัน
ความมั่นคงในการดารงชีวติ เสริมสร้ างระบบการ
คุ้มครองทางสังคมอย่ างต่ อเนื่อง วางแผนจัดบริการ
และสวัสดิการให้ สอดคล้องกับประชาชนแต่ ละช่ วงวัย
3. ยุทธศาสตร์ การสร้ างระบบการบริหารจัดการ
สั งคมที่ดี มุ่งเสริ มสร้างความเข้มแข็งขององค์กร
ประชาสังคม ภาคธุรกิจและองค์กรเอกชน /
อาสาสมัครให้มากขึ้น โดยการพัฒนาระบบ
ธรรมาภิบาลในองค์กรทุกกลุ่มให้มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม
4. ยุทธศาสตร์ การเสริมสร้ างและพัฒนาทุนทางสั งคม
มุ่งการใช้ ทุนทางสั งคมให้ เป็ นประโยชน์ ต่อการ
พัฒนา โดยการศึกษาวิเคราะห์ และพัฒนาทุนทาง
สั งคมให้ เกิดมูลค่ า และคุณค่ าเพิม่ อย่ างต่ อเนื่อง
เพือ่ เป็ นฐานในการพึง่ พาตนเองอย่ างยัง่ ยืน
4. กลยุทธ์ การจัดการศึกษา
เพือ่ เสริมสร้ างการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
4.1 กรอบแนวคิดการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
AGENDA
21
การศึกษาเป็ นปัจจัยสาคัญของการ
เสริมสร้ างการพัฒนาที่ยงั่ ยืน การศึกษาในระบบ
และนอกระบบโรงเรียนจะต้ องมีจุดมุ่งหมายใน
การเปลีย่ นทัศนคติของคน เพือ่ ให้ มีความ
ตระหนักในปัญหาที่เกิดจากการพัฒนา มีทักษะ
และพฤติกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดย
บูรณาการในทุกรายวิชา
เปลีย่ นกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift)
การจัดการเรียนการสอนจากการสอนเกีย่ วกับการ
พัฒนาที่ยงั่ ยืน (Teaching about sustainable
development) เป็ นการจัดการเรียนการสอนเพือ่
(ให้ เกิด)การพัฒนาที่ยงั่ ยืน (Teaching for
sustainable development)
UNESCO
การศึกษาเป็ นความหวังทีด่ ที สี่ ุ ดของมนุษยชาติ
ในการบรรลุเป้ าหมายของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
แต่ การศึกษาไม่ ได้ หมายถึงการศึกษาในระบบ
โรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน เท่ านั้น
การศึกษาหมายรวมถึงการศึกษาตามอัธยาศัยหรือ
การเรียนรู้ ทไี่ ม่ เป็ นทางการทั้งหลาย
ทีส่ ามารถเรียนรู้ ในวิถชี ีวติ ประจาวันทั้งที่บ้าน
และชุมชนในวงกว้ างทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงที่
สาคัญ 2 ประการ
1. ขยายประชาคม นักการศึกษาให้ กว้ างขึ้น
2. ขยายประชาคมสถาบันการศึกษาให้ กว้ าง
ขึ้น
4.2 การเปลีย่ นแปลงทีจ่ าเป็ น
มีความจาเป็ นต้ องเปลีย่ นแปลงการศึกษาให้ มีพลัง
ในการเสริมสร้ างความตระหนัก วิสัยทัศน์ และเทคนิค
วิธีการในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ค่ านิยม รวมทั้ง
วิถชี ีวติ ทีจ่ ะนาไปสู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยมีความจาเป็ น
ต้ องมีการเปลีย่ นแปลงการศึกษาเรื่องสาคัญ 2 เรื่อง
1. การปฏิรูปหลักสู ตร
2. การปฏิรูปโครงสร้ าง
การปฏิรูปหลักสู ตร
ต้ องการทบทวนหลักสู ตรทั้งหมด (OLE) ในด้ าน
วัตถุประสงค์ (Objective) ด้ านเนือ้ หาสาระ การเรียน
การสอน (Learning Experience) การประเมินผล
(Evaluation) ทีเ่ น้ นคุณธรรม จริยธรรมแรงจูงใจ และ
ความสามารถในการทางานร่ วมกัน เพือ่ สร้ างอนาคต
ที่มีการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน
ต้ องมีการสร้ าง
ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่
ในการจัดการศึกษาให้ มีพลัง ในการเปลีย่ นแปลง
วิถกี ารดาเนินชีวติ (lifestyle) ของพลเมือง ทีเ่ ป็ น
วิถชี ีวติ แบบประชาธิปไตยและวิถชี ีวติ แบบสั นติ
การปฏิรูปโครงสร้ าง ต้ องปฏิรูปอย่ างน้ อย 2 ประการ
1. การทบทวนและเปลีย่ นแปลง การรวมศูนย์ อานาจ
ในการจัดหลักสู ตรรายวิชาเรียนและหนังสื อ
แบบเรียนเพือ่ ให้ เกิดโปรแกรมการเรียนรู้ ทเี่ หมาะสม
กับท้ องถิน่ โดยให้ ท้องถิน่ มีอานาจในการตัดสิ นใจ
หลักสู ตรระดับชาติควรเป็ นกรอบแนวทางกว้ างๆ
เพือ่ ให้ หลักสู ตรมีมาตรฐานกลาง แต่ ให้ โอกาส
สถานศึกษา ครู และนักเรียนในการตัดสิ นใจ
เกีย่ วกับรายละเอียดได้ มากขึน้
2. การเปลีย่ นแปลงวิธีการประเมินกระบวนการและ
ผลลัพธ์ การเรียนรู้ โดยเริ่มต้ นคิดจากสิ่ งที่คนและ
สั งคมต้ องการจากระบบการศึกษา ความต้ องการ
เรียนรู้ ทจี่ ะต้ องตอบสนองสั งคมได้ น้ัน เป็ นที่
ยอมรับกันว่ า ต้ องเป็ นการสร้ างพลังอานาจให้
ประชาชนดารงชีวติ อย่ างมีคุณค่ าและสร้ างสรรค์
ส่ วนการประเมินผลการเรียนรู้ น้ัน ควรประเมิน
ด้ วยวิธีที่หลากหลายบนหลักการของผลลัพธ์
การเรียนรู้ สู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
นอกจากนีจ้ ะต้ องมีการพัฒนาครู
(ภาคีการเรียนรู้ แห่ งออนตาริโอ: OLSP, 1996
ให้ มคี วามรู้ ความสามารถเพิม่ เติมเพือ่ ให้ บรรลุผลของ
การจัดการศึกษาสู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
ความรู้ ความสามารถทีต่ ้ องการเพิม่ เติม
มี 7 ประการคือ
1. ความรู้ เกีย่ วกับเศรษฐกิจ ได้ แก่ เศรษฐกิจ
พืน้ ฐาน การตลาด การจ้ างงาน การเงินการคลัง
และการเจริญเติบโตอย่ างยัง่ ยืน
2. ความรู้ เกีย่ วกับสิ่ งแวดล้อม ได้ แก่ อากาศ นา้
ที่ดนิ ทรัพยากรที่ใช้ แล้วหมดไป และใช้ แล้วไม่
หมดไป และของเสี ย
3. ความรู้ เกีย่ วกับสั งคม ได้ แก่ สุ ขภาพและความ
ปลอดภัยประชากร ความเป็ นธรรม อาหาร
ความยากจน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
และการศึกษา
4. ความรู้ เกีย่ วกับประเด็นปัญหาระดับนานาชาติ
หรือระดับโลก รวมทั้งการเชื่อมโยงของประเด็น
ปัญหาเหล่านีก้ บั ระดับชาติ ระดับจังหวัด และ
ระดับชุมชน
5. ความสามารถในการบูรณาการ และประยุกต์
ความรู้ ในข้ อ (1) – (4) ในลักษณะการบูรณาการ
ข้ ามหลักสู ตร (cross – curricular approach)
6. ความสามารถในการบูรณาการความรู้ ในข้ อ
(1) – (4) กับสถานการณ์ จริงและบริบทที่
(2) สั มพันธ์ กนั
7. ความสามารถในการส่ งเสริมความเข้ าใจ
การปรับตัว และการกาหนดทิศทางอนาคต
4.3 ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ทสี่ าคัญ
1. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ด้านสิ่ งแวดล้อม
1.1 แสดงให้ เห็นความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับแนวคิด
ทางชีววิทยาอย่ างมีความเชื่อมโยง
1.2 แสดงให้ เห็นความรู้ และความเข้ าใจ
เกีย่ วกับระบบและวงจรทางนิเวศวิทยา
1.3 แสดงให้ เห็นความตระหนักอย่ างรอบรู้ ใน
ประเด็นปัญหาทางนิเวศน์ วทิ ยาได้ แก่ มลภาวะ
การทาลายสิ่ งแวดล้อม การเปลีย่ นแปลง
บรรยากาศ ความร่ อยหรอของทรัพยากร รวมทั้ง
สาเหตุและผลทีเ่ กิดขึน้
1.4 วิเคราะห์ อย่ างลึกซึ้งถึงความเชื่อมโยงของ
ประเด็นปัญหาสิ่ งแวดล้อมระดับท้ องถิน่ และ
ระดับโลก กับทางเลือกวิถชี ีวติ ส่ วนบุคคล
1.5 พัฒนากลยุทธ์ และการปฏิบัตเิ พือ่ การเป็ น
พลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่ อสิ่ งแวดล้ อมใน
ชุมชนท้ องถิน่ และชุมชนโลก
2. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ด้านสั งคม
2.1 แสดงให้ เห็นความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับแนวคิด
และหลักการทางสั งคม สุ ขภาพ ความเป็ นธรรม
ความเสมอภาค สั นติภาพและความปลอดภัย
2.2 แสดงให้ เห็นความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับระบบ
สั งคม เอกัตบุคคล ครอบครัว ชุมชน ธุรกิจ
รัฐบาล การเมือง และสื่ อมวลชน
2.3 แสดงให้ เห็นความตระหนักอย่ างรอบรู้ เกีย่ วกับ
ประเด็นปัญหาหลักของสั งคม ได้ แก่ ความยากจน
ความไม่ เสมอภาค สิ ทธิมนุษยชน การมีประชากร
มากเกินไป สงคราม การว่ างงาน รวมทั้งสาเหตุ
และผลที่เกิดขึน้
2.4 วิเคราะห์ อย่ างลึกซึ้งเกีย่ วกับความเชื่อมโยงของ
ประเด็นปัญหาทางสั งคมระดับท้ องถิน่ และระดับ
โลกกับบทบาทหน้ าทีข่ องมนุษย์ ความคิด
สร้ างสรรค์ ความคิดริเริ่ม ความเชื่อมัน่ คุณค่ าและ
ความรับผิดชอบในตนเอง
2.5 พัฒนากลยุทธ์ และการปฏิบัตเิ พือ่ การเป็ น
พลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่ อพฤติกรรม
สั งคมในชุมชนท้ องถิน่ และชุมชนโลก
3. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจ
3.1 แสดงให้ เห็นความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับ
หลักการและความหมายของเศรษฐกิจ
การเงิน สิ นทรัพย์ หนีส้ ิ น การค้ า ภาษี
การแลกเปลีย่ น สหกรณ์ การแข่ งขันและ
การบริโภค
3.2 แสดงให้ เห็นความรู้ และความเข้ าใจเกีย่ วกับ
ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเงิน การบัญชี และ
การค้ า
3.3 แสดงให้ เห็นความตระหนักอย่ างรอบรู้
เกีย่ วกับประเด็นปัญหาหลักของเศรษฐกิจ ได้ แก่
โลกาภิวตั น์ การขาดดุล การภาษี การแข่ งขัน
รวมทั้งสาเหตุและผลทีเ่ กิดขึน้
3.4 วิเคราะห์ อย่ างลึกซึ้งเกีย่ วกับความเชื่อมโยง
ของประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจระดับท้ องถิ่น
และระดับโลก กับทางเลือกวิถชี ีวติ ส่ วนบุคคล
3.5 พัฒนากลยุทธ์ และการปฏิบัตเิ พือ่ การเป็ น
พลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่ อเศรษฐกิจใน
ชุมชนท้ องถิน่ และชุมชนโลก
4. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ด้านวิธีการเชิงระบบ
4.1 แสดงให้ เห็นความเข้ าใจพืน้ ฐานของการ
พัฒนาที่ยงั่ ยืนในแง่ ที่เป็ นการพึง่ พาซึ่งกันและ
กันของมนุษย์ เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม
รวมทั้งหลักการ สั นติภาพ ความมั่นคง
การคุ้มครองสิ่ งแวดล้อม ความพอเพียง
การเจริญเติบโตอย่ างยัง่ ยืน ความห่ วงใยคน
รุ่นหลังและความเป็ นธรรมระหว่ างคนรุ่นต่ างๆ
4.2 แสดงให้ เห็นวิธีการเชิงระบบและวิธีการเชิง
องค์ รวมในการประเมินประเด็นปัญหาเศรษฐกิจ
สั งคมและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งผลที่เกิดขึน้ กับ
ตนเองและชุมชน
4.3 แสดงให้ เห็นวิธีการ เทคนิคและเครื่องมือใน
การก้าวไปสู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนรวมทั้งการมี
ส่ วนร่ วมแบบประชาธิปไตย ตัวบ่ งชี้ของการ
พัฒนาทีย่ งั่ ยืน และการวางแผนแบบบูรณาการฃ
4.4 พัฒนากลยุทธ์ และการปฏิบัตเิ พือ่ การเป็ นผู้มี
ส่ วนร่ วม และผู้นาในการเปลีย่ นแปลงทาง
การเมือง และกระบวนการทางสั งคมในชุมชน
ท้ องถิน่ และชุมชนโลก
4.4 กลยุทธ์ การจัดการการเรียนรู้
ภาคีการเรียนรู้ แห่ งออนตาริโอ (OLSP, 1996)
ได้ เสนอกลยุทธ์ การจัดการเรียนรู้
เพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ การเรียนรู้ ทสี่ าคัญ 4 ด้ าน 7 กลยุทธ์
เรียงลาดับจากระดับตา่ สุ ด ดังนี้
1. กลยุทธ์ การบูรณาการ (Integration)
2. กลยุทธ์ การเชื่อมโยงสู่ สังคม(Connections-beyond
self to society)
3. กลยุทธ์ ทกั ษะความคิด (Thinking skill)
4. กลยุทธ์ การร่ วมมือ (Cooperation)
5. กลยุทธ์ มุมมองทีห่ ลากหลาย (Diversity of
perspective)
6. กลยุทธ์ เทคโนโลยี (Technology)
7. กลยุทธ์ มติ ขิ องเวลา (Temporal perspectives)
กลยุทธ์ นีค้ อื การเชื่อมโยงการประยุกต์
ความรู้ และทักษะข้ ามหลักสู ตรโดยมีระดับของ
การเชื่อมโยง 5 ระดับดังนี้
1.1 การสอนเนือ้ หาสาระเป็ นรายวิชา โดยไม่ มี
การประสานการเรียนรู้ ระหว่ างรายวิชา (Subject
based content)
1.2 การประสานงานกันระหว่ างผู้สอนระหว่ าง
วิชาที่สอนเนือ้ หาสาระที่เกีย่ วข้ องกันในช่ วงเวลา
เดียวกัน (Parallel content)
1.3 การวางแผนการใช้ วสั ดุหรือสื่ อการสอน
ร่ วมกันระหว่ างผู้สอนวิชาทีค่ ล้ายคลึงกันภายใน
หลักสู ตรเดียวกัน (Content connections)
1.4 การวางแผนการพัฒนาหน่ วยการสอนร่ วมกัน
ระหว่ างผู้สอนเนือ้ หาสาระมีหลากหลายในหลาย
หลักสู ตร (Concept connections)
1.5 การวางแผนร่ วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
เพือ่ ศึกษาเจาะลึกในเรื่องที่สนใจ โดยใช้ ความรู้
และทักษะผสมผสานข้ ามหลักสู ตรแบบองค์ รวม
(Cross-curricular connections)
กลยุทธ์ นีค้ อื การเชื่อมโยงความรู้ เข้ ากับ
ประสบการณ์ ส่วนบุคคลและสถานการณ์ จริงของ
สั งคม ทั้งในระดับชุมชนท้ องถิน่ และชุมชนโลก
ดังนี้
2.1 การแสดงให้ เห็นการเชื่อมโยงความรู้ กบั ผู้เรียน
ในแง่ ความจาเป็ นที่จะต้ องเรียนให้ ดี
2.2 การสอนโดยครู เชื่อมโยงความรู้ กบั
ประสบการณ์ ของผู้เรียนและสถานการณ์ จริงของ
สั งคมโดยนักเรียนไม่ ได้ เชื่อมโยงเอง
2.3. การสอนโดยผู้เรียนได้ มกี ารเชื่อมโยงความรู้
ที่เรียนเข้ ากับสถานการณ์ จริงนอกห้ องเรียน
2.4 การสอนโดยผู้เรียนได้ มกี ารเชื่อมโยงความรู้ ที่
เรียนเข้ ากับสถานการณ์ จริงในสั งคมอย่ างมี
ความหมายและเห็นความสาคัญ
2.5 การสอนโดยผู้เรียนได้ มกี ารเชื่อมโยงความรู้ ที่
เรียนเข้ ากับสถานการณ์ จริงในสั งคม และมีบทบาท
ในการสร้ างสรรค์ สังคม
กลยุทธ์ นีค้ อื การส่ งเสริมการพัฒนาทักษะ
การคิดขั้นสู งในการประมวลสารสนเทศ การ
แสวงหาความรู้ การสั งเคราะห์ การสรุ ปพาดพิง
การสร้ างสมมุตฐิ าน และการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การแสดงให้ เห็นทักษะการคิดขั้นต้ นจากการ
รับสารสนเทศที่เป็ นข้ อเท็จจริงและกฎระเบียบ
เป็ นประจา
3.2 การแสดงให้ เห็นทักษะการคิดขั้นต้ นและ
ทักษะการคิดขั้นสู งสลับกัน
3.3 การแสดงให้ เห็นทักษะการคิดขั้นสู งจากการ
สั งเคราะห์ การสรุปพาดพิง การอธิบาย การสร้ าง
สมมุตฐิ าน การสรุปและการตีความ
กลยุทธ์ นี้ คือการส่ งเสริมการจัดบริบทของ
การร่ วมมือสาหรับการเรียนรู้ และการประเมิน
และการพัฒนากลยุทธ์ สาหรับการปฏิบัตกิ ารใน
ระดับท้ องถิน่ และระดับโลก ดังนี้
4.1 การใช้ วธิ ีการแสวงหาความรู้ โดยครูเป็ นผู้นา
และครู เป็ นผู้กาหนดบทเรียน
4.2 การใช้ วธิ ีการแสวงหาความรู้ โดยครูเป็ นผู้นา
และผู้เรียนมีส่วนร่ วมกับครู ในการกาหนด
บทเรียน
4.3 การใช้ วธิ ีการแสวงหาความรู้ โดยครูเป็ นผู้นา
และผู้เรียนมีส่วนร่ วมเต็มทีใ่ นการกาหนดบทเรียน
4.4 การใช้ วธิ ีการแสวงหาความรู้ โดยผู้เรียนเป็ น
ผู้ควบคุม
4.5 การส่ งเสริมให้ ผู้เรียนจัดบริบทของความ
ร่ วมมือในการเรียนรู้ และการประเมิน
กลยุทธ์ นี้ คือ การส่ งเสริมการพิจารณา
กาหนดทางเลือกทีห่ ลากหลายในการหาข้ อยุติ
กลยุทธ์ และมุมมองเกีย่ วกับแนวคิด ปัญหา และ
ประเด็นสาคัญ (เช่ น การกาหนดทางเลือกโดย
คานึงมิตหิ ญิงชาย เชื้อชาติ ชนชั้น อายุ
วัฒนธรรมและความสามารถ
5.1 การแสดงให้ เห็นความไม่ จาเป็ นในการ
พิจารณาทางเลือก
5.2 การแสดงให้ เห็นความจาเป็ นบางประการ
ในการพิจารณาทางเลือก
5.3 การส่ งเสริมให้ ผู้เรียนกาหนดแนวความคิด
และประเด็นปัญหา โดยพิจารณาทางเลือกและ
กลยุทธ์
กลยุทธ์ นีค้ อื การส่ งเสริมความเข้ าใจ
เทคโนโลยีในความหมายทีก่ ว้ างทีส่ ุ ด คือ
หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยี
การออกแบบ รวมทั้งบทบาทของเทคโนโลยีที่
เป็ นเครื่องมือสาหรับการทาให้ เกิดการพัฒนา
ที่ยงั่ ยืน ดังนี้
6.1 การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่องมือ
สาหรับการเรียนรู้
6.2 การแสดงให้ เห็นผลกระทบของเทคโนโลยี
ที่มีต่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนในความหมายที่
กว้ างทีส่ ุ ด
6.3 การแสดงให้ เห็นบทบาทของเทคโนโลยี
ในการบอกความจาเป็ นของการพัฒนาที่
ยัง่ ยืนและการทาให้ บรรลุผลการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
กลยุทธ์ นีค้ อื การส่ งเสริมความ
เข้ าใจในอดีต ความสามารถในการ
พินิจพิเคราะห์ ปัจจุบัน และพันธะผูกพัน
ต่ ออนาคต ดังนี้
7.1 การแสดงให้ เห็นความจาเป็ นทีผ่ ู้เรียนต้ อง
พิจารณามิตทิ างประวัติศาสตร์ ที่สัมพันธ์ กบั
ปัจจุบัน
7.2 การแสดงให้ เห็นความจาเป็ นทีผ่ ู้เรียนต้ อง
พิจารณาแนวทางอนาคต
7.3 การส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรียนกาหนดแนวความคิด
และประเด็นปัญหา โดยคานึงถึงความห่ วงใย
ผลทีเ่ กิดขึน้ และกลยุทธ์ สาหรับอนาคต
Greig,S.,et al.
การจัดการเรียนการสอน
เพือ่ ให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ต้ องมี
กลยุทธ์ การสอน
แบบกว้ าง
“broad focus”
ทาการวิเคราะห์ การจัดการสอน4 วิชา:สิ่ งแวดล้อมศึกษา
สั นติศึกษา สิ ทธิมนุษยชน และ พัฒนศึกษา
การสอน "สิ่ งแวดล้อมศึกษา" แบบแคบ เป็ น
การสอนให้ มคี วามรู้ เกีย่ วกับสิ่ งแวดล้ อม
(Teaching about the environment) มีสาระ
การเรียนรู้ ดงั นี้
. สิ่ งแวดล้อมท้ องถิน่
. ชีววิทยาและภูมศิ าสตร์ แบบดั้งเดิม
. มุมมองสิ่ งแวดล้อมแบบตะวันตก
. ทักษะการศึกษาวิจัยเรื่องสิ่ งแวดล้ อม
การสอน "สิ่ งแวดล้อมศึกษา" แบบกว้ าง เป็ น
การสอนเพือ่ สิ่ งแวดล้อม (Teaching for the
environment) มีสาระการเรียนรู้ ดงั นี้
. การพึง่ พาซึ่งกันและกันของสิ่ งแวดล้ อม
ระดับท้ องถิน่ ระดับประเทศและระดับโลก
. การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ าง
พฤติกรรมมนุษย์ กบั ระบบนิเวศน์
ของโลก
. การวิเคราะห์ อย่ างจริงจังเกีย่ วกับ
มุมมองสิ่ งแวดล้ อมตะวันออก
. การพัฒนาความห่ วงใย ความตระหนัก
และทักษะ การมีส่วนร่ วม
การสอน "สั นติศึกษา" แบบแคบ เป็ นการสอน
เกีย่ วกับสั นติภาพ (Teaching about peace) มี
สาระการเรียนรู้ ดงั นี้
. การต่ อต้ านสงคราม
. การลดอาวุธและความขัดแย้ งระหว่ าง
ตะวันออก ตะวันตก
. ความหมายของสันติภาพแบบแคบ
. ทักษะการศึกษาวิจัยในห้ องเรียนแบบ
ประเพณีนิยม
การสอน "สั นติศึกษา" แบบกว้ าง เป็ นการสอน
เพือ่ สั นติ และในบรรยากาศสั นติ (Teaching for
and in peace) มีสาระการเรียนรู้ ดงั นี้
. การต่ อต้ านสงครามและความอยุตธิ รรม
. การลดอาวุธและลดความรุนแรง
. ความหมายของสันติภาพแบบกว้ าง รวมถึง
ความสมดุลทางนิเวศน์ ทักษะการวิจยั
ในห้ องเรียนประชาธิปไตย
การสอน "สิ ทธิมนุษยชน" แบบแคบ เป็ นการสอน
เกีย่ วกับสิ ทธิ เช่ น ประวัติศาสตร์ เกีย่ วกับสิ ทธิ
กรณีศึกษา ฯลฯ (Teaching about right) มีสาระ
การเรียนรู้ ดงั นี้
. แนวคิดนานาชาติเกีย่ วกับสิ ทธิมนุษยชน
. สิ ทธิทางการเมือง และสิ ทธิพลเมือง
. มุมมองเกีย่ วกับสิ ทธิของโลกตะวันตก
การสอน "สิ ทธิมนุษยชน" แบบกว้ าง เป็ นการสอน
เพือ่ สิ ทธิและ บรรยากาศของสิ ทธิแบบประชาธิปไตย
(Teaching for right and in right) มีสาระการ
เรียนรู้ ดงั นี้
. สิ ทธิใหม่ ๆ เช่ น สิ ทธิของสิ่ งแวดล้อม
. ความเท่ าเทียมของสิ ทธิทางเศรษฐกิจและ
สั งคมกับสิ ทธิทางการเมืองและพลเมือง
. การวิเคราะห์ อย่ างจริงจังเกีย่ วกับสิ ทธิใน
มุมมองของโลกตะวันออก
การสอน "พัฒนศึกษา" แบบแคบ เป็ นการสอน
เกีย่ วกับการพัฒนา (Teaching about
development) มีสาระการเรียนรู้ ดงั นี้
. ปัญหาของประเทศโลกที่สาม
. มุมมองเกีย่ วกับการพัฒนาของโลกตะวันตก
. ข้ อยุตขิ องการพัฒนาคือความช่ วยเหลือ
. การมีส่วนช่ วยพัฒนาในลักษณะ
สั งคมสงเคราะห์
การสอน "พัฒนศึกษา" แบบกว้ าง เป็ นการสอน
เพือ่ การพัฒนา (Teaching for development)
มีสาระการเรียนรู้ ดงั นี้
. พัฒนาการของโลกและการพึง่ พาซึ่งกัน
และกัน
. มุมมองการพัฒนาของโลกตะวันออกและ
โลกตะวันตก
. ข้ อยุตขิ องการพัฒนาคือ การปฏิรูปการ
ดาเนินการทางเศรษฐกิจและการเมืองภายใน
สั งคม
. การพัฒนาทักษะในด้ านการมีส่วนร่ วมใน
กระบวนการตัดสิ นใจ