ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

Download Report

Transcript ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

รศ.ดร.จำลอง โพธิ์บุญ
คณะพัฒนาสั งคมและสิ่ งแวดล้อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
1
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมของประเทศไทย
และปัญหาสิ่ งแวดล้ อมโลก
2
ทรัพยากรป่ าไม้
- ช่วงปี 2528 - 2532 พื้นที่ป่าไม้ของประเทศลดลงเหลือร้อยละ 27.95 ของ
เนื้อที่ประเทศ อัตราเฉลี่ยลดลงร้อยละ 0.36 ต่อปี
- ปี 2534 (หลังการปิ ดป่ าสัมปทานจนสิ้ นสุ ดการใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6)
พื้นที่ป่าไม้ของประเทศลดลงเหลือร้อยละ 26.64 อัตราเฉลี่ยลดลงร้อยละ
0.65 ต่อปี
3
ทรัพยากรนา้
- ปั ญหาภัยแล้ง จากปริ มาณความต้องการใช้น้ าเพื่อกิ จกรรมต่างๆ มีมากขึ้น
ในขณะที่อ่างเก็บน้ า บ่อ หรื อสระ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่มคี วามสามารถ
ในการเก็บกักเพียงประมาณร้อยละ 27 ของศักยภาพของน้ าท่าตามธรรมชาติ
โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งและช่วงที่เกิดภาวะฝนทิ้งช่วง
- ปั ญหาน้ าท่วม เป็นผลมาจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การตัดไม้ทาลายป่ า
และผลการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศของโลก
4
ทรัพยากรพลังงาน
- ปัญหาสิ่ งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรพลังงาน เช่น
การน าเข้า พลัง งานเป็ นจ านวนมาก ท าให้ สู ญ เสี ย
เงินตราต่างประเทศ ส่ งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
การใช้พ ลัง งานก่ อ ให้เ กิ ด ผลกระทบสิ่ ง แวดล้อ มที่
ส าคัญ คื อ มลพิ ษ ทางอากาศ และก๊ า ซเรื อนกระจก
(Greenhouse gases) ที่เกิ ดจากการเผาไหม้เชื้ อเพลิ ง
โดยเฉพาะในภาคคมนาคมขนส่ ง อุตสาหกรรม และการ
ผลิตไฟฟ้ า
5
ภาวะมลพิษ
ขยะ
- ปั ญหาขยะและปั ญหาเกี่ยวเนื่ องกับการจัดการขยะมีแนวโน้มรุ นแรง
ขึ้น เนื่องจากปริ มาณขยะที่เพิ่มขึ้นทุกปี
- การจัด การขยะของประเทศยัง มี ข ้อ จ ากัด ในการบริหารและการ
ดาเนินงาน โดยเฉพาะการจัดตั้งศูนย์ขยะรวม
- ระบบการจัดการขยะที่ครบวงจรเพื่อการแก้ปัญหาในระยะยาว ยังมี
ปัญหาในเรื่ องการบริ หารและการต่อต้านจากประชาชน
6
มลพิษทางนา้
จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพแหล่งน้ าทั้งในแม่น้ าและแหล่งน้ านิ่ ง
โดยกรมควบคุมมลพิษ พบว่า ส่ วนใหญ่มีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์พอใช้ และคุณภาพต่า
(ร้อยละ 39 และ 35 ของแหล่งน้ าที่ตรวจพบตามลาดับ) มีเพียงร้อยละ 17 ที่คุณภาพ
น้ าอยูใ่ นเกณฑ์ดี และร้อยละ 9 มีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ต่ามาก
7
มลพิษทางอากาศ
- ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ พบว่า สารมลพิษทางอากาศมีความ
เข้มข้นลดลง
- ฝุ่ นละอองเป็ นปั ญหาสาคัญที่ตอ้ งแก้ไข เนื่ องจากปั จจุบนั ยังคงพบ
ปริ มาณเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่
- สาหรับก๊าซโอโซน พบเกินมาตรฐานเป็ นครั้งคราวในบางพื้นที่
8
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมโลก
ปรากฏการณ์ เรือนกระจกและภาวะโลกร้ อน
(Greenhouse effect and global warming)
เรื อนกระจก (Greenhouse) ได้แก่ อาณาบริ เวณที่ปิดล้อมด้วยกระจกหรื อ
วัส ดุ อื่ น ซึ่ ง ให้ผ ลในการเก็บ กักความร้ อ นไว้ภายใน พลัง งานแสงอาทิ ตย์
สามารถส่ องผ่านเข้าไปได้ แต่ความร้ อนที่อยู่ภายในจะถูกเก็บกักความร้ อน
โดยกระจก ไม่ให้สะท้อนหรื อแผ่ออกสู่ ภายนอกได้
ปรากฏการณ์ที่ความร้ อนภายในโลกถูกกับดักความร้ อนหรื อก๊าซเรื อน
กระจก (Greenhouse gas) เก็บกักความร้อนเอาไว้ไม่ให้สะท้อนหรื อแผ่ออกสู่
ภายนอกโลกว่า “ปรากฏการณ์เรื อนกระจก (Greenhouse Effect)”
ทาให้โลกร้อนขึ้น (Global warming)
9
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมโลก
10
11
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมโลก
การเปลีย่ นแปลงชั้นโอโซน (Ozone layer change)
การเปลี่ยนแปลงชั้นโอโซน (Ozone layer change) เกิดจากการที่ก๊าซส่ วน
น้อย ได้แก่ ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) มีเทน (CH4) และคลอโรฟลูออโร
คาร์ บ อน (CFCs) ซึ่ งเกิ ด จากโรงงานอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ถู ก ปล่ อ ยขึ้ นสู่
บรรยากาศแล้วไปทาลายชั้นโอโซนจนเป็ นช่ องโหว่ ทาให้รังสี อุลตร้ าไวโอ
เลต (UV) ที่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวิตส่ องถึงพื้นโลกได้
12
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมโลก
การทาลายป่ าฝนเขตร้ อน (Tropical rain forest destruction)
คือการทาลายป่ าดงดิบเขียวชอุ่มในเขตร้อนซึ่งมีฝนตกชุกโดยปริ มาณ
น้ าฟ้ ามากกว่ า หรื อเท่ า กั บ 400 เซนติ เ มตรต่ อ ปี ป่ าฝนเขตร้ อ นมี
ความสาคัญในด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ช่วยสร้าง
สภาพบรรยากาศ (Atmospheric contribution) เป็ นแหล่งผลิตไม้ (Wood
products)
13
สาเหตุหลักของปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
สาเหตุหลักของปัญหาสิ่ งแวดล้อมมีอยู่ 2 ประการด้ วยกัน คือ
1. การเพิ่มของประชากร (Population growth)
2. การขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ และความก้า วหน้า ทางด้า นเทคโนโลยี (Economic
growth & Technological progress)
สาเหตุอื่น
- ความเชื่อและค่านิยมที่ไม่เหมาะสม
- นโยบายการบริ หารประเทศ
- ภัยจากธรรมชาติและอุบตั ิเหตุ
14
แนวทางป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
การแก้ ปัญหาที่ต้นเหตุ
- การจัดการมนุษย์
- การป้ องกัน
วิธีการ
- การสร้ างความตระหนัก
- การสร้ างจิตสานึก
- การมีส่วนร่ วม
- อาศัยหลักบูรณาการ
การแก้ ปัญหาที่ปลายเหตุ
- การบังคับและควบคุม
- การบาบัดฟื้ นฟู
วิธีการ
- การใช้ กฎหมาย
- การใช้ เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
- การใช้ เทคโนโลยี
ฯลฯ
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
1. มาตรการบังคับและควบคุม (Command and Control)
มาตรการทางกฎหมายในประเทศ และกฎระเบียบข้อตกลงทางสิ่ งแวดล้อม
ระหว่างประเทศ ได้แก่
พ.ร.บ. ส่ งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม พ.ศ.2535
พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย พ.ศ.2535
พ.ร.บ. การสาธารณสุ ข พ.ศ.2535
พ.ร.บ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535
พ.ร.บ. นา้ บาดาล พ.ศ.2535
พ.ร.บ. การเดินเรือในน่ านนา้ ไทย พ.ศ.2546 แก้ ไขเพิม่ เติม
พ.ศ.2535
16
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
นอกจากนีย้ งั มีกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
เช่ น
พ.ร.บ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ.2522
พ.ร.บ. การขนส่ งทางบก พ.ศ.2522
พ.ร.บ. แร่ พ.ศ.2510
พ.ร.บ. ป่ าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ.2507
พ.ร.บ. อุทยานแห่ งชาติ พ.ศ.2504
พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสั ตว์ ป่า พ.ศ.2503
พ.ร.บ. การชลประทานหลวง พ.ศ.2485
พ.ร.บ. ป่ าไม้ พ.ศ.2484
พ.ร.บ. การชลประทานราษฎร์ พ.ศ.2482
พ.ร.บ. การทาเหมืองแร่ พ.ศ.2461
17
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
กฎระเบียบข้อตกลงทางสิ่ งแวดล้อมระหว่างประเทศที่สาคัญ ได้แก่
-
พิธีสารมอนทรีออล
อนุสัญญาบาเซิล
อนุสัญญาไซเตส
อนุสัญญาว่ าด้ วยการเปลีย่ นแปลงของชั้นบรรยากาศ
อนุสัญญาว่ าด้ วยความหลากหลายทางชีวภาพ
อนุสัญญาสตอกโฮล์ มว่ าด้ วยมลพิษตกค้ างยาวนาน
มาตรการและความเคลือ่ นไหวในสหภาพยุโรป มีการห้ ามใช้ สาร PCP
ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย–แปซิฟิก
ความตกลงการค้ าเสรีอเมริกาเหนือ
สิ นค้ าฉลากเขียว
องค์ การการค้ าโลก
การประชุมสุ ดยอดของโลกด้ านสิ่ งแวดล้ อม
ข้ อตกลงใน International Chamber of Commerce (ICC)
Business Charter for Sustainable Development
- การประชุมสิ่ งแวดล้ อมที่เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น
18
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
2. เทคโนโลยี
- เทคโนโลยีสะอาด
- เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม
- นวัตกรรมด้านสิ่ งแวดล้อม
- เทคโนโลยีสารสนเทศ
19
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
3. เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Tools)
- หลักผูก้ ่อมลพิษเป็ นผูจ้ ่าย (Polluter Pays Principle – PPP)
- นาแนวความคิดในการนาหลักการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการ
จัดการสิ่ งแวดล้อม เช่น
>> Charge
>> Subsidy
>> Deposit-Refund System
>> Taxation
>> Market Creation
20
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
4. กระบวนการบริหารจัดการ (Management Tools)
แผน
Management Plan
การอานวยการ
ระบบสิ่ งแวดล้อม
-
ผลผลิต / ผลลัพธ์
ปัจจัยการบริหาร
บุคลากร
งบประมาณ
เครื่องมือและอุปกรณ์
องค์ กร ฯลฯ
21
เครื่องมือป้องกันและแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
5. มาตรการด้ านสั งคม (Social Measures)
- เปิ ดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่ วม การตรวจตราเฝ้ าระวังดูแลรักษา
- การสร้างความรู้ ความตระหนักและจิตสานึก
- นาหลัก 5 Rs มาใช้
>>> รู ้จกั นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse)
>>> รู้จกั การหมุนเวียนนากลับมาใช้อีก (Recycle)
>>> รู ้จกั ซ่อมบารุ ง (Repair)
>>> รู ้จกั ลดการใช้ เมื่อรู ้วา่ ไม่จาเป็ น (Reduce)
>>> รู ้จกั ปฏิเสธ เมื่อรู ้วา่ ไม่มีประโยชน์ (Reject)
22
Sustainable Development
Wider interest in sustainable development was
prompted by the limits-to-growth writings of the Club of
Rome in 1972. The Brundtland Report offered a useful
definition:
‘development that meets the needs of the
present without compromising the ability of
future generations to meet their own
needs’.
23
Eco/Environment
Sustainable Development
Economic
Social/Human
24
Good Governance
Economic
Social/
Eco/
Human
Environment
25
แนวโน้ มความสาคัญของปัจจัยต่ างๆทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการควบคุมมลพิษ
ความสาคัญ
International force
Consumer demand
Environmental Image
Work environment
Legislation
อดีต
ปัจจุบัน
อนาคต
26
สิ่ งกระตุ้นและผลักดันทาให้ เกิดการจัดการทางสิ่ งแวดล้ อม
สิ่ งกดดัน
การเปลีย่ นแปลง
ผลทีไ่ ด้ รับ
• กฎหมาย
• ดาเนินการจัดระบบการจัดการ
• ได้เปรียบในการแข่งขัน
• ลูกค้ า/ผู้บริโภค
• ตรวจวัด/วัดผล
• เพิม่ ผลกาไร , ลดต้ นทุน
• การแข่ งขัน
• ปรับปรุ งกระบวนการ
• ผลิตภัณฑ์ สะอาด
• ราคาต้ นทุนสู ง
• ออกแบบผลิตภัณฑ์ ใหม่
• ภาพลักษณ์ ทดี่ ี
• ผู้ลงทุน
• เปลีย่ นวัตถุดบิ
• เพิม่ ส่ วนแบ่ งตลาด
• สั งคม /ภาพลักษณ์
• ลดของเสี ย
• ปรับปรุ งแบบต่ อเนื่อง
• ความต้ องการอืน่ ๆ
• ลดการใช้
27
28