การบรรยายกฎหมายผังเมือง 1 – Bup

Download Report

Transcript การบรรยายกฎหมายผังเมือง 1 – Bup

กรอบของการบรรยาย
1. การวางกรอบของรัฐธรรมนูญตามมาตราต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง
กับงานผังเมือง
2. ประเภทและชนิดของผังเมือง
3. ความเป็ นมาของกฎหมายผังเมือง
4. ความหมายของการผังเมือง
5. ผังเมืองตามกฎหมายผังเมือง
กรอบของการบรรยาย (ต่อ)
6. คณะกรรมการผังเมือง
7. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง
8. ผังเมืองรวม
9. ผังเมืองเฉพาะ
1. การวางกรอบของรัฐธรรมนูญตามมาตราต่าง ๆที่
เกี่ยวข้องกับงานผังเมือง
 หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย

มาตรา 26 การใช้อานาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคานึ งถึง
ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ สิทธิ และเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ

มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพที่รฐั ธรรมนูญนี้ รับรองไว้โดยชัดแจ้ง
โดยปริยาย หรือโดยคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ย่อมได้รบั
ความคุม้ ครอง และผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองค์กร
อื่นของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใช้บงั คับกฎหมายและ
การตีความกฎหมาย
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 29 การจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รฐั ธรรมนูญรับรอง
ไว้จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
เฉพาะเพื่อการที่รฐั ธรรมนูญนี้ กาหนดไว้และเท่าที่จาเป็ นเท่านั้น และจะ
กระทบกระเทือนสาระสาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้
กฎหมายตามวรรคหนึ่ งต้องมีผลใช้บงั คับเป็ นการทัว่ ไปและ
ไม่มุง่ หมายให้ใช้บงั คับแก่กรณีใดหนึ่ งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ งเป็ น
การเฉพาะเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อานาจใน
การตรากฎหมายนั้นด้วย
บทบัญญัติวรรคหนึ่ งและวรรคสองให้นามาใช้บงั คับกับกฎ
หรือข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายด้วย
โดยอนุ โลม
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 35 บุคคลย่อมเสรีภาพในเคหสถาน
บุคคลย่อมได้รบั ความคุม้ ครองในการที่จะอยูอ่ าศัยและ
ครอบครองเคหสถานโดยปกติสุข การเข้าไปในเคหสถานโดย
ปราศจากความยินยอมของผูค้ รอบครอง หรือการตรวจค้นเคหสถาน
จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 36 บุคคลย่อมเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการ
เลือกถิ่นที่อยูภ่ ายในราชอาณาจักร
การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดย
อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อความมัน่ คงของรัฐ
ความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือ
เพื่อ สวัสดิภาพของผูเ้ ยาว์
การเนรเทศบุคคลผูม้ ีสญ
ั ชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร
หรือห้ามมิให้บุคคลผูม้ ีสญ
ั ชาติไทยเข้ามาในราชอาณาจักร จะกระทา
มิได้
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 49 การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่
โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อการ
อันเป็ นสาธารณูปโภค การอันจาเป็ นในการป้องกันประเทศ
การได้มาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ การผังเมือง การส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การพัฒนาการเกษตรหรือ
การอุตสาหกรรม การปฏิรปู หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ
อย่างอื่น และต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็ นธรรมภายในเวลาอัน
ควรแก่เจ้าของตลอดจนผูท้ รงสิทธิบรรดาที่ได้รบั ความ
เสียหายในการเวนคืนนั้น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา 49 (ต่อ)
การกาหนดค่าทดแทนตามวรรคหนึ่ ง ต้องกาหนดให้อย่าง
เป็ นธรรมโดยคานึ งถึงราคาที่ซื้อขายกันตามปกติ การได้มา สภาพและที่
ต้องของอสังหาริมทรัพย์และความเสียหายของผูถ้ กู เวนคืน
กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตอ้ งระบุวตั ถุประสงค์แห่ง
การเวนคืน และกาหนดระยะเวลาการเข้าใช้อสังหาริมทรัพย์ไว้ให้ชดั แจ้ง
ถ้ามิได้ใช้เพื่อการนั้นภายในระยะเวลาที่กาหนดดังกล่าว ต้องคืนให้
เจ้าของเดิมหรือทายาท
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ให้เจ้าของเดิมหรือทายาทตาม
วรรคสาม และการเรียกคืนค่าทดแทนที่ชดใช้ไป ให้เป็ นไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 50 บุคคลย่อมเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบ
อาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็ นธรรม
การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดย
อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการ
รักษาความมัน่ คงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศการคุม้ ครอง
ประชาชนในด้านสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การ
คุม้ ครองผูบ้ ริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือ
สิ่งแวดล้อม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อป้องกันการผูกขาด
หรือขจัดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขัน
หมวด 3 : สิ ทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่ อ)
 มาตรา 56 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนใน
การบารุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุม้ ครอง ส่งเสริม และ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยูไ่ ด้อย่างปกติและ
ต่อเนื่ อง ในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวติ ของตน ย่อมได้รบั ความ
คุม้ ครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
การดาเนิ นโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ
อย่างรุนแรงต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้
ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมทั้งได้ให้
องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผูแ้ ทนองค์การเอกชนด้าน
สิ่งแวดล้อมและผูแ้ ทน
มาตรา 56 (ต่อ)
สถาบันอุดมศึกษาที่จดั การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ให้ความเห็น
ประกอบก่อนมีการดาเนิ นการดังกล่าว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย
บัญญัติ
สิทธิของบุคคลที่จะฟ้ องหน่ วยราชการ หน่ วยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐ เพื่อให้
ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในกฎหมายตามวรรคหนึ่ งและวรรค
สอง ย่อมไดรับความคุม้ ครอง
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 58 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รบั ทราบข้อมูลหรือข่าวสาร
สาธารณะในครอบครองของหน่ วยราชการ หน่ วยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่การเปิ ดเผย
ข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความมัน่ คงของรัฐ ความปลอดภัย
ของประชาชนหรือส่วนได้เสียอันพึงได้รบั ความคุม้ ครองของ
บุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 59 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รบั ทราบข้อมูล คาชี้ แจง และเหตุผล
จากหน่ วยราชการ หน่ วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน
ท้องถิ่น ก่อนการอนุ ญาตหรือการดาเนิ นโครงการหรือกิจการใดที่อาจ
มีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต
หรือส่วนได้เสียสาคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนท้องถิ่น และมีสิทธิ
แสดงความคิดเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ตามกระบวนการรับ
ฟั งความคิดเห็นของประชาชนที่กฎหมายบัญญัติ
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 60 บุคคลย่อมมีสิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการ
พิจารณาของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบตั ิราชการทาง
ปกครองอันมีผลหรืออาจมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของ
ตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
หมวด 3 : สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย(ต่อ)
 มาตรา 61 บุคคลย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์และได้รบั
แจ้งผลการพิจารณาภายในเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
 มาตรา 62 สิทธิของบุคคลที่จะฟ้ องหน่ วยราชการ หน่ วยงาน
ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรอื่นของรัฐ ที่เป็ นนิ ติบุคคล
ให้รบั ผิดเนื่ องจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาของช้า
ราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่ วยงานนั้น ย่อมได้รบั
ความคุม้ ครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
2. ประเภทหรือชนิดของผังเมือง
•
•
•
•
•
•
ผังประเทศ
ผังภาค
ผังจังหวัดหรือผังโครงสร้างจังหวัด
ผังเมืองรวม
ผังเมืองเฉพาะ
ผังเฉพาะพื้ นที่
3. ความเป็ นมาของกฎหมายผังเมือง
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการผังเมือง
และผังชนบท พ.ศ. 2495”
มาตรา 2 เมื่อให้ใช้บงั คับพระราชบัญญัติต้งั แต่วนั ถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุ เบกษาเป็ นต้นไป และจะใชับงั คับในท้องถิ่น
ใด ให้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา
มาตรา 3 เมื่อให้ใช้บงั คับพระราชบัญญัตินี้ในท้องถิ่นใดให้ยกเลิก
บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ซึ่งขัดหรือแย้งกับบท
แห่งพระราชบัญญัตินี้ในท้องถิ่นนั้น
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“โครงการ” หมายความว่า โครงการทาขึ้ นเพื่อการผังหรือการ
บูรณะแห่งที่ดินเมือง หรือที่ดินชนบท แสดงผังและข้อความดัง่ ที่
ระบุไว้ในพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผรู้ กั ษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้
“เจ้าพนักงานท้องถิ่น” ในท้องถิ่นที่ได้ยกฐานะเป็ นเทศบาลแล้ว
หมายความว่า คณะเทศมนตรี ส่วนในท้องถิ่นที่ยงั มิได้ยกฐานะเป็ น
เทศบาลหมายความว่า ผูว้ า่ ราชการจังหวัดหรือนายอาเภอซึ่งได้รบั
มอบให้ทาการแทนผูว้ า่ ราชการจังหวัด
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 9 ให้มีกรรมการขึ้ นคณะหนึ่ งเรียกว่า คณะกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิ ประกอบด้วยอธิบดีกรมโยธาเทศบาลเป็ นประธาน
กรรมการ อธิบดีกรมโยธาธิการ อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรม
ทางหลวงแผ่นดิน ผูว้ า่ การรถไฟแห่งประเทศไทย และผูท้ รงคุ ณวุฒิ
อื่นอีกไม่น้อยกว่าสิบคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้ นด้วยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี เป็ นกรรมการ
ให้คณะกรรมการนี้ มีหน้าที่แนะนาการออกพระราช
กฤษฎีกาตามมาตรา 7 และให้คาแนะนาการทาโครงการตาม
มาตรา 10
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 12 เมื่อได้ทาโครงการตามความประสงค์แห่ง
พระราชบัญญัตินี้แล้ว ให้เจ้าพนักงานการผังแจ้งความให้ผมู้ ีส่วน
ได้เสียทราบเขตแห่งการผัง โดยโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงไม่
น้อยกว่าสามวัน โฆษณาในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสองฉบับเป็ น
เวลาไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน และปิ ดประกาศไว้ ณ ที่เปิ ดเผยในเขต
แห่งการผังนั้นไม่น้อยกว่าสามแห่งเป็ นเวลาสิบห้าวัน ในประกาศ
นั้นให้ระบุสถานที่แห่งหนึ่ งในเขตนั้น หรือในถิ่นที่ใกล้เคียงที่
บุคคลอาจเข้าดูสาเนาโครงการนั้นได้ ณ เวลาใด ๆ อันสมควร
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 13 เมื่อได้ปฏิบตั ิการตามมาตรา 12 แล้ว ให้เจ้า
พนักงานการผังเสนอโครงการพร้อมด้วยเอกสารที่เกี่ยวข้องไปยัง
รัฐมนตรีเพื่ออนุ มตั ิ
มาตรา 14 รัฐมนตรีมีอานาจสัง่ อนุ มตั ิโครงการ หรือไม่อนุ มตั ิ
หรืออนุ มตั ิโดยมีขอ้ แก้ไขก็ได้ และให้แจ้งคาสัง่ ไปยังเจ้าพนักงาน
การผัง
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 22 ในระหว่างที่ดาเนิ นการตามโครงการ เจ้าพนักงานท้องถิ่น
อาจ
(1) ทาความตกลงกับเจ้าของที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น
เพื่อรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นนั้นเท่าที่
จาเป็ น หรือถ้าตกลงกันไม่ได้ก็ดาเนิ นการเพื่อการเวนคืนตาม
กฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์โดยให้ถือว่า
พระราชบัญญัติใช้บงั คับโครงการเป็ นพระราชบัญญัติเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง
(2) ขอรับโอนที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินเท่าที่จาเป็ น
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
(3) สัง่ เป็ นหนังสือให้ยา้ ย รื้ อถอน หรือเปลี่ยนแปลงอาคารสิ่ง
ปลูกสร้างหรือสิ่งทาไว้อย่างอื่นที่มีอยูแ่ ล้วเท่าที่จาเป็ น หรือ
ดาเนิ นการตามคาสัง่ นั้นเสียเองในกรณีที่ไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่
(4) เข้าจัดทาสิ่งซึ่งเป็ นหน้าที่ของบุคคลใดที่จกั ต้องทาตาม
โครงการในกรณีที่มีการชักช้าอันเป็ นเหตุให้การดาเนิ นการตาม
โครงการมีหรือน่ าจะมีประสิทธิภาพลดลงและเรียกร้องค่าใช้จ่ายอัน
สมควรในการนี้ ซึ่งได้ออกทดรองไปแล้วจากบุคคลซึ่งมีหน้าที่จกั ต้อง
ทานั้น
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
(5) จัดสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งอื่นในที่ดินที่ได้มา
ตาม (1) หรือ (2) หรือโดยประการอื่น
ก่อนที่จะดาเนิ นการตาม (3) หรือ (4) ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น
แจ้งความแก่เจ้าของ ผูค้ รองครอง หรือบุคคลอื่นซึ่งมีส่วนได้เสีย
ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสองเดือนก่อนลงมือกระทานั้น ระบุ
ลักษณะของการกระทาและพื้ นที่ที่จะกระทาการ โดยฝ่ ายที่มีส่วนได้
เสียเป็ นผูช้ าระค่าใช้จา่ ย ในกรณีที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามโดยความสมัครให้
ถูกต้องตามความประสงค์ที่ระบุไว้ในแจ้งความภายในระยะเวลาอัน
สมควร
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 23 เมื่อโครงการนั้นเกี่ยวด้วยการสร้างถนนขึ้ นใหม่ เจ้า
พนักงานท้องถิ่นมีอานาจที่จะเรียกเอาค่าใช้จา่ ยอันแท้จริงในการสร้าง
ถนนนั้นขึ้ นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนจากเจ้าของที่ดินที่จดถนนนั้น
หรือจะเรียกจากผูม้ ีทรัพยสิทธิในที่ดินนั้น หรือจากผูเ้ ช่าด้วยก็ได้ แต่
ประโยชน์แท้จริงส่วนใหญ่เนื่ องด้วยทรัพยสิทธิหรือการเช่านั้น จะต้อง
มีอายุยงั เหลืออยูไ่ ม่น้อยกว่าห้าปี นับแต่วนั ที่เรียกเอาค่าใช้จา่ ย
ค่าใช้จา่ ยนี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนดเรียกเอาตามส่วนเนื้ อที่ของ
ที่ดินที่จดถนนเฉพาะเนื้ อที่ที่มีส่วนลึกไม่เกินสองร้อยเมตรจากขอบ
ถนน และในการเรียกเอาจากเจ้าของผูม้ ีทรัพยสิทธิหรือผูเ้ ช่า ให้
คานึ งถึงสภาพและระยะเวลาของทรัพยสิทธิหรือการเช่านั้นด้วย
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 24 เงินซึ่งเจ้าพนักงนท้องถิ่นเรียกเอาได้เป็ นค่าชดใช้
ตามหมวดนี้ พึงชาระภายในกาหนดหนึ่ งเดือน นับแต่วนั ที่ได้รบั
หนังสือของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเรียกเอาค่าใช้จา่ ย แต่ผูท้ ี่จะชาระเงิน
นั้นอาจชาระเป็ นงวดตามแต่จะตกลงกับเจ้าพนักงานท้องถิ่น แต่เงิน
ทั้งหมดจะต้องชาระให้เสร็จสิ้ นภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสองปี และ
ไม่เกินกว่าสิบปี และเงินงวดนั้นต้องชาระในระยะเวลาห่างกันไม่เกิน
หนึ่ งปี ในกรณีที่ชาระเงินเป็ นงวด ให้คิดดอกเบี้ ยในอัตราร้อยละห้า
ต่อปี ในจานวนเงินที่คา้ งชาระอยู่
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
ที่ดินที่เจ้าของจะต้องชาระค่าใช้จา่ ยตามความในวรรคก่อน ถ้า
ได้คา้ งชาระมาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่าสองปี แล้ว ให้รฐั มนตรีมีอานาจสัง่
ยึดและสัง่ ขายทอดตลาดโดยมีตอ้ งขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสัง่
วิธีการยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินดัง่ กล่าวในวรรคก่อน ให้
ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุ โลม
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
มาตรา 25 ถ้าในโครงการได้กาหนดไว้ให้มีการจัดแบ่งที่ดิน
แปลงต่างๆ เสียใหม่ ในกรณีที่จาเป็ นเจ้าพนักงานท้องถิ่นอาจจัดแบ่ง
ที่ดินโดยประการต่อไปนี้
(1) รวมเพื่อประโยชน์ในการจัดแบ่งที่ดินของเอกชนและสา
ธารณ รวมตลอดทั้งถนน ตรอก และที่โล่งของเอกชนหรือสารณ
บรรดาที่อยูใ่ นเขตแห่งโครงการ
(2) จัดสรรพื้ นที่ไว้สาหรับถนน ตรอกหลังอาคาร และที่โล่ง
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
ในการจัดแบ่งที่ดินตามาตรานี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งความ
เป็ นหนังสือแก่เจ้าของเดิมหรือผูม้ ีส่วนได้เสียอื่น ๆ เป็ นเวลาไม่นอ้ ย
กว่าสามเดือนก่อนปฏิบตั ิการ
เมื่อกระทาดัง่ กล่าวนี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นดาเนิ นการต่อไป
เท่าที่จะทาได้ คือ
(ก) มอบที่ดินแปลงหนึ่ งหรือหลายแปลงให้แก่เจ้าของที่ดินเดิม
โดยให้ได้รบั ส่วนแบ่งในชั้นที่สุดเท่ากับหรือตามส่วนหรือขนาดและ
ราคาที่ดินเดิมหรือทั้งสองประการเท่าที่จะเป็ นไปได้
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
(ข) สงวนประโยชน์พิเศษไว้สาหรับเจ้าของเดิมแต่ละคนในส่วน
ทาเลการมีดา้ นหน้าจดถนน หรือประโยชน์อย่างอื่นซึ่งที่ดินเดิมของผู้
นั้นได้เคยมีอยู่
(ค) ระงับภาระจายอมที่มีอยูแ่ ละจัดให้มีภาระจายอมขึ้ นใหม่
ตามความจาเป็ นเพื่อการใช้สิทธิในที่ดินที่ได้มอบให้แก่เจ้าของผูใ้ ดผู้
หนึ่ งในชั้นที่สุด
(ง) เพิกถอนภาระติดพันที่มีอยูเ่ หนื อที่ดินเดิม และก่อให้เกิด
ภาระติดพันกันขึ้ นใหม่เหนื อที่ดินซึ่งได้มอบให้แก่เจ้าของในชั้นที่สุด
3.1 พรบ.การผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 (ต่อ)
(จ) ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่เจ้าของคนใดสาหรับประโยชน์ พิเศษ
ซึ่งได้เสียไปในการที่ได้มอบที่ดินในชั้นที่สุด
(ฉ) เรียกร้องให้เจ้าของคนใดคนหนึ่ ง ชาระเงินเนื่ องจากการที่
ได้รบั ประโยชน์พิเศษใด ๆ ในที่ดินที่ได้รบั มอบในชั้นที่สุด ในกรณีนี้
การชาระเงินนั้นจะต้องเป็ นไปภายในบทบัญญัติแห่งมาตรา 24 โดย
อนุ โลม
การโอนที่ดินและส่งมอบหลักฐานแห่งกรรมสิทธิ์ หรือการจด
ทะเบียนภาระจายอมหรือภาระติดพันใหม่ ให้ทาโดยไม่ตอ้ งเสีย
ค่าธรรมเนี ยม
3.2 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
1.
2.
3.
4.
5.
6.
โครงสร้าง
บททัว่ ไป มาตรา 1 – มาตรา 5
หมวด 1 คณะกรรมการการผังเมือง มาตรา 6 – มาตรา 13
หมวด 2 การสารวจเพื่อการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือ
ผังเมืองเฉพาะ มาตรา 14 – มาตรา 16
หมวด 3 การวางและจัดทาผังเมืองรวม
มาตรา 17 – มาตรา 25
หมวด 4 การใช้บงั คับผังเมืองรวม มาตรา 26 – มาตรา 27
หมวด 5 การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
มาตรา 28 – มาตรา 40
3.2 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 (ต่อ)
7. หมวด 6 การใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ มาตรา 41 – มาตรา 49
8. หมวด 7 คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 50 - มาตรา 53
9. หมวด 8 การรื้ อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคาร
มาตรา 54 – มาตรา 69
10. หมวด 9 อุทธรณ์ มาตรา 70 – มาตรา 77
11. หมวด 10บทเบ็ดเสร็จ มาตรา 78 – มาตรา 82
12. หมวด 11บทกาหนดโทษ มาตรา 83 – มาตรา 84
4. ความหมายของการผังเมือง
“การผังเมือง” หมายความว่า การวาง จัดทา และดาเนิ นการให้
เป็ นไปตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริเวณเมืองและบริเวณที่
เกี่ยวข้องหรือชนบทเพื่อสร้างหรือพัฒนาหรือส่วนของเมืองขึ้ นใหม่หรือ
แทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ได้รบั ความเสียหายเพื่อให้มีหรือทาให้ดี
ยิง่ ขึ้ นซึ่งสุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็ นระเบียบ ความสวยงาม
การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิ
ภาพของสังคมเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจสังคม และสภาพแวดล้อม เพื่อ
ดารงรักษาหรือบูรณะสถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทาง
ศิลปกรรม สถาปั ตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือเพื่อ
บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทาง
ธรรมชาติ
ความสาคัญของการผังเมือง
1. สุขลักษณะ
6. ความปลอดภัยของประชาชน
2. ความสะดวกสบาย
7. สวัสดิภาพของประชาชน
3. ความเป็ นระเบียบ
8. ส่งเสริมเศรษฐกิจ
4. ความสวยงาม
9. ส่งเสริมสังคม
5. การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน 10. ส่งเสริมสภาพแวดล้อม
11. เพื่อดารงรักษาหรือบรูณะสถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทาง
ศิลปกรรรม สถาปั ตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือ
เพื่อบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมี
คุณค่าในทางธรรมชาติ
5. ผังเมืองตามกฎหมายผังเมือง
5.1 ผังเมืองรวม
5.2 ผังเมืองเฉพาะ
6. คณะกรรมการผังเมือง
องค์ประกอบคณะกรรมการผังเมือง
1.
ปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ
2.
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
3.
ปลัดกระทรวงคมนาคม กรรมการ
4.
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ
5.
ผูอ้ านวยการสานักงบประมาณ กรรมการ
6. คณะกรรมการผังเมือง (ต่อ)
6. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กรรมการ
7. ผูท้ รงคุณวุฒิทางการผังเมืองหรือสาขาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผังเมือง
ไม่เกิน 7 คน กรรมการ
8. ผูแ้ ทนสถาบันองค์การอิสระและบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผัง
เมืองไม่เกิน 7คน กรรมการ
9. อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง กรรมการและเลขานุ การ
7. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง
1. เกี่ยวข้องในการวางและจัดทาผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ
2. เกี่ยวข้องในการจัดทาข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน
3. เกี่ยวข้องในการควบคุมให้เป็ นไปตามผังเมืองรวมและผังเมือง
เฉพาะ
4. เกี่ยวข้องในการพัฒนาให้เป็ นไปตามผังเมืองและผังเมืองเฉพาะ
7.1 กม.เกี่ยวข้องในกระบวนการวางและจัดทา
ผังเมือง
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
2. พระราชบัญญัติขอ้ มูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
3. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
4. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
5. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
6. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการปฏิบตั ิราชการเพื่อ
ประชาชนของหน่ วยงานของรัฐ พ.ศ. 2532
7. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟั งความคิดเห็น
สาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ์ พ.ศ. 2538
8. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
7.2 กม.เกี่ยวข้องในการกาหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดิน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. ป่ าไม้ พ.ศ. 2484
พ.ร.บ. ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
พ.ร.บ. สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. สวนป่ า
7.2 กม.เกี่ยวข้องในการกาหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดิน (ต่อ)
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510
พ.ร.บ. ปิ โตรเลียม พ.ศ. 2541
พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2490
พ.ร.บ. การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485
พ.ร.บ. การชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482
พ.ร.บ. ดินและคูน้ า พ.ศ. 2505
พ.ร.บ. น้ าบาดาล พ.ศ. 2520
พ.ร.บ. ปฏิรปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518
พ.ร.บ. จัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517
7.2 กม.เกี่ยวข้องในการกาหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดิน (ต่อ)
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526
พ.ร.บ. จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
พ.ร.บ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518
พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
พ.ร.บ. รักษาความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. อาคารชุด พ.ศ. 2522
พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. 2535
พ.ร.บ. ว่าด้วยการเก็บรักษาน้ ามันเชื้ อเพลิง พ.ศ. 2474
7.2 กม. เกี่ยวข้องในการกาหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดิน (ต่อ)
27. พ.ร.บ. สถานบริการ พ.ศ. 2509
28.พ.ร.บ. น้ ามันเชื้ อเพลิง พ.ศ. 2512
29.พ.ร.บ. โรงแรม พ.ศ. 2478
30.พ.ร.บ. อาวุธปื น เครื่องกระสุน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ
ปื น พ.ศ. 2490
31.พ.ร.บ. การนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
32.พ.ร.บ. ควบคุมสุสานและฌาปนสถาน พ.ศ. 2481
33.ประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 286 ลว. 24 พ.ย. 2515 เรื่อง การจัดสรร
ที่ดิน
34.ประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 28 เรื่อง การบรรจุกา๊ ชปิ โตเลียมเหลว วันที่
25 ธ.ค. 2524
35.พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
7.3 กม.เกี่ยวข้องในการบังคับใช้ผงั เมืองรวม
หรือผังเมืองเฉพาะ
1.พรบ. การผังเมือง พ.ศ. 2518
2.ประมวลกฎหมายอาญา
3.พรบ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
4.พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535
5.พรบ. ว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
6.พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
7.พรบ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535
8.พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
7.4 กม.เกี่ยวข้องในการพัฒนาให้เป็ นไปตาม
ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ
1. พรบ. ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530
2. พรบ. ทางหลวง พ.ศ. 2535
3. พรบ. การนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
4. พรบ. การท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494
5. พรบ. การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
6. พรบ. การขนส่ง พ.ศ. 2497
7. พรบ. การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2503
8. พรบ. การไฟฟ้ านครหลวง พ.ศ. 2501
7.4 กม.เกี่ยวข้องในการพัฒนาให้เป็ นไปตาม
ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
พรบ. การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519
พรบ. การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485
พรบ. การชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482
พรบ. การประปานครหลวง พ.ศ. 2510
พรบ. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535
พรบ. การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521
พรบ. ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ . . .
พรบ. การผังเมือง พ.ศ. 2518
ฯลฯ
8. ผังเมืองรวม (General Plan)
หมายความว่า (Means)
1. แผนผัง (Plan)
2. นโยบาย (Policy)
3. โครงการ (Project)
4. มาตรการควบคุมโดยทัว่ ไป (General Control)
เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการ (To be uses guilance in the)
1. พัฒนา (development)
2. ดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท
(maintenance of a town and related areas, or of
the corntry)
8. ผังเมืองรวม (General Plan) (ต่อ)
ในด้าน (In the sides)
1. การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน (Use of property)
2. การคมนาคมและขนส่ง (Communication and
transport)
3. การสาธารณูปโภค
4. บริการสาธารณะ (Public service )
5. สภาพแวดล้อม
เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของการผังเมือง
สารวจ
วางและจัดทา
ประกาศใช้บงั คับ
ควบคุม
1. การใช้ประโยชน์ที่ดิน
2. อาคาร
3. การประกอบกิจการ
พัฒนา
1. องค์กรของรัฐ
2. เอกชน
3. องค์กรของรัฐร่วมกับเอกชน
ประเมินผล
1. กรมการผังเมือง
2. ท้องถิ่น
3.ประชาชน
การสารวจ
พรฎ. กาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจเพื่อการวางและจัดทา
ผังเมืองรวม/ผังเมืองเฉพาะ
ภูมิศาสตร์
กายภาพ
สภาพแวดล้อม สถานที่ที่มีวตั ถุ
ที่มีประโยชน์
หรือคุณค่าทาง
-ศิลปกรรม
-ประวัติศาสตร์
เศรษฐกิจ
สังคม
ประชากร
สถานที่ที่มี
การใช้ประโยชน์
-ทรัพยากรธรรมชาติ
ที่ดิน/ทรัพย์สิน
-ภูมิประเทศที่งดงาม
ในขณะนั้น
-คุณค่าในทางธรรมชาติ
กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวม
กรมการผังเมือง
ท้องถิ่น
แจ้งท้องถิ่น
ขออนุ มตั ิคณะกรรมการผังเมือง
แต่งตั้งคณะที่ปรึกษา
แต่งตั้งคณะที่ปรึกษา
โฆษณา
โฆษณา
ประชุมประชาชนประชุมคณะที่ปรึกษา
เสนอคณะกรรมการผังเมือง
ปิ ด 90 วัน
ประชุมประชาชนประชุมคณะที่ปรึกษา
ส่งผังให้กรมการผังเมืองให้ความเห็น
เสนอคณะกรรมการผังเมือง
นาคาร้องเสนอคณะกรรมการผังเมือง
ปิ ด 90 วัน
แก้ไขผังตามมติคณะกรรมการผังเมือง
นาคาร้องเสนอคณะกรรมการผังเมือง
องค์ประกอบของร่างกฎกระทรวงผังเมืองรวม
1. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม
2. แผนที่แสดงเขตผังเมืองรวม
3. แผนที่ซึ่งทาขึ้ นเป็ นฉบับเดียวหรือหลายฉบับพร้อมด้วยข้อกาหนด
โดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการดังนี้
(ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
(ข) แผนผังแสดงที่โล่ง
(ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง
(ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค
4. รายการประกอบแผนผัง
5. นโยบาย มาตรการและวิธีดาเนิ นการเพื่อปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์
ของผังเมืองรวม
ลักษณะการบังคับใช้
(Enforcement)
ผังเมืองรวม (General Plan)
ให้กระทาโดยกฎกระทรวง (By Ministerial Regulation)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยเป็ นผูม้ ีอานาจออก
กฎกระทรวง ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
(Minister of Interior shall have the power to issue Ministerial
Regulations for the carrying cut of this Act.)
ข้อ ให้ผมู้ ีอานาจหน้าที่ในการอนุ ญาตก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการใน
เขตผังเมืองรวมปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
มาตรา 27 ในเขตที่ได้มีกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมือ งรวม
แล้ว ห้า มบุ ค คลใดใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ผิ ด ไปจากที่ ไ ด้ก าหนดไว้ใ น
ผังเมืองรวมหรือปฏิบตั ิ การใด ๆ ซึ่งขัดกับข้อกาหนดไว้ในผังเมือง
รวมนั้น
ความในวรรคหนึ่ งมิ ใ ห้ใ ช้บั ง คั บ แก่ ก รณี ที่ เ จ้า ของหรื อผู้
ครอบครองที่ดินได้ใช้ประโยชน์ที่ดินมาก่อนที่จะมีกฎกระทรวงให้ใช้
บังคับผังเมืองรวม และจะใช้ประโยชน์ ที่ดินเช่นนั้นต่อไปเป็ นการขัด
ต่ อ นโยบายของผัง เมื อ งรวมในสาระส าคัญ ที่ เ กี่ ย วกับ สุ ข ลั ก ษณะ
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ส วั ส ดิ ภ า พ ข อ ง สั ง ค ม
คณะกรรมการผั ง เมื อ งมี อ านาจก าหนดหลัก เกณฑ์ วิ ธี ก ารและ
เงื่อนไขที่ เจ้าของ หรื อผูค้ รอบครองที่ ดินจะต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือระงับการใช้ประโยชน์
มาตรา 27 (ต่อ)
ที่ ดิ น เช่ น นั้ น ต่ อ ไปภายในระยะเวลาที่ เ ห็ น สมควรได้ก ารก าหนด
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขดังกล่าวให้คานึ งถึ งกิจการที่ มีการใช้
ประโยชน์ ที่ดิน สภาพของที่ ดินและทรัพย์สินอื่นที่ เกี่ ยวกับที่ ดิน การ
ลงทุ น ประโยชน์ ห รื อ ความเดื อ ดร้อ นร าคาญที่ ป ระชาชนได้รับ จาก
กิจการนั้น ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการผังเมืองเชิญเจ้าของหรื อผูค้ รองครอง
ที่ดินมาแสดงข้อเท็จจริงและความคิดเห็นประกอบด้วย
เมื่อได้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขดังกล่าวในวรรค
สองแล้ว ให้คณะกรรมการผังเมืองมีหนังสือแจ้งให้เจ้าของหรือผู้
ครอบครองที่ดินทราบ และเจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินมีสิทธิ
อุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70
การควบคุมให้เป็ นไปตามผังเมืองรวม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ
การควบคุมให้เป็ นไปตามผังเมืองรวม
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
1.เทศบาล
2.องค์การบริ การส่ วนตาบล
3.พัทยา
4.กรุ งเทพมหานคร
ขั้นตอนการพิจารณาเมื่อจะมีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
1. ผังเมือง
2. ขออนุ ญาตประกอบกิจการ
3.ขออนุ ญาติปลูกสร้างอาคารกฎหมายควบคุมอาคาร
การใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวมแบ่งเป็ น
1. การใช้ประโยชน์ที่ดินหลัก
2. การใช้ประโยชน์ที่ดินรอง
3. การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตอ้ งห้าม
ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวม
1. อาคาร
2. ไม่มีอาคาร
3. มีอาคารบางส่วน
อาคารตามกฎหมายผังเมือง
1. อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ
ก่อสร้างอาคาร
2. สิ่งปลูกสร้างทุกชนิ ด หรือสิ่งอื่นใดที่วางบน ใต้
หรือผ่านเหนื อพื้ นดินหรือพื้ นน้ า
หลักการในการพิจารณาว่าได้ใช้ประโยชน์ที่ดินหรือ
ประกอบกิจการก่อนที่กฎกระทรวงผังเมืองรวม
ประกาศใช้บงั คับ
1. การใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการประกอบกิจการที่มี
กฎหมายควบคุมให้ตอ้ งได้รบั อนุ ญาต
2. การใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการประกอบกิจการที่ไม่
มีกฎหมายควบคุมให้ตอ้ งได้รบั อนุ ญาต
ลักษณะการพัฒนาประเทศ
1. รัฐ
2. เอกชน
3. รัฐ + เอกชน
การพัฒนาให้เป็ นไปตามผังเมืองรวม
1. วางผังเมืองเฉพาะ
2. เวนคืน
3. จัดรูปที่ดิน
4. กฎหมายอื่น
ผังเมืองรวม
การพัฒนาให้เป็ นไปตามผัง
รัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต่าง ๆ กระทรวง ทบวง
กรม ต่าง ๆ
สาธารณูปโภค สาธารณูปการ
บริการสาธารณะต่าง ๆ หรือ
ประกอบกิจการ
เอกชน
-จัดสรรที่ดิน
-โรงงาน
-ประกอบพาณิชยกรรม
-อื่น ๆ
9. ผังเมืองเฉพาะ (Specific plan)
หมายความว่า (Means)
1. แผนผัง (Plan)
2. โครงการดาเนิ นการ (Operation project)
เพื่อ (for)
1. พัฒนา (development)
2. ดารงรักษาบริเวณเฉพาะแห่งหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง
(maintenance of a specific area or related affairs)
ใน (in)
1. เมือง (Town)
2. บริเวณที่เกี่ยวข้อง (related areas)
3. ชนบท (Country)
เพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
ผังเมืองเฉพาะประกอบด้วย
(1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
(2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองเฉพาะ
(3) แผนที่ผงั เมืองหรือแผนผังบริเวณซึ่งทาขึ้ นเป็ นฉบับเดียวหรือ
หลายฉบับ โดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการ
ดังต่อไปนี้
(ก) แผนผังแสดงการกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งจาแนก
เป็ นประเภทกิจการพร้อมทั้งแนวเขตการแบ่งที่ดินออกเป็ น
ประเภทและย่าน
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
(ข) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งพร้อมทั้ง
รายละเอียดแสดงแนวและขนาดทางสาธารณะ
(ค) แผนผังแสดงรายละเอียดของกิจการสาธารณูปโภค
(ง) แผนผังแสดงที่โล่ง
(จ) แผนผังแสดงการกาหนดระดับพื้ นดิน
(ฉ) แผนผังแสดงบริเวณที่ต้งั ของสถานที่หรือวัตถุที่มี
ประโยชน์ หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปั ตยกรรม
ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดีที่จะพึงส่งเสริมดารงรักษาหรือ
บูรณะ
(ช) แผนผังแสดงบริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติหรือภูมิ
ประเทศที่งดงามหรือมีคุณค่าในทางธรรมชาติ รวมทั้งต้นไม้เดี่ยว
หรือต้นไม้หมูท่ ี่จะพึงส่งเสริมหรือบารุงรักษา
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
(4) รายการและคาอธิบายประกอบแผนผังตาม (3) รวมทั้งประเภทและชนิ ด
ของอาคารที่จะอนุ ญาตหรือไม่อนุ ญาตให้ก่อสร้าง
(5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบตั ิหรือไม่ให้ปฏิบตั ิเพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์
ของผังเมืองเฉพาะทุกประการหรือบางประการ ดังต่อไปนี้
(ก) แนวทางและขนาดของที่อุปกรณ์
(ข) ประเภท ชนิ ด ขนาด และจานวนของอาคารที่จะอนุ ญาตหรือไม่
อนุ ญาตให้สร้าง
(ค) ประเภท ชนิ ด ขนาด จานวนและลักษณะของอาคารที่ชารุดทรุด
โทรม หรืออยูใ่ นสภาพอันเป็ นที่น่ารังเกียจหรือน่ าจะเป็ นอันตรายแก่ผู้
อาศัยหรือสัญจรไปมาซึ่งจะถูกสัง่ ให้รื้อหรือย้ายตามคาสัง่ ของคณะ
กรรมการบริหารผังเมืองส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 55
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
(ง) การใช้ประโยชน์ของอาคารที่อนุ ญาตให้สร้างขึ้ นใหม่ หรืออนุ ญาต
ให้เปลี่ยนแปลง อันผิดไปจากการใช้ประโยชน์ตามที่ได้ขอไว้เมื่ออนุ ญาต
ก่อสร้าง ซึ่งจะต้องได้รบั อนุ ญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
(จ) ขนาดและแปลงที่ดินที่จะอนุ ญาตให้เป็ นที่สร้างอาคารที่ใช้เพื่อ
ประโยชน์ต่างๆ ตามที่ได้ระบุไว้ในผังเมืองเฉพาะ รวมทั้งบริเวณของที่ดินที่
กาหนดให้เป็ นที่โล่งเพื่อประโยชน์ตามที่ระบุไว้
(ฉ) การส่งเสริมดารงรักษาหรือบูรณะสถานที่หรือวัตถุที่มีประโยชน์
หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปั ตยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี
(ช) การดารงรักษาที่โล่ง
(ซ) การส่งเสริมหรือบารุงรักษาต้นไม้เดี่ยวหรือต้นไม้หมู่
(ฌ) การรื้ อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคาร
(ญ) การอื่นที่จาเป็ นเพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองเฉพาะ
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
(6) รายละเอียดระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นที่ตอ้ งเวนคืนพร้อมทั้ง
รายชื่อเจ้าของหรือผูค้ รอบครองทรัพย์สินโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยมี
แผนที่แสดงเขตที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่เวนคือเพื่อประโยชน์
แก่การผังเมืองสาหรับใช้เป็ นทางหลวงตามมาตรา 43(1)
(7) รายละเอียดระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่ตอ้ งเวนคืน
พร้อมทั้งรายชื่อเจ้าของหรือผูค้ รอบครองทรัพย์สินโดยชอบด้วยกฎหมาย
โดยมีแผนที่แสดงเขตที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่เวนคืนเพื่อ
ประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่นตามมาตรา 43(2)
การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
(8) รายละเอียดและแผนที่ระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นซึ่ง
เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือซึ่งกระทรวง ทบวง กรม จังหวัด
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือองค์การของรัฐเป็ นเจ้าของ ผู้
ครอบครองหรือผูด้ แู ลรักษาซึ่งจะนามาใช้เป็ นทางหลวง หรือใช้เพื่อ
ประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่น
(9) แผนที่ แผนผัง หรือรายละเอียดอื่นๆ ตามความจาเป็ น
ผูม้ ีอานาจหน้าที่ในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
1. ในท้องที่ที่มีกฎกระทรวงผังเมืองรวม
- เจ้าพนักงานท้องถิ่น
- กรมการผังเมือง ในกรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นร้องขอ
2. ในท้องที่ที่ไม่มีกฎกระทรวงผังเมืองรวมรัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงมหาดไทยสัง่ ให้
- กรมการผังเมืองเป็ นผูว้ าง
- เจ้าพนักงานท้องถิ่นเป็ นผูว้ าง
มาตรา 29 เมื่อได้มีกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวม ณ
ท้องที่ใดแล้ว ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่น้ันเห็นสมควรจะ
จัดให้มีการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะขึ้ น หรือขอ ให้สานักผัง
เมืองเป็ นผูว้ างและจัดทาผังเมืองเฉพาะก็ได้ ผังเมืองเฉพาะจะต้อง
สอดคล้องกับผังเมืองรวม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผังเมืองเฉพาะ
1.
2.
3.
4.
เกี่ยวข้องในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
เกี่ยวข้องในการจัดทาข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เกี่ยวข้องในการควบคุมให้เป็ นไปตามผังเมืองเฉพาะ
เกี่ยวข้องในการพัฒนาให้เป็ นไปตามผังเมืองเฉพาะ
ขั้นตอนการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
พรฎ.
วางและจัดทา
ประกาศใช้บงั คับ
ขั้นตอนการตราพรฎ.กาหนดเขตทีด่ นิ ที่จะทาการสารวจฯ
1.สารวจและจัดทาแผนที่ทา้ ย พรฎ.
2.จัดทาร่าง พรฎ.
3.เสนอกระทรวงพิจารณา
4. เสนอ ครม.รับหลักการ
5. สคก.ตรวจพิจารณา
6.พิมพ์แผนที่ทา้ ย
7.ครม. เพื่อทราบ
8. ทูลเกล้าลงพระปรมาภิไธย
9. ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
ขั้นตอนการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ
1. เสนอหลักการที่จะวางและจัดทาเมืองเฉพาะให้กรมโยธาธิการ
และผังเมืองเห็นชอบ (ม.29 วรรคสอง)
2. ปิ ดประกาศโฆษณา (ม.33, ม.30 และกฎกระทรวงฉบับที่ 315
(พ.ศ.2540)
3. แจ้งให้เสนอความคิดเห็นและความประสงค์ (ม.32 วรรคหนึ่ ง)
4. เรียกมาชี้ แจงเพิ่มเติม (ม.32 วรรคสอง)
5.ประชุมรับฟั งข้อคิดเห็นประชาชนไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง (ม.33)
ขั้นตอนการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ต่ อ)
6. รับหนังสือแสดงข้อคิดเห็นและความประสงค์ (ม.35)
7.พิจารณาความประสงค์ (ม.35)
8. ทาสัญญา (ม.36)
9. วางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (ม.37)
10. ส่งให้กรมการผังเมืองพิจารณา (ม.38)
11. เสนอคณะกรรมการผังเมืองให้ความเห็นชอบ
(ม.38 และ ม.40)
ขั้นตอนประกาศใช้ บังคับ
1.จัดทาร่าง พรบ.ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ
2.เสนอร่าง พรบ.ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะให้กระทรวงมหาดไทย
พิจารณา (25 ฃุด)
3.เสนอร่าง พรบ.ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะให้ ครม.รับหลักการ
(140 ชุด)
4. ครม.รับหลักการส่งให้ สคก.ตรวจพิจารณา
5. สคก.ตรวจพิจารณา
6. สคก.ให้ความเห็นชอบ
ขั้นตอนประกาศใช้ บังคับ (ต่ อ)
7. จัดทาร่าง พรบ.ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะเสนอ ครม.เพื่อ
พิจารณา (100 ชุด)
8. ครม.พิจารณาให้ความเห็นชอบ
9. เสนอคณะกรรมการประสานงานรัฐสภา
10. เสนอรัฐสภา
11. ทูลเกล้าฯ ลงพระปรมาภิไธย
12. ประกาศราชกิจจานุ เบกษา
การบังคับใช้ (Enforcement)
ผังเมืองเฉพาะ (Specific plan)
ตราเป็ นพระราชบัญญัติ (By Act)
บทกาหนดโทษ (Penalties)
1. ฝ่ าฝื น (Violates)
2. ไม่ปฏิบตั ิตาม (Fails to comply)
มีโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน (Liable to imprisonment for a term not
exceeding six months)หรือปรับไม่เกินหนึ่ งหมื่นบาท (Fine not exceeding
ten thousand Bath)หรือทั้งจาทั้งปรับ (to both)
การใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ
มาตรา 41 ผังเมืองเฉพาะจะใช้ในท้องที่ใดให้ตราเป็ น
พระราชบัญญัติ ถ้าพระราชบัญญัติ ถ้าพระราชบัญญัติให้ใช้บงั คับผัง
เมืองเฉพาะมิได้บญ
ั ญัติไว้เป็ นอย่างอื่น ให้พระราชบัญญัติดงั กล่าวใช้
บังคับได้ไม่เกินห้าปี
เมื่อระยะเวลาตามวรรคหนึ่ งได้สิ้นสุดลง ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่น
หรือสานักผังเมืองเห็นสมควรขยายระยะเวลาการใช้บงั คับ
พระราชบัญญัติ ให้เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการผังเมืองเพื่อ
พิจารณาดาเนิ นการตราเป็ นพระราชบัญญัติขยายเวลาการใช้บงั คับผัง
เมืองเฉพาะต่อไป พระราชบัญญัติขยายเวลาจะกาหนดการแก้ไข
ปรับปรุงผังเมืองเฉพาะเสียใหม่เหมาะสมกับสภาพการณ์และ
สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปก็ได้
ผลของการประกาศใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ
มาตรา 46 บรรดาข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติซึ่งออกโดยอาศัย
อานาจตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคารกฎหมายว่า
ด้วยการสาธารณสุข กฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความ
เป็ นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสุสาน
และฌาปนสถานหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือ
อสังหาริมทรัพย์อื่นที่ใช้บงั คับอยูใ่ นเขตท้องที่ที่ใช้บงั คับพระราชบัญญัติ
ให้ใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะในส่วนที่มีบญ
ั ญัติไว้แล้วในกฎกระทรวงที่
ออกตามมาตรา 45 ให้ใช้กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 45 แทน
ผลของการประกาศใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ (ต่อ)
มาตรา 48 ในท้องที่ที่ใช้บงั คับพระราชบัญญัติให้ใช้บงั คับ
ผังเมืองเฉพาะ ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ที่ดินหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง
อสังหาริมทรัพย์ให้ผิดไปจากที่ได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติให้ใช้
บังคับผังเมืองเฉพาะหรือในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 42
หรือ มาตรา 45
หมวด 7
คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 50 ในท้องที่ที่ใช้บงั คับพระราชบัญญัติให้ใช้บงั คับผังเมือง
เฉพาะให้มีคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นคณะหนึ่ ง
ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
(1) ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครเป็ น
ประธานกรรมการ ผูแ้ ทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแ้ ทนกรมธนารักษ์ ผูแ้ ทน
กรมอัยการ ผูแ้ ทนการเคหะแห่งชาติ ผูแ้ ทนการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย ผูแ้ ทนสานักผังเมือง เจ้าพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
หมวด 7
คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น
หัวหน้ากองผังเมืองกรุงเทพมหานคร ผูท้ รงคุณวุฒิทางการผังเมือง
หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผังเมืองไม่เกินสี่คน
และผูแ้ ทนสถาบัน องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง
กับการผังเมืองไม่เกินสี่คน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็ นกรรมการ
(2) ในเขตจังหวัดอื่นให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นประธานกรรมการ
โยธาธิการจังหวัด สรรพากรจังหวัด แพทย์ใหญ่จงั หวัด อัยการจังหวัด
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ผูท้ รงคุณวุฒิทางการผังเมืองหรือสาขาวิชาการ
ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผังเมืองไม่เกินสามคน และผูแ้ ทนสถาบันองค์การ
อิสระและบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองไม่เกินสามคน
ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็ นกรรมการ
หมวด 7
คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น
ในกรณีที่ตอ้ งดาเนิ นการในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาลใดให้
นายกเทศมนตรีหรือประธานกรรมการสุขาภิบาลแห่งท้องถิ่นนั้นเป็ น
กรรมการร่วมด้วยและในกรณีที่ตอ้ งดาเนิ นการในท้องถิ่นนอกเขต
เทศบาลหรือสุขาภิบาล ให้นายอาเภอแห่งท้องถิ่นนั้นเป็ นกรรมการ
ร่วมด้วย
กรรมการซึ่งแต่งตั้งจากผูแ้ ทนสถาบัน องค์การอิสระและบุคคล
อื่น จะต้องไม่เป็ นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตาแหน่ ง
หรือเงินเดือนประจา
ให้ประธานคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้ง
กรรมการหรือบุคคลใด เป็ นเลขานุ การคณะกรรมการ