กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

Download Report

Transcript กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

โครงการอบรมแนวทางการปฏิบัตติ าม
พ.ร.บ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
สาหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
โดย
สานักกากับและอนุรักษ์ พลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
1
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
วันที่ 2 เมษายน 2535
มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2535
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
2
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 4 ธันวาคม 2550
 มีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 1 มิถุนายน 2551
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
3
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย
1. กากับดูแล ส่ งเสริม และสนับสนุนให้ผใู้ ช้พลังงานตามกฎหมายมีการผลิต
และใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูง
และวัสดุที่ใช้ในการอนุรกั ษ์พลังงานขึน้ ในประเทศไทย และมีการใช้อย่าง
แพร่หลาย
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างเป็ นรูปธรรม โดย
จัดตัง้ “กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน”
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
4
โครงสร้ างของกฎหมายฯ พ.ศ. 2535
หมวด
มาตรา
เนือ้ หา
1
2
1–6
7 – 16
17 – 22
เรื่ องทัว่ ไป คำนิยำมศัพท์
การอนุรักษ์ พลังงานในโรงงาน
การอนุรักษ์ พลังงานในอาคาร
3
4
5
6
23
24 – 39
40 – 41
42 – 46
กำรอนุรักษ์พลังงำนในเครื่ องจักร อุปกรณ์ และวัสดุ
กองทุนเพื่อส่ งเสริ มกำรอนุรักษ์พลังงำน
มำตรกำรส่ งเสริ มและช่วยเหลือ
ค่ าธรรมเนียมพิเศษ
7
8
9
47 – 49
50 – 52
53 – 61
พนักงำนเจ้ำหน้ำที่
กำรอุทธรณ์
บทกาหนดโทษ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
5
กลุ่มเป้ าหมายตามพระราชบัญญัตฯิ
กลุ่มเป้าหมายที่รัฐเข้ าไปกากับ ดูแล ส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกิด
การอนุรักษ์ พลังงานตามกฎหมาย ประกอบด้ วย
1.กลุ่มโรงงาน
2.กลุ่มอาคาร
3.กลุ่มผูผ้ ลิต ผูจ้ าหน่ ายเครือ่ งจักร อุปกรณ์
ประสิทธิภาพสูงและวัสดุที่ใช้ในการอนุรกั ษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
6
กลุ่มเป้ าหมายตามกฎหมาย (ต่ อ)
กลุ่มโรงงาน/อาคารจะเน้ นไปทีโ่ รงงาน/อาคารที่มี
 การใช้ พลังงานปริมาณมาก
 มีศักยภาพในการประหยัดพลังงาน
 มีความพร้ อมในเรื่องบุคลากร
โดยการประกาศเป็ นพระราชกฤษฎีกากาหนดเป็ นโรงงาน
ควบคุม และอาคารควบคุม
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
7
ลักษณะการเป็ นโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม
ต้ องมีองค์ ประกอบ 2 ส่ วน ครบถ้ วน
1. เป็ นอาคารหรือโรงงานหลังเดียวหรือหลายหลังภายใต้ บ้านเลขที่
เดียวกัน
2. การอนุ มั ติ ติด ตั้ง เครื่ อ งวัดไฟฟ้ า หรื อ หม้ อ แปลงรวมกัน ตาม
ขนาดที่พระราชกฤษฎีกากาหนด หรื อใช้ พลังงานไฟฟ้า ความ
ร้ อนจากไอนา้ หรือพลังงานสิ้นเปลืองรวมกันในรอบปี ที่ผ่านมา
คิดเทียบเท่ าพลังงานไฟฟ้าในปริ มาณตามที่พระราชกฤษฎี กา
กาหนด
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
8
พระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540
(มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2540)
มาตรา 3 พ้น 120 วัน นับแต่ วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่
17 กรกฎาคม 2540) ใช้ บังคับกับโรงงานที่มขี นาด
เครื่องวัด : 10,000 kW ขึน้ ไป
หม้ อแปลง : 11,750 kVA ขึน้ ไป
การใช้ รวม : 200 ล้าน MJ/ปี ขึน้ ไป
มาตรา 4 มีผลในวันที่ 17 กรกฎาคม 2541
เครื่องวัด : 3,000 - 10,000 kW
หม้ อแปลง : 3,530 - 11,750 kVA
การใช้ รวม : 60 - 200 ล้าน MJ/ปี
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
9
พระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540 (ต่ อ)
(มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2540)
มาตรา 5 มีผลในวันที่ 17 กรกฎาคม 2542
เครื่องวัด : 2,000 - 3,000 kW
หม้ อแปลง : 2,350 - 3,530 kVA
การใช้ รวม : 40 - 60 ล้าน MJ/ปี
มาตรา 6 มีผลในวันที่ 17 กรกฎาคม 2543
เครื่องวัด : 1,000 - 2,000 kW
หม้ อแปลง : 1,175 - 2,350 kVA
การใช้ รวม : 20 - 40 ล้าน MJ/ปี
มาตรา 7 กาหนดวิธีการคานวณปริมาณการใช้ พลังงานรวมเทียบเท่ าพลังงานไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
10
วิธีการคานวณปริมาณการใช้ พลังงานรวม
ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
• ปริมาณการใช้ พลังงานมีหน่ วยเป็ น เมกะจูล
• หลักเกณฑ์ การคานวณปริ มาณพลังงานขึน้ อยู่กับประเภทพลังงานที่ใช้
(ไฟฟ้า / ความร้ อนจากไอนา้ / พลังงานสิ้นเปลืองอืน่ ๆ) โดยมีเกณฑ์ การ
คานวณ ดังนี้
กรณีไฟฟ้า
ปริมาณการใช้ ไฟฟ้าเป็ นหน่ วยกิโลวัตต์ ชั่วโมงแล้วคูณด้ วย 3.60
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
11
วิธีการคานวณปริมาณการใช้ พลังงานรวม
ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม (ต่ อ)
กรณีความร้ อนจากไอนา้
ให้ คานวณปริมาณความร้ อนจากไอนา้ เป็ นพลังงานไฟฟ้าเทียบเท่ าโดยใช้ สูตร
Es = (hs– hw) * S * eff
Es
ปริมาณความร้ อนจากไอนา้ เป็ นพลังงานไฟฟ้ าเทียบเท่ า หน่ วยเป็ นเมกะจูล/ปี
hs
ค่ า Enthalpy ของไอนา้ ที่ใช้ หน่ วยเป็ นเมกะจูล/ตัน จากตารางไอนา้ (steam table) ทั่วไป
hw
ค่ า Enthalpy ของนา้ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และความดันหนึ่งบรรยากาศ ในที่นีใ้ ห้ ใช้ ค่าเท่ ากับ
113 เมกะจูล/ตัน
S
ปริมาณไอนา้ ที่ใช้ หน่ วยเป็ นตัน/ปี ดูจากเครื่องวัดปริมาณไอนา้
eff
ประสิ ทธิภาพการเปลีย่ นพลังงานความร้ อนเป็ นพลังงานไฟฟ้าเทียบเท่ า ในที่นีใ้ ห้ ใช้ ค่า 0.45
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
12
วิธีการคานวณปริมาณการใช้ พลังงานรวม
ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม (ต่ อ)
กรณีพลังงานสิ้นเปลืองอืน่ ๆ
พลังงานสิ้นเปลืองตามกฎหมายอนุรักษ์ พลังงานหมายความรวมถึงพลังงานที่
ได้ จากถ่ านหิน หินนา้ มัน ทรายนา้ มัน นา้ มันดิบ นา้ มันเชื้อเพลิง ก๊าซ
ธรรมชาติ และนิวเคลียร์ เป็ นต้ น
ให้ คานวณปริมาณความร้ อนจากพลังงานสิ้นเปลืองอืน่ เป็ นพลังงานไฟฟ้ าเทียบเท่ าโดยใช้ สูตร
Ef = F * HHV * eff
Ef
ปริมาณความร้ อนจากพลังงานสิ้นเปลืองอื่นเป็ นปริมาณพลังงานไฟฟ้ าเทียบเท่ า หน่ วยเป็ นเมกะจูล/ปี
F
ปริมาณการใช้ พลังงานสิ้นเปลือง หน่ วยเป็ นหน่ วยนา้ หนัก หรือปริมาตรต่ อปี
HHV
ค่ าความร้ อนสู ง (higher heating value) ของพลังงานสิ้นเปลืองที่ใช้ หน่ วย เป็ นเมกะจูล/หน่ วยนา้ หนัก
หรือปริมาตร
ในกรณีไม่ มีความร้ อนสู งจากผู้จาหน่ ายให้ ใช้ ค่าความร้ อนเฉลีย่ ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์
พลังงานกาหนด
eff
ประสิ ทธิภาพการเปลีย่ นพลังงานความร้ อนเป็ นพลังงานไฟฟ้าเทียบเท่ า ในที่นีใ้ ห้ ใช้ ค่า 0.45
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
13
การขอผ่ อนผันการปฏิบัตติ ามกฎหมาย
1. กรณีโรงงานควบคุม หรื อ อาคารควบคุม มีการใช้ พลังงานต่ากว่ า
ปริมาณที่พระราชกฤษฎีกากาหนด (น้ อยกว่ า 20 ล้านเมกะจูล / ปี
2. ให้ ยื่นคาขอผ่ อนผัน พร้ อมรายละเอียดและเหตุผลต่ ออธิ บดีกรม
พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน
3. สิ ทธิการผ่ อนผันได้ ไม่ เกิน 1 ปี
4. หากแจ้ งรายละเอียดหรื อเหตุผลในการใช้ พลังงานต่ากว่ าปริ มาณที่
ก าหนดในพระราชกฤษฎี ก า เป็ นเท็ จ เจ้ า ของโรงงาน / อาคาร
ควบคุม ต้ องโทษจาคุกไม่ เกิน 3 เดือน หรื อ ปรั บไม่ เกิน 150,000
บาท หรือ ทั้งจาและปรับ (มาตรา 53)
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
14
จานวนโรงงานควบคุม (ข้ อมูล กุมภาพันธ์ 2552)
โรงงานควบคุมทั้งหมด 3474 แห่ ง
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
การอนุรักษ์ พลังงานในโรงงาน (มาตรา 7)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การปรับปรุงประสิ ทธิภาพการเผาไหม้
การป้องกันการสู ญเสี ยพลังงาน
การนาพลังงานทีเ่ หลือจากการใช้ แล้ วกลับมาใช้ ใหม่
การเปลีย่ นไปใช้ พลังงานอีกประเภทหนึ่ง
การปรับปรุงการใช้ ไฟฟ้ า (เพิม่ PF, ลด Peak)
การใช้ เครื่องจักรประสิ ทธิภาพสู ง
วิธีการอนุรักษ์ พลังงานอืน่ ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศกาหนด
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
16
เหตุผลในการปรับปรุงกฎหมาย
1. พ.ร.บ. (พ.ศ. 2535) ประกาศใช้มากกว่า 15 ปี
2. บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม
และการใช้พลังงานในปัจจุบนั รวมถึงขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ย่งุ ยาก
3. ต้องการกากับและส่งเสริมให้เกิดการอนุรกั ษ์พลังงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
4. ปัจจุบนั วิธีการอนุรกั ษ์พลังงานได้เปลี่ยนมาใช้รปู แบบของ
การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมมากขึน้
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
ประเด็นหลักของการปรับปรุง
1. ปรับลดขั้นตอนในการออกกฎระเบียบ ข้ อบังคับ
2. กาหนดให้ อาคารขนาดใหญ่ ที่จะก่อสร้ างหรือดัดแปลงต้ อง
ออกแบบให้ อนุรักษ์ พลังงาน
3. นาวิธีการจัดการพลังงานทีเ่ ป็ นมาตรฐานมาใช้ เป็ นพืน้ ฐานการ
อนุรักษ์ พลังงาน
4. กาหนดให้ มีบุคลากรทาหน้ าทีต่ รวจและให้ การรับรองการจัด
การพลังงานทีโ่ รงงาน / อาคารควบคุมดาเนินการ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
การเปลีย่ นแปลงการปฏิบัติตามกฎหมาย
พ.ร.บ. เดิม
พ.ร.บ. ใหม่
หน้ าที่เจ้ าของโรงงาน /อาคารควบคุม (ม.11, 22)
หน้ าที่เจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุม (ม.9,21)
1. จัดให้ มีผ้ ูรับผิดชอบด้ านพลังงาน (ผชร. / ผชอ.) โดย  เหมือนเดิม
คุณสมบัติ หน้ าที่ ผชร. / ผชอ. กาหนดไว้ตาม ม. 13,  ไม่ กาหนดรายละเอียดคุณสมบัติ หน้ าที่ในพ.ร.บ.
ม. 14
แต่ ให้ ออกเป็ นกฎกระทรวง
 จานวน ผชร. / ผชอ. แบ่ งตามขนาดมิเตอร์ / หม้ อ
แปลง
2. การบันทึก การส่ งข้ อมูลการผลิต / การใช้ พลังงาน
และการอนุรักษ์ พลังงาน (บพร.1, 2 / บพอ. 1, 2)
ไม่ กาหนดในพ.ร.บ. แต่ ให้ เป็ นส่ วนหนึ่งใน
3. การกาหนดเป้ าหมายและแผนอนุรักษ์ พลังงาน
การจัดการพลังงานตามกฎกระทรวง
4. การตรวจสอบ วิเคราะห์ การปฏิบัติตามเป้ าหมายและ
แผน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
การเปลีย่ นแปลงการปฏิบัติตามกฎหมาย (ต่ อ)
กฎกระทรวงเดิม
กฎกระทรวงใหม่
1. การบันทึก การส่ งข้ อมูลการผลิต / การใช้ พลังงาน และ
การอนุรักษ์ พลังงาน (บพร.1, 2 / บพอ. 1, 2)
 ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
 เป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการพลังงาน
2. การกาหนดเป้าหมายและแผนฯ
 ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
 เป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการพลังงาน
3. มาตรฐานการอนุรักษ์ พลังงานในอาคาร (บังคับใช้ กบั
อาคารเก่า)
 ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
 ปรับปรุงมาตรฐานใหม่ และบังคับกับอาคารทีจ่ ะ
ก่อสร้ างใหม่ ขนาดพืน้ ทีต่ ้งั แต่ 2,000 ตารางเมตร
ออกกฎกระทรวงใหม่ 5 ฉบับ
• การจัดการพลังงาน
• ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
• มาตรฐานการออกแบบอาคารเพือ่ การอนุรักษ์
พลังงาน
• ผู้ตรวจสอบพลังงาน
• ค่ าประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในเครื่องจักร
อุปกรณ์ เพือ่ การอนุรักษ์ พลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
โครงสร้างกฎหมายใหม่
พระราชบัญญัติ
การส่งเสริมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
พ.ศ. 2535
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 3 เม.ย. 2535)
พระราชบัญญัติ
การส่งเสริมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 1 มิ.ย. 2551)
พระราชกฤษฎีกากาหนดอาคารควบคุม
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 12 ธ.ค. 2538)
พระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 17 ก.ค. 2540)
กฎกระทรวง
ผูร้ บั ผิดชอบพลังงาน
การจัดการพลังงาน
การออกแบบอาคาร
ผูต้ รวจสอบพลังงาน
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์
กาหนดวัสดุเพื่อการอนุ รกั ษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
21
ขั้นตอนกำรดำเนินกำรตำม พรบ. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550
เจ้ าของโรงงานควบคุม
ผชร.
กฎกระทรวง
กาหนดผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
ตรวจสอบและรับรองการ
จัดการพลังงาน
ส่ งรายงานการจัดการพลังงานภายใน
มี.ค. ของทุกปี
การจัดการพลังงาน
กฎกระทรวง
มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ
วิธีการจัดการพลังงาน
ผู้ตรวจสอบพลังงาน
กฎกระทรวง
กาหนดคุณสมบัติ
ผู้ตรวจสอบ
พพ.
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
แจ้ งผล
22
หน้ าทีข่ องเจ้ าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21)
มีหน้ าที่ดงั นี้
 จัดให้ มีผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานประจำโรงงำน / อำคำรควบคุม
แต่ละแห่ง โดยมีจำนวน คุณสมบัติ และหน้ำที่เป็ นไปตำมที่
กำหนดในกฎกระทรวง
 จัดให้ มีการจัดการพลังงานในโรงงำน / อำคำรควบคุม ตำม
มำตรฐำน หลักเกณฑ์ และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
23
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
ข้ อกาหนด
1. เจ้ าของโรงงาน/อาคารควบคุมต้ องจัดให้ มผี ู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
ประจาทีโ่ รงงาน/อาคารควบคุม แต่ ละแห่ ง (ผชอ. / ผชร.)
2. คุณสมบัติ / จานวน ผชร. / ผชอ. เป็ นไปตามขนาดเครื่องวัดไฟฟ้ า /
หม้ อแปลงไฟฟ้าของโรงงาน/อาคารควบคุมทีร่ ับอนุมตั ิ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
24
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ ทันทีเมื่อประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบัน รมว. ลงนามเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 และประกาศในราช
กิจจานุเบกษาในวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 โดยมีผลใช้ บังคับตั้งแต่ วนั
ประกาศเป็ นต้ นไป
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
25
จานวนผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
โรงงานควบคุม / อาคารควบคุม
อนุมตั หิ ม้ อแปลง
< 3,530 kVA
 3,530 kVA
อนุมตั เิ ครื่องวัดไฟฟ้า
< 3,000 kW
 3000 kW
ปริมาณการใช้ พลังงาน
< 60 ล้าน MJ/y
 60 ล้าน MJ/y
อย่างน้อย 1 คน
ไม่นอ้ ยกว่า 2 คน
จานวนผู้รับผิดชอบ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
26
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน (ต่ อ)
คุณสมบัตอิ ย่ างหนึ่งอย่ างใดของ ผชร. / ผชอ.
1.
2.
3.
4.
5.
จบ ปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานสามัญ
สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานอาวุโส
สอบผ่ านตามเกณฑ์ ที่กาหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
27
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
จานวน ผชร. / ผชอ.
อาคาร / โรงงานควบคุม
 3,000 kW
3,530 kVA
 60 ล้าน MJ/ปี
 3,000 kW
3,530 kVA
 60 ล้าน MJ/ปี
จานวนอย่ างน้ อย 1 คน
จานวนอย่ างน้ อย 2 คน
คุณสมบัติ
คุณสมบัติ
1. จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
2. จบปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
3. สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานสามัญ (อาคาร / โรงงาน)
4. สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานอาวุโส
5. สอบผ่านตามเกณฑ์ ทกี่ าหนด
คนที่ 1
มีคุณสมบัติตามข้ อ 4 หรือ 5 เท่านั้น
คนที่ 2
มีคุณสมบัติอย่ างใดอย่ างหนึ่งตาม
ข้ อ 1, 2, 3, 4, หรือ 5
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
28
กฎกระทรวงผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ)
การแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน กรณี ที่ 1
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
เป็ นโรงงาน / อาคารควบคุม
ก่อนกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
คนที่ 1
2. กรณีไม่ มี ผชร. / ผชอ. อยู่เดิม ให้ แต่ งตั้ง
ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่
กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับใช้ และแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
2. กรณีไม่ มี ผชร. / ผชอ. อยู่เดิม ให้ แต่ งตั้ง
ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่
2. กรณีแต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ
กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับใช้ และแจ้ งให้
4 หรือ 5 ไม่ ได้ ภายใน 180 วัน สามารถขอ
อธิบดีทราบทันที
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรขยายเวลาแต่
กั ษ์พลังงาน งตั้งได้ ไม่ เกิน 2 ปี นับตั้งแต่
คนที่ 2
คนที่ 1
1. ผชร. / ผชอ. คนเดิมซึ่งมีคุณสมบัตติ าม
ข้ อ 1, 2 หรือ 3 ให้ ปฏิบัติหน้ าทีเ่ ดิมต่ อไป
โดยแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
1. ผชร. / ผชอ. คนเดิมซึ่งมีคุณสมบัตติ ามข้ อ
1, 2 หรือ 3 ให้ ปฏิบัตหิ น้ าที่เดิมต่ อไป โดย
แจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
กฎกระทรวงผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ)
การแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน กรณี ที่ 2
เป็ นโรงงาน / อาคารควบคุม
หลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้และยังไม่พ้น 2 ปี
นับตัง้ แต่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
คนที่ 1
1.
แต่ งตั้งผชร./ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน/
อาคารควบคุม และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
คนที่ 2
คนที่ 1
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัติข้อ 1,
2, 3, 4 หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่
กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับใช้ และแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
2. กรณีแต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัติข้อ
4 หรือ 5 ไม่ ได้ ภายใน 180 วัน สามารถขอ
ขยายเวลาแต่ งตั้งได้ ไม่ เกิน 2 ปี นับตั้งแต่
กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
กฎกระทรวงผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ)
การแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน กรณี ที่ 3
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
เป็ นโรงงาน / อาคารควบคุม
หลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
1.
คนที่ 1
1.
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3,
4 หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน/
อาคารควบคุมและแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
คนที่ 2
คนที่ 1
 3,530 kVA
 3,000 kW
 60 ล้านเมกะจูลต่อปี
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1,
2, 3, 4 หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่
เป็ นโรงงาน/อาคารควบคุมและแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
2. แต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน
/ อาคารควบคุม และแจ้ งให้ อธิบดีทราบ
ทันที
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
หน้ าที่ของ ผชร. / ผชอ.
1.
2.
3.
4.
บารุงรักษาและตรวจสอบประสิ ทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์
ปรับปรุงวิธีการใช้ พลังงานให้ อนุรักษ์ พลังงาน
ช่ วยเจ้ าของอาคาร / โรงงานควบคุมดาเนินการจัดการพลังงาน
ช่ วยเจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุมปฏิบัตติ ามคาสั่ งของอธิบดี (กรณี
ไม่ ปฏิบัติตามคาสั่ ง มีโทษปรับไม่ เกิน 50,000 บาท (มาตรา 54)
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
32
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
การแจ้ งพ้นหน้ าที่ของ ผชร./ผชอ.
1.
2.
กรณีที่ 1
กรณี ผชร./ผชอ. พ้นหน้ำที่ มีผลให้จำนวน ผชร./ผชอ.
ไม่ครบจำนวนที่ กฎกระทรวงกำหนด ให้มีหนังสื อแจ้ง
อธิบดีทรำบทันที
แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. ภำยใน 90 วัน นับตั้งแต่วนั พ้นหน้ำที่
และแจ้งให้อธิบดีทรำบทันที
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
33
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
การแจ้ งพ้นหน้ าที่ของ ผชร./ผชอ. กรณีที่ 2
1. กรณี ผชร./ผชอ. ซึ่ งมีคุณสมบัติตำมข้อ 4 หรื อ ข้อ 5 พ้ นหน้ าที่ภายใน 2
ปี นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และจำนวน ผชร./ผชอ. ไม่ครบ
จำนวนที่กฎกระทรวงกำหนด ให้มีหนังสื อแจ้งอธิบดีทรำบทันที
2. แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. ตำมจำนวนและคุณสมบัติภำยใน 180 วัน นับตั้งแต่
วันพ้นหน้ำที่ และแจ้งให้อธิบดีทรำบทันที
3. กรณี ไม่ สำมำรถแต่งตั้ง ผชร./ผชอ.ได้ภำยในเวลำที่ กำหนด และต้อง
ไม่ ใ ช่ ค วำมผิ ด ของเจ้ำ ของโรงงำน/อำคำรควบคุ ม สำมำรถขอขยำย
ระยะเวลำแต่งตั้งได้ไม่เกิน 2 ปี นับตั้งแต่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และ
แจ้งให้อธิบดีทรำบทันที
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
34
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
วิธีการแต่ งตั้งและแจ้ งแต่ งตั้งผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
1. การแต่งตัง้ ผชร./ผชอ. ให้ใช้แบบแต่งตัง้ ตามทีก่ รมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ กาหนด
• แบบ บพช. 1 (แบบแต่งตัง้ )
• แบบ บพช. 2 (แบบแสดงผลงานของโรงงาน/อาคารควบคุม)
• แบบ บพช. 3 (แบบแสดงผลงานของโรงงาน/อาคาร)
2. การแจ้งแต่งตัง้ ผชร./ผชอ.
• มีหนังสือนาส่งถึงอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ พร้อมแนบแบบที่กาหนด
โดยไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ
• นาส่ง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน
17 ถนนพระรามที่ 1 แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน
กรุงเทพฯ 10330
• นาส่งได้ดว้ ยตนเองที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
35
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
ข้ อกาหนดที่เจ้ าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมต้ องดาเนินการ
1. พัฒนาและดาเนินกำรจัดกำรพลังงำน
2. จัดทารายงานกำรจัดกำรพลังงำน
3. จัดให้มีกำรตรวจสอบและรับรองกำรจัดกำรพลังงำน โดยผู้
ตรวจสอบพลังงำนที่ข้ ึนทะเบียนกับกรมพัฒนำพลังงำนทดแทนฯ
4. ส่ งผลการตรวจสอบและรับรองกำรจัดกำรพลังงำนให้กรมพัฒนำ
พลังงำนทดแทนฯ ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
36
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน (ต่ อ)
วิธีการจัดการพลังงาน ประกอบด้ วย 8 ขั้นตอน ดังนี้
1. การจัดให้มีคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน
2. การประเมินสถานการจัดการเบื้องต้น
8. การทบทวน วิเคราะห์
แก้ไขระบบ
3. การกาหนดนโยบาย
อนุ รกั ษ์พลังงานและ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4. การประเมินศักยภาพ
การอนุ รกั ษ์พลังงาน
7. ตรวจติดตาม ประเมิน
ระบบการจัดการพลังงาน
6. ดาเนิ นการตามแผนฯ
และตรวจสอบวิเคราะห์
การปฏิบตั ิตามเป้ าหมาย
และแผน
5. กาหนดเป้ าหมาย
และแผนอนุ รกั ษ์พลังงาน
รวมทัง้ แผนฝึ กอบรม
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
37
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน (ต่ อ)
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ เมื่อพ้นกาหนด 120 วัน นับจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบนั กฎกระทรวงดังกล่ าวประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 23
กรกฎาคม 2552 มีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2552
3. หากมีระยะเวลาการดาเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุม/อาคาร
ควบคุมในรอบปี จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม น้ อยกว่ า 180 วัน ให้ ส่งรายงาน
ผลการตรวจสอบและรับรองในปี ถัดไป (ส่ งฉบับแรกภายใน มีนาคม
2554)
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
38
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
หน้ าทีผ่ ู้ตรวจสอบพลังงาน
• ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้ กบั โรงงาน / อาคารควบคุม
คุณสมบัตผิ ู้ตรวจสอบพลังงาน
1. นิตบิ ุคคลไทย มีวตั ถุประสงค์ ประกอบธุรกิจหรือให้ บริการ
เกีย่ วกับการอนุรักษ์ พลังงาน หรือการแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
จากการใช้ และการผลิตพลังงาน
2. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3. หน่ วยงานของรัฐที่มฐี านะเป็ นนิตบิ ุคคล
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
39
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่ อ)
คุณสมบัติ จานวนบุคลากรของผู้ตรวจสอบพลังงาน
1. ผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 1 คน
• จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน
• มีประสบการณ์ ด้านการอนุรักษ์ พลังงาน หรือด้ านการจัดการพลังงาน
อย่างน้ อย 5 ปี ผลงานด้ านอนุรักษ์ พลังงานอย่ างน้ อย 5 โครงการ
• ผ่ านหลักสู ตรวิธีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
2. ผู้ช่วยผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 2 คน
• จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน
• มีประสบการณ์ ด้านการอนุรักษ์ พลังงาน หรือด้ านการจัดการพลังงาน
อย่างน้ อย 3 ปี
3. ผู้ชานาญการต้ องเข้ าอบรมหลักสู ตรวิธีการตรวจสอบฯ ภายใน 2 ปี นับแต่
กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับ หรือนับจากวันทีเ่ ป็ นผู้ชานาญการ
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
40
กฎกระทรวงผูต้ รวจสอบพลังงาน (ต่อ)
เงือ่ นไข
1. ต้ องไม่ เป็ นผู้ชานาญการและผู้ช่วยให้ กบั ผู้ตรวจสอบพลังงานรายอืน่
2. ต้ องไม่ เป็ นบุคลากรประจาของโรงงาน / อาคารควบคุม ทีเ่ ข้ าไปดาเนินการ
ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
3. ผู้ชานาญการและผู้ช่วย สามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
ให้ กบั โรงงาน / อาคารควบคุม ไม่ เกิน 30 แห่ ง ในแต่ ละรอบของการ
ตรวจสอบ
4. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานแต่ ละแห่ ง ต้ องประกอบ ด้ วย
ผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 1 คน ผู้ช่วยอย่ างน้ อย 2 คน
5. ใบอนุญาตให้ เป็ นผู้ตรวจสอบพลังงานมีอายุ 3 ปี
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
41
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่ อ)
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ เมื่อพ้นกาหนด 120 วัน นับตั้งแต่ วนั
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบันอยู่ระหว่ างการพิจารณาของ สานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
บทกาหนดโทษ
1. เจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานไม่
ดาเนินการตามกฎกระทรวงการจัดการพลังงาน กฎกระทรวง
ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน ระวางโทษปรับไม่ เกิน 200,000 บาท
(มาตรา 55)
2. ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ อานวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ใน
การปฏิบัติหน้ าที่ ระวางโทษปรับไม่ เกิน 5,000 บาท (มาตรา 59)
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
43
ต้องการข้อมูลข่าวสาร
0 2223 0021-9
ต่ อ 1669 , 1411
[email protected]
หน่ วยลูกค้ า
สั มพันธ์
อาคาร 8 ชั้น 1
พพ.
โทรสาร
0 2226 3943
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
44
ตอบข้ อซักถาม
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
45
กองทุนเพือ่ ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
แหล่ งที่มาของเงินกองทุน
1.
2.
3.
4.
5.
เงินทีโ่ อนมาจากกองทุนนา้ มันเชื้อเพลิง (1,500 ล้านบาท)
เงินทีเ่ รียกเก็บจากผู้ผลิต ผู้จาหน่ าย ผู้นาเข้ านา้ มันเชื้อเพลิง
เงินค่ าธรรมเนียมพิเศษการใช้ ไฟฟ้า
เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็ นคราวๆ
เงินหรือทรัพย์ สินทีไ่ ด้ มาจากภาคเอกชนทั้งภายในและภายนอก
ประเทศ รัฐบาล/องค์ การระหว่ างประเทศ
6. เงินดอกผลทีเ่ กิดจากกองทุน
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
46
กองทุนเพือ่ ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน (ต่ อ)
วัตถุประสงค์
1. เป็ นเงินหมุนเวียน เงินช่ วยเหลือ หรือเงินอุดหนุน สาหรับการลงทุนเพือ่
อนุรักษ์ พลังงานของส่ วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน
2. เป็ นเงินช่ วยเหลือ หรือ เงินอุดหนุนแก่ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/
สถาบันการศึกษา/เอกชนในเรื่องต่ างๆ ได้ แก่
• โครงการอนุรักษ์ พลังงาน
• การศึกษา วิจัย
• การสาธิต
• ศึกษา ฝึ กอบรม ประชุ มฯ
• โฆษณาประชาสั มพันธ์
พระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
47