การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (2552-2561) โดย รองศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูป การศึกษา ก่อนปี 2542  วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้ องการ สร้ างคนที่มี “ความรู้ ” คู่ “คุณธรรม”  ประเทศไทยเคยมีความพยายามทีจ ่ ะปฏิรูป การศึกษาหลายครั้ง แต่ ความสาเร็จมีน้อย.

Download Report

Transcript การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (2552-2561) โดย รองศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูป การศึกษา ก่อนปี 2542  วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้ องการ สร้ างคนที่มี “ความรู้ ” คู่ “คุณธรรม”  ประเทศไทยเคยมีความพยายามทีจ ่ ะปฏิรูป การศึกษาหลายครั้ง แต่ ความสาเร็จมีน้อย.

การปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง (2552-2561)
โดย
รองศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรางศุ
เลขาธิการสภาการศึกษา
1
วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูป
การศึกษา ก่อนปี 2542
 วิกฤตเศรษฐกิจปี
2540 และกระแสเรียกร้ องการ
สร้ างคนที่มี “ความรู้ ” คู่ “คุณธรรม”
 ประเทศไทยเคยมีความพยายามทีจ
่ ะปฏิรูป
การศึกษาหลายครั้ง แต่ ความสาเร็จมีน้อย
2
จุดเริ่มต้ นของการปฏิรูปการศึกษาไทยในยุค 40’s
 กระแสการปฏิรูปการศึกษาของนานาชาติ
 ความเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีและผลกระทบต่ อ
การศึกษา
 รายงานการศึกษานานาชาติและการศึกษาไทยในเวทีโลก
( เช่ น TIMSS, โอลิมปิ กวิชาการ)
 การศึกษาไทยมีปัญหาคุณภาพตั้งแต่ ระดับอนุบาล ถึง
ปริญญาเอก
3
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
 มิติใหม่ ของการศึกษาไทย
: การศึกษาเป็ นสิ ทธิของ
ผู้เรียน

มีสาระบัญญัตใิ นรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยเรื่องการศึกษาของชาติ

นาไปสู่ การจัดทา “พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ”
และ “การปฏิรูปการศึกษา”
4
การปฏิรูปการศึกษา
มีท้งั สาเร็จและล้ มเหลว
5
ความสาเร็จมาก
 การขยายโอกาสทางการศึกษา12 ปี
และ 15 ปี
 การจัดการศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้พก
ิ าร
 การศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษาโดยครอบครัว โดย
สถานประกอบการ โดยสถาบันศาสนา ฯลฯ
 การเพิม
่ งบประมาณเพือ่ การศึกษา
 การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
6
ความสาเร็จปานกลาง
 การปฏิรูปการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
 การใช้ แหล่ งการเรียนรู้ ครู ภูมปิ ัญญาไทย
7
ความล้ มเหลว
 การผลิตและพัฒนาครู
ผู้บริหาร
 วิทยฐานะครู และผู้บริหาร กับ ผลการเรียน
ของผู้เรียนไม่ สัมพันธ์ กนั
 สื่ อและเทคโนโลยี
8
เรื่องที่ล้มเหลว แตกแยก และเสี ยเวลา
 การปฏิรูปโครงสร้ าง
9
ตัวชี้วดั บางรายการ
ผู้เรียนขาดโอกาสรับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
โดยเฉลีย่ ได้ เพียง 8.7 ปี
 ผลการประเมินภายนอกปัจจุบัน (ปี
2548-2551) ของ สมศ. พบว่ า

10
 ระดับปฐมวัย (จานวน 20,184 แห่ ง) มีร้อยละ 80.4
ได้ มาตรฐาน และร้ อยละ 19.6 ต้ องได้ รับการ
พัฒนา
 ระดับการศึกษาขั้นพืน
้ ฐาน (จานวน 22,425 แห่ ง)
มีร้อยละ 79.7 ได้ มาตรฐาน และร้ อยละ 20.3 ต้ อง
ได้ รับการพัฒนา
11
 ระดับอาชีวศึกษา (จานวน 549 แห่ ง) มีร้อยละ

89.6 ได้ มาตรฐาน และร้ อยละ 10.4 ต้ องได้ รับ
การพัฒนา
ระดับอุดมศึกษา (จานวน 154 แห่ ง) มีร้อยละ
94.8 ได้ มาตรฐาน และร้ อยละ 5.2 ต้ องได้ รับการ
พัฒนา
12
ตัวชี้วดั บางรายการ (ต่อ)

สั มฤทธิผลในวิชาหลัก (สั งคมศาสตร์
ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ )
เฉลีย่ ต่ากว่ าร้ อยละ 50
13
 ผลการจัดสอบ O-NET ม.6 ปี การศึกษา 2549-2550
สั งคมฯ
ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
2548
42.64
29.81
28.46
34.01
2549
37.94
32.37
29.56
34.88
2550
37.76
30.93
32.49
34.62
14
อุปสรรคของการปฏิรูปทีผ่ ่ านมา





การเมืองที่เปลีย่ นแปลงบ่ อย
ไม่ ได้ ให้ ความรู้ กบั ฝ่ ายการเมือง
ทาปฏิรูปหลายเรื่องเกินไป จึงมีพลังไม่ พอ
ขาดเจ้ าภาพและผู้นาทีเ่ ข้ มแข็ง
ไม่ มคี นทา มีแต่ คนพูด
15
นโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน
 ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ
 ส่ งเสริมบทบาทภาคเอกชน
 พัฒนาครู อาจารย์ บุคลากรทางการ
ศึกษา
 ให้ โอกาสศึกษาฟรี 15 ปี
16
นโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน (ต่อ)
 ยกระดับมาตรฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
 ปรับปรุ งระบบการกู้ยม
ื เพือ่ การศึกษา
 ส่ งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่
การศึกษา
 เร่ งรัดการลงทุนด้ านการศึกษาและเรียนรู้ อย่ าง
มีบูรณาการ
17
แนวความคิดหลักจากนายกรัฐมนตรี
จากการประชุมระดมสมองของ สมศ. 14 พ.ค. 2552
 หลักการทีส
่ าคัญในการปฏิรูปฯ
 การสร้ างโอกาสและการเข้ าถึงการศึกษา
 การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของสั งคม
 การสร้ างคุณภาพและเนือ้ หาในการศึกษา
18
ประเด็นที่ได้ มาจากภาพรวม
การระดมความคิดทั่วประเทศ
 ไม่ ควรปฏิรูปแบบ “ดาวกระจาย” แต่ ควรเน้ นประเด็นหลัก
เช่ น
 การจัดระบบการบริหารจัดการ
 การจัดระบบการเงิน
 การเน้ นคุณธรรมและความซื่อสั ตย์
 การสร้ างจิตสาธารณะ
 การจัดการความรู้ ขององค์ กร
19
ประเด็นทีไ่ ด้ มาจากภาพรวม
การระดมความคิดทัว่ ประเทศ

สร้ างพลังในการปฏิรูปจากภายนอกระบบ
การศึกษาด้ วย ไม่ เพียงจากภายในเท่ านั้น
20
ปฏิรูปการศึกษาเพือ่ อะไร?
 เพือ่ ได้ การศึกษาที่มีคุณภาพ
 เพือ่ ให้ ผ้ ูเรี ยนเป็ นจุดศู นย์ กลางในการเรียนรู้
ตลอดชีวติ
 เพือ่ สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมด้ วยการ
เรียนรู้
21
ปฏิรูปการศึกษาเพือ่ อะไร?
 วิสัยทัศน์ :“คนไทยได้ เรียนร้ ู
ตลอดชีวติ อย่ างมีคุณภาพ”
22
สรุป
จุดเน้ นของการปฏิรูป 3 เรื่อง
 คุณภาพ
 โอกาสทางการศึกษา เปิ ดโอกาสให้
คนไทยเข้ าถึงการเรียนรู้ อย่ างมีคุณภาพ
 การมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนของ
สั งคม
23
 คุณภาพ



คุณภาพครู
คุณภาพแหล่ งเรียนร้ ู/สถานศึกษา
คุณภาพการบริหารจัดการ
24
 โอกาสทางการศึกษา
เปิ ดโอกาสให้
คนไทยเข้ าถึงการเรียนรู้ อย่ างมีคุณภาพ
25
 การมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนของ
สั งคม (ครอบครัว ศาสนา องค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิน่ สถาบันอืน่ ๆ ที่
เกีย่ วข้ อง)
26
 กลไกขับเคลือ่ นการปฏิรูป
 ตั้งคณะกรรมการนโยบายการปฏิรูป
การศึกษา โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็ น
ประธาน
 ตั้งคณะกรรมการขับเคลือ
่ นการปฏิรูป
การศึกษา โดยมี รมว.ศธ.เป็ นประธาน
27
 มีกลไกขับเคลือ่ นการปฏิรูป (ต่ อ)
 จัดตั้งกลไกอืน
่ ๆ ตามความจาเป็ น เช่ น
สถาบันเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ETV
สถาบันคุรุศึกษา สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ
เป็ นต้ น
28
ขอบพระคุณ
29