กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

Download Report

Transcript กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

โครงการอบรมแนวทางการปฏิบัตติ าม
พ.ร.บ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
สาหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
1
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
วันที่ 2 เมษายน 2535
มีผลบังคับใช้ เมือ่ วันที่ 3 เมษายน 2535
2
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 4 ธันวาคม 2550
 มีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 1 มิถุนายน 2551
3
พระราชบัญญัตกิ ารส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย
1. กำกับดูแล ส่ งเสริม และสนับสนุนให้ผใู้ ช้พลังงำนตำมกฎหมำยมีกำรผลิต
และใช้พลังงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพและประหยัด
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกำรผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภำพสูง
และวัสดุที่ใช้ในกำรอนุรกั ษ์พลังงำนขึน้ ในประเทศไทย และมีกำรใช้อย่ำง
แพร่หลำย
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกำรอนุรกั ษ์พลังงำนอย่ำงเป็ นรูปธรรม โดย
จัดตัง้ “กองทุนเพื่อส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลังงำน”
4
กลุ่มเป้ าหมายตามพระราชบัญญัตฯิ
กลุ่มเป้าหมายทีร่ ัฐเข้ าไปกากับ ดูแล ส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกิด
การอนุรักษ์ พลังงานตามกฎหมาย ประกอบด้ วย
1.กลุ่มโรงงำน
2.กลุ่มอำคำร
3.กลุ่มผูผ้ ลิต ผูจ้ ำหน่ ำยเครือ่ งจักร อุปกรณ์
ประสิทธิภำพสูงและวัสดุที่ใช้ในกำรอนุรกั ษ์พลังงำน
5
กลุ่มเป้ าหมายตามกฎหมาย (ต่ อ)
กลุ่มโรงงาน/อาคารจะเน้ นไปทีโ่ รงงาน/อาคารที่มี
ü การใช้ พลังงานปริมาณมาก
ü มีศักยภาพในการประหยัดพลังงาน
ü มีความพร้ อมในเรื่องบุคลากร
โดยการประกาศเป็ นพระราชกฤษฎีกากาหนดเป็ นโรงงาน
ควบคุม และอาคารควบคุม
6
ลักษณะการเป็ นโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม
ต้ องมีองค์ ประกอบ 2 ส่ วน ครบถ้ วน
1.เป็ นอาคารหรือโรงงานหลังเดียวหรือหลายหลังภายใต้ บ้านเลขที่
เดียวกัน
2. การอนุมัตติ ดิ ตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า หรือหม้ อแปลงรวมกันตาม
ขนาดทีพ่ ระราชกฤษฎีกากาหนด หรือใช้ พลังงานไฟฟ้า
ความร้ อนจากไอนา้ หรือพลังงานสิ้นเปลืองรวมกันในรอบปี
ที่ผ่านมาคิดเทียบเท่ าพลังงานไฟฟ้าในปริมาณตามที่พระราช
กฤษฎีกากาหนด
7
เหตุผลในกำรปรับปรุงกฎหมำย
1. พ.ร.บ. (พ.ศ. 2535) ประกำศใช้มำกกว่ำ 15 ปี
2. บทบัญญัติบำงประกำรไม่เหมำะสมกับสภำพเศรษฐกิจ สังคม
และกำรใช้พลังงำนในปัจจุบนั รวมถึงขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ย่งุ ยำก
3. ต้องกำรกำกับและส่งเสริมให้เกิดกำรอนุรกั ษ์พลังงำนได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ และทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง
4. ปัจจุบนั วิธีกำรอนุรกั ษ์พลังงำนได้เปลี่ยนมำใช้รปู แบบของ
กำรบริหำรจัดกำรและกำรมีส่วนร่วมมำกขึน้
ประเด็นหลักของการปรับปรุง
1. ปรับลดขั้นตอนในการออกกฎระเบียบ ข้ อบังคับ
2. กาหนดให้ อาคารขนาดใหญ่ ที่จะก่อสร้ างหรือดัดแปลงต้ อง
ออกแบบให้ อนุรักษ์ พลังงาน
3. นาวิธีการจัดการพลังงานทีเ่ ป็ นมาตรฐานมาใช้ เป็ นพืน้ ฐานการ
อนุรักษ์ พลังงาน
4. กาหนดให้ มีบุคลากรทาหน้ าทีต่ รวจและให้ การรับรองการจัด
การพลังงานทีโ่ รงงาน / อาคารควบคุมดาเนินการ
การเปลีย่ นแปลงการปฏิบัติตามกฎหมาย
พ.ร.บ. เดิม
พ.ร.บ. ใหม่
หน้ าที่เจ้ าของโรงงาน /อาคารควบคุม (ม.11, 22)
หน้ าที่เจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุม (ม.9,21)
1. จัดให้ มีผ้ ูรับผิดชอบด้ านพลังงาน (ผชร. / ผชอ.) โดย § เหมือนเดิม
คุณสมบัติ หน้ าที่ ผชร. / ผชอ. กาหนดไว้ตาม ม. 13, § ไม่ กาหนดรายละเอียดคุณสมบัติ หน้ าที่ในพ.ร.บ.
ม. 14
แต่ ให้ ออกเป็ นกฎกระทรวง
§ จานวน ผชร. / ผชอ. แบ่ งตามขนาดมิเตอร์ / หม้ อ
แปลง
2. การบันทึก การส่ งข้ อมูลการผลิต / การใช้ พลังงาน
และการอนุรักษ์ พลังงาน (บพร.1, 2 / บพอ. 1, 2)
ไม่ กาหนดในพ.ร.บ. แต่ ให้ เป็ นส่ วนหนึ่งใน
3. การกาหนดเป้ าหมายและแผนอนุรักษ์ พลังงาน
การจัดการพลังงานตามกฎกระทรวง
4. การตรวจสอบ วิเคราะห์ การปฏิบัติตามเป้ าหมายและ
แผน
การเปลีย่ นแปลงการปฏิบัติตามกฎหมาย (ต่ อ)
กฎกระทรวงเดิม
กฎกระทรวงใหม่
1. การบันทึก การส่ งข้ อมูลการผลิต / การใช้ พลังงาน และการ
อนุรักษ์ พลังงาน (บพร.1, 2 / บพอ. 1, 2)
§ ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
§ เป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการพลังงาน
2. การกาหนดเป้ าหมายและแผนฯ
§ ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
§ เป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการพลังงาน
3. มาตรฐานการอนุรักษ์ พลังงานในอาคาร (บังคับใช้ กบั อาคาร § ยกเลิกกฎกระทรวงเดิม
เก่า)
§ ปรับปรุงมาตรฐานใหม่ และบังคับกับอาคารที่จะก่อสร้ าง
ใหม่ ขนาดพืน้ ที่ต้งั แต่ 2,000 ตารางเมตร
ออกกฎกระทรวงใหม่ 5 ฉบับ
• การจัดการพลังงาน
• ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
• มาตรฐานการออกแบบอาคารเพือ่ การอนุรักษ์
พลังงาน
• ผู้ตรวจสอบพลังงาน
• ค่าประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในเครื่องจักร
อุปกรณ์ เพือ่ การอนุรักษ์ พลังงาน
โครงสร้ างกฎหมายใหม่
พระราชบัญญัติ
การส่งเสริมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
พ.ศ. 2535
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 3 เม.ย. 2535)
พระราชบัญญัติ
การส่งเสริมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 1 มิ.ย. 2551)
พระราชกฤษฎีกากาหนดอาคารควบคุม
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 12 ธ.ค. 2538)
พระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม
(มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่ 17 ก.ค. 2540)
กฎกระทรวง
ผูร้ บั ผิดชอบพลังงาน
การจัดการพลังงาน
การออกแบบอาคาร
ผูต้ รวจสอบพลังงาน
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์
กาหนดวัสดุเพื่อการอนุ รกั ษ์พลังงาน
12
ขั้นตอนการดาเนินการตาม พรบ. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550
เจ้ าของโรงงานควบคุม
ผชร.
กฎกระทรวง
กาหนดผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
ตรวจสอบและรับรองการ
จัดการพลังงาน
ส่ งรายงานการจัดการพลังงานภายใน
มี.ค. ของทุกปี
การจัดการพลังงาน
กฎกระทรวง
มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ
วิธีการจัดการพลังงาน
ผู้ตรวจสอบพลังงาน
กฎกระทรวง
กาหนดคุณสมบัติ
ผู้ตรวจสอบ
พพ.
แจ้ งผล
13
หน้ าทีข่ องเจ้ าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21)
มีหน้ าที่ดงั นี้
w จัดให้ มีผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานประจาโรงงาน / อาคารควบคุม
แต่ละแห่ง โดยมีจานวน คุณสมบัติ และหน้าที่เป็ นไปตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
w จัดให้ มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม ตาม
มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
14
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
ข้ อกาหนด
1. เจ้ าของโรงงาน/อาคารควบคุมต้ องจัดให้ มผี ู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
ประจาทีโ่ รงงาน/อาคารควบคุม แต่ ละแห่ ง (ผชอ. / ผชร.)
2. คุณสมบัติ / จานวน ผชร. / ผชอ. เป็ นไปตามขนาดเครื่องวัดไฟฟ้ า /
หม้ อแปลงไฟฟ้าของโรงงาน/อาคารควบคุมทีร่ ับอนุมตั ิ
15
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ ทันทีเมื่อประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบัน รมว. ลงนามเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 และประกาศในราช
กิจจานุเบกษาในวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 โดยมีผลใช้ บังคับตั้งแต่ วนั
ประกาศเป็ นต้ นไป
16
จานวนผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
โรงงานควบคุม / อาคารควบคุม
อนุมตั หิ ม้ อแปลง
< 3,530 kVA
> 3,530 kVA
อนุมตั เิ ครื่องวัดไฟฟ้า
< 3,000 kW
> 3000 kW
ปริมาณการใช้ พลังงาน
< 60 ล้าน MJ/y
> 60 ล้าน MJ/y
อย่างน้ อย 1 คน
ไม่ น้อยกว่ า 2 คน
จานวนผู้รับผิดชอบ
17
กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัติ หน้ าที่ และจานวนผู้รับผิดชอบด้ าน
พลังงาน (ต่ อ)
คุณสมบัตอิ ย่ างหนึ่งอย่ างใดของ ผชร. / ผชอ.
1.
2.
3.
4.
5.
จบ ปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานสามัญ
สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานอาวุโส
สอบผ่ านตามเกณฑ์ ที่กาหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
18
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
จานวน ผชร. / ผชอ.
อาคาร / โรงงานควบคุม
< 3,000 kW
< 3,530 kVA
< 60 ล้าน MJ/ปี
>= 3,000 kW
>= 3,530 kVA
>= 60 ล้าน MJ/ปี
จานวนอย่ างน้ อย 1 คน
จานวนอย่ างน้ อย 2 คน
คุณสมบัติ
คุณสมบัติ
1. จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
2. จบปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์ พลังงาน
3. สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานสามัญ (อาคาร / โรงงาน)
4. สาเร็จการอบรมหลักสู ตรผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานอาวุโส
5. สอบผ่านตามเกณฑ์ ทกี่ าหนด
คนที่ 1
มีคุณสมบัติตามข้ อ 4 หรือ 5 เท่านั้น
คนที่ 2
มีคุณสมบัติอย่ างใดอย่ างหนึ่งตาม
ข้ อ 1, 2, 3, 4, หรือ 5
19
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
กำรแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้ำนพลังงำน กรณี ที่ 1
>= 3,530 kVA
>= 3,000 kW
>= 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
เป็ นโรงงำน / อำคำรควบคุม
ก่อนกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
2. กรณีไม่ มี ผชร. / ผชอ. อยู่เดิม ให้ แต่ งตั้งผชร. /
ผชอ. ตามคุณสมบัติข้อ 1, 2, 3, 4 หรือ 5
ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมีผลใช้
บังคับใช้ และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
คนที่ 1
1. ผชร. / ผชอ. คนเดิมซึ่งมีคุณสมบัติตามข้ อ 1, 2
หรือ 3 ให้ ปฏิบัติหน้ าที่เดิมต่ อไป โดยแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
คนที่ 2
คนที่ 1
< 3,530 kVA
< 3,000 kW
< 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
1. ผชร. / ผชอ. คนเดิมซึ่งมีคุณสมบัตติ ามข้ อ 1, 2
หรือ 3 ให้ ปฏิบัตหิ น้ าที่เดิมต่ อไป โดยแจ้ งให้
อธิบดีทราบทันที
2. กรณีไม่ มี ผชร. / ผชอ. อยู่เดิม ให้ แต่ งตั้งผชร. /
ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ภายใน
180 วัน นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับใช้
และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
2. กรณีแต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 4
หรือ 5 ไม่ ได้ ภายใน 180 วัน สามารถขอขยาย
เวลาแต่ งตั้งได้ ไม่ เกิน 2 ปี นับตั้งแต่ กฎกระทรวง
มีผลบังคับใช้ และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
กำรแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้ำนพลังงำน กรณี ที่ 2
เป็ นโรงงำน / อำคำรควบคุม
หลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้และยังไม่พ้น 2 ปี
นับตัง้ แต่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
แต่ งตั้งผชร./ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน/
อาคารควบคุม และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
คนที่ 1
คนที่ 2
คนที่ 1
< 3,530 kVA
< 3,000 kW
< 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
>= 3,530 kVA
>= 3,000 kW
>= 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
1.
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมี
ผลใช้ บังคับใช้ และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
2. กรณีแต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 4 หรือ
5 ไม่ ได้ ภายใน 180 วัน สามารถขอขยายเวลา
แต่ งตั้งได้ ไม่ เกิน 2 ปี นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมีผล
บังคับใช้ และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
กำรแจ้งแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบด้ำนพลังงำน กรณี ที่ 3
>= 3,530 kVA
>= 3,000 kW
>= 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
คนที่ 1
1.
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3, 4
หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน/
อาคารควบคุมและแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
คนที่ 2
< 3,530 kVA
< 3,000 kW
< 60 ล้ำนเมกะจูลต่อปี
คนที่ 1
เป็ นโรงงำน / อำคำรควบคุม
หลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ไปแล้ว 2 ปี
1.
แต่ งตั้งผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 1, 2, 3,
4 หรือ 5 ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน/
อาคารควบคุมและแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
2. แต่ งตั้ง ผชร. / ผชอ. ตามคุณสมบัตขิ ้ อ 4 หรือ 5
ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ เป็ นโรงงาน / อาคาร
ควบคุม และแจ้ งให้ อธิบดีทราบทันที
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
หน้ าที่ของ ผชร. / ผชอ.
1.
2.
3.
4.
บารุงรักษาและตรวจสอบประสิ ทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์
ปรับปรุงวิธีการใช้ พลังงานให้ อนุรักษ์ พลังงาน
ช่ วยเจ้ าของอาคาร / โรงงานควบคุมดาเนินการจัดการพลังงาน
ช่ วยเจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุมปฏิบัตติ ามคาสั่ งของอธิบดี (กรณี
ไม่ ปฏิบัติตามคาสั่ ง มีโทษปรับไม่ เกิน 50,000 บาท (มาตรา 54)
23
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
การแจ้ งพ้นหน้ าที่ของ ผชร./ผชอ.
1.
2.
กรณีที่ 1
กรณี ผชร./ผชอ. พ้นหน้าที่ มีผลให้จานวน ผชร./ผชอ.
ไม่ครบจานวนที่ กฎกระทรวงกาหนด ให้มีหนังสื อแจ้ง
อธิบดีทราบทันที
แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วนั พ้นหน้าที่
และแจ้งให้อธิบดีทราบทันที
24
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
การแจ้ งพ้นหน้ าที่ของ ผชร./ผชอ. กรณีที่ 2
1. กรณี ผชร./ผชอ. ซึ่ งมีคุณสมบัติตามข้อ 4 หรื อ ข้อ 5 พ้ นหน้ าที่ภายใน 2
ปี นับตั้งแต่ กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และจานวน ผชร./ผชอ. ไม่ครบ
จานวนที่กฎกระทรวงกาหนด ให้มีหนังสื อแจ้งอธิบดีทราบทันที
2. แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. ตามจานวนและคุณสมบัติภายใน 180 วัน นับตั้งแต่
วันพ้นหน้าที่ และแจ้งให้อธิบดีทราบทันที
3. กรณี ไม่ สามารถแต่งตั้ง ผชร./ผชอ.ได้ภายในเวลาที่ กาหนด และต้อง
ไม่ ใ ช่ ค วามผิ ด ของเจ้า ของโรงงาน/อาคารควบคุ ม สามารถขอขยาย
ระยะเวลาแต่งตั้งได้ไม่เกิน 2 ปี นับตั้งแต่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และ
แจ้งให้อธิบดีทราบทันที
25
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน (ต่ อ)
วิธีการแต่ งตั้งและแจ้ งแต่ งตั้งผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
1. การแต่งตัง้ ผชร./ผชอ. ให้ใช้แบบแต่งตัง้ ตามทีก่ รมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ กาหนด
• แบบ บพช. 1 (แบบแต่งตัง้ )
• แบบ บพช. 2 (แบบแสดงผลงานของโรงงาน/อาคารควบคุม)
• แบบ บพช. 3 (แบบแสดงผลงานของโรงงาน/อาคาร)
2. การแจ้งแต่งตัง้ ผชร./ผชอ.
• มีหนังสือนาส่งถึงอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ พร้อมแนบแบบที่กาหนด
โดยไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ
• นาส่ง กรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงำน
17 ถนนพระรำมที่ 1 แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน
กรุงเทพฯ 10330
• นาส่งได้ดว้ ยตนเองที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ
26
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
ข้ อกาหนดที่เจ้ าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมต้ องดาเนินการ
1. พัฒนาและดาเนินการจัดการพลังงาน
2. จัดทารายงานการจัดการพลังงาน
3. จัดให้มีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน โดยผู้
ตรวจสอบพลังงานที่ข้ ึนทะเบียนกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ
4. ส่ งผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กรมพัฒนา
พลังงานทดแทนฯ ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
27
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน (ต่ อ)
วิธีการจัดการพลังงาน ประกอบด้ วย 8 ขั้นตอน ดังนี้
1. การจัดให้มีคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน
2. การประเมินสถานการจัดการเบื้องต้น
8. การทบทวน วิเคราะห์
แก้ไขระบบ
3. การกาหนดนโยบาย
อนุ รกั ษ์พลังงานและ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4. การประเมินศักยภาพ
การอนุ รกั ษ์พลังงาน
7. ตรวจติดตาม ประเมิน
ระบบการจัดการพลังงาน
6. ดาเนิ นการตามแผนฯ
และตรวจสอบวิเคราะห์
การปฏิบตั ิตามเป้ าหมาย
และแผน
5. กาหนดเป้ าหมาย
และแผนอนุ รกั ษ์พลังงาน
รวมทัง้ แผนฝึ กอบรม
28
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน (ต่ อ)
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ เมื่อพ้นกาหนด 120 วัน นับจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบนั กฎกระทรวงดังกล่ าวประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 23
กรกฎาคม 2552 มีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2552
3. หากมีระยะเวลาการดาเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุม/อาคาร
ควบคุมในรอบปี จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม น้ อยกว่ า 180 วัน ให้ ส่งรายงาน
ผลการตรวจสอบและรับรองในปี ถัดไป (ส่ งฉบับแรกภายใน มีนาคม
2554)
29
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
หน้ าทีผ่ ู้ตรวจสอบพลังงาน
• ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้ กบั โรงงาน / อาคารควบคุม
คุณสมบัตผิ ู้ตรวจสอบพลังงาน
1. นิตบิ ุคคลไทย มีวตั ถุประสงค์ ประกอบธุรกิจหรือให้ บริการ
เกีย่ วกับการอนุรักษ์ พลังงาน หรือการแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
จากการใช้ และการผลิตพลังงาน
2. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3. หน่ วยงานของรัฐที่มฐี านะเป็ นนิตบิ ุคคล
30
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่ อ)
คุณสมบัติ จานวนบุคลากรของผู้ตรวจสอบพลังงาน
1. ผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 1 คน
• จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน
• มีประสบการณ์ ด้านการอนุรักษ์ พลังงาน หรือด้ านการจัดการพลังงาน
อย่างน้ อย 5 ปี ผลงานด้ านอนุรักษ์ พลังงานอย่ างน้ อย 5 โครงการ
• ผ่ านหลักสู ตรวิธีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
2. ผู้ช่วยผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 2 คน
• จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน
• มีประสบการณ์ ด้านการอนุรักษ์ พลังงาน หรือด้ านการจัดการพลังงาน
อย่างน้ อย 3 ปี
3. ผู้ชานาญการต้ องเข้ าอบรมหลักสู ตรวิธีการตรวจสอบฯ ภายใน 2 ปี นับแต่
กฎกระทรวงมีผลใช้ บังคับ หรือนับจากวันทีเ่ ป็ นผู้ชานาญการ
31
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่ อ)
เงือ่ นไข
1. ต้ องไม่ เป็ นผู้ชานาญการและผู้ช่วยให้ กบั ผู้ตรวจสอบพลังงานรายอืน่
2. ต้ องไม่ เป็ นบุคลากรประจาของโรงงาน / อาคารควบคุม ทีเ่ ข้ าไปดาเนินการ
ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
3. ผู้ชานาญการและผู้ช่วย สามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
ให้ กบั โรงงาน / อาคารควบคุม ไม่ เกิน 30 แห่ ง ในแต่ ละรอบของการ
ตรวจสอบ
4. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานแต่ ละแห่ ง ต้ องประกอบ ด้ วย
ผู้ชานาญการอย่ างน้ อย 1 คน ผู้ช่วยอย่ างน้ อย 2 คน
5. ใบอนุญาตให้ เป็ นผู้ตรวจสอบพลังงานมีอายุ 3 ปี
32
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่ อ)
การบังคับใช้ กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ เมื่อพ้นกาหนด 120 วัน นับตั้งแต่ วนั
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2. ปัจจุบันอยู่ระหว่ างการพิจารณาของ สานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา
บทกาหนดโทษ
1. เจ้ าของโรงงาน / อาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบด้ านพลังงานไม่
ดาเนินการตามกฎกระทรวงการจัดการพลังงาน กฎกระทรวง
ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน ระวางโทษปรับไม่ เกิน 200,000 บาท
(มาตรา 55)
2. ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ อานวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ใน
การปฏิบัติหน้ าที่ ระวางโทษปรับไม่ เกิน 5,000 บาท (มาตรา 59)
34