ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

Download Report

Transcript ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ผูป้ ระกอบวิชาชี พบัญชี ดา้ นการทาบัญชี ด้านการสอบบัญชี ด้านการบัญชี บริ หาร ด้านการวางระบบบัญชี ด้ านการ
บัญชี ภาษีอากร ด้านการศึ กษาและเทคโนโลยีการบัญชี และ
บริ หารเกี่ยวกับการบัญชีดา้ นอื่นตามที่กฎกระทรวงกาหนดให้
เป็ นวิช าชี พ บัญ ชี รวมทั้ง ผูซ้ ่ ึ งขึ้ นทะเบี ย นไว้กับ สภาวิ ช าชี พ
และให้ ค วามหมายรวมถึ ง หัว หน้า คณะบุ ค คลหรื อ หั ว หน้ า
สานักงานหรื อผูม้ ีอานาจการทาการแทนนิติบุคคล
ปวส.
บัญชี
1.รู ้กฎหมายบัญชี
2.รู ้กฎหมายภาษี
อากร
ป.ตรี บญั ชี/หรื อ
สู งกว่า
นัก
วิชาชีพ
บัญชี
3.รู ้กฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้อง
4.ความรู ้ทวั่ ไป
รัฐบาล
ผู้ใช้ สินค้ า
ผู้ประกอบ
สั งคม
/บริการ
วิชาชีพบัญชี
และมวลชน
เจ้ าของ
กิจการ
การทุจริตเหมือนการต่ อวงจรกระแสไฟฟ้า
ความโลภ
(Greed)
โอกาส
(Opportunity)
รางวัล/แรงจูงใจ
(Incentive)
5
จรรยาบรรณ หมายถึ ง การปฏิ บ ัติ ต ามงานในการ
ประกอบวิชาชี พ โดยใช้หลัก จริ ย ธรรม มี คุณ ธรรม และ
ศีลธรรมอันดี เพื่อจรรโลงวิชาชีพให้เกิดความเชื่อถือและมี
ผลดีต่อสังคม
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชี พบัญชี (Code of
Ethics for Professional Accountant) สหพันธ์ นักบัญชี
ระหว่ างประเทศ (International Federation of Accounting :
(IFAC)) ได้ ออก ISAC1 ข้ อกาหนดด้ านจรรยาบรรณวิชาชีพ
เพื่อ เป็ นแนวทางในการปฏิ บั ติง านที่ เ ป็ นมาตรฐานเดีย วกัน
สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ปั จจุบันผู้ประกอบวิชาชี พมีความสาคัญอย่ างยิ่งต่ อภาค
ธุรกิจเอกชนในการบันทึกข้ อมูลบัญชี ดังนั้น ในปี ๒๕๕๓ สภา
วิชาชีพบัญชี จึงได้ ออกข้ อบังคับฉบับที่ ๑๙ เรื่ อง จรรยาบรรณ
ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ซึ่งใน พรบ. วิชาชีพบัญชี ๒๕๔๗ หมวดที่ ๗ ได้ กาหนด
ถึง จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชี พบัญชี โดยกาหนดให้
มาตราที่ ๔๗ ให้ สภาวิชาชี พบัญชี จัดทาจรรยาบรรณของผู้
ประกอบวิช าชี พ บั ญ ชี ขึ้น เป็ นภาษาไทย และอย่ า งน้ อ ยต้ อง
ประกอบด้ วย
Fundamental Principle
ข้ อกาหนดจรรยาบรรณ
- ความโปร่ งใส่
Integrity
- ความเป็ นอิสระ
Objectivity
- ความทีย่ งธรรม
- ความซื่อสั ตย์ สุจริต
Progessional Competence and - ความรู้ ความสามารถ
Due Care
- มาตรฐานในการปฏิบัตงิ าน
Confidentiality
- การรักษาความลับ
Fundamental
Principle
Professional Behavior
ข้ อกาหนดจรรยาบรรณ
- ความรับผิดชอบต่ อผู้รับบริการ
- ความรับผิดชอบต่ อผู้ถอื หุ้น ผู้เป็ น
หุ้นส่ วน หรือบุคคลหรือนิตบิ ุคคล
หรือนิตบิ ุคคลทีผ่ ้ ูประกอบวิชาชีพ
บัญชีปฏิบัติหน้ าที่ให้ และ
- ความรับผิดชอบต่ อเพือ่ นร่ วม
วิชาชีพ และ จรรยาบรรณทัว่ ไป
ข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี
(ฉบับที่ ๑๙)
เรือ่ ง จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี
พ.ศ. ๒๕๕๓
ประกาศ ณ วันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวดที่ 1 บททัว่ ไป
หมวดที่ 2 ความโปร่ งใส่ ความเป็ นอิสระ ความเที่ยงธรรม และ
ความซื่อสัตย์สุจริ ต
หมวดที่ 3 ความรู้ ความสามารถ และมาตรฐานในการ
ปฏิบตั ิงาน
หมวดที่ 4 การรักษาความลับ
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบต่อผูร้ ับบริ การ
หมวดที่ 6 ความรั บ ผิด ชอบต่ อผูถ้ ื อหุ ้น ผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ วน บุ คคล
หรื อนิ ติบุคคลที่ผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ปฏิบตั ิหน้าที่
ให้
หมวดที่ 7 ความรับผิดชอบต่อเพื่อร่ วมวิชาชีพ และจรรยาบรรณ
ทัว่ ไป

ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ---- วิชาชีพ 6 ด้ าน
1. สอบบัญชี
2. บัญชีบริ หาร
3. ระบบบัญชี
4. บัญชีภาษีอากร
5. การศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี
6. บริ การเกี่ยวกับการบัญชีดา้ นอื่นตามที่กฎกระทรวงกาหนด
รวมถึง หัวหน้าคณะบุคคลหรื อหัวหน้าสานักงานหรื อผู ้มีอานาจ
กระทาการแทนนิติบุคคล

ผูซ้ ่ ึงขึ้นทะเบียนไว้กบั สภาวิชาชีพบัญชี ---- ผูท้ าบัญชี

พรบ. วิชาชีพบัญชี ๒๕๔๗ มาตรา ๔๙ โทษการประพฤติผิด
จรรยาบรรณมีดงั ต่ อไปนี้
(1) ตักเตือนเป็ นหนังสื อ
(2) ภาคทัณฑ์
(3) พักใช้ ใบอนุญาต พักการขึน้ ทะเบียน หรือห้ ามการประกอบ
วิชาชี พบัญชี ด้านที่ประพฤติผิดจรรยาบรรณโดยมีกาหนดเวลา แต่ ไม่
เกินสามปี
จาคุกไม่ เกินสามปี หรือ ปรับไม่ เกินหกหมืน่ บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ

พรบ. วิชาชีพบัญชี ๒๕๔๗ มาตรา ๔๙ โทษการประพฤติผิด
จรรยาบรรณมีดงั ต่ อไปนี้
(4) เพิกถอนใบอนุญาต เพิกถอนการขึน้ ทะเบียนหรือสั่ งให้ พัน
การเป็ นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชี
ม. ๕๓ ว ๕ คณะกรรมการจรรยาบรรณและคณะอนุกรรมการมี
อานาจเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้ องมาให้ ถ้อยคาหรือชี้แจงข้ อเท็ขจริ ง
หรือทาคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรือส่ งบัญชี ทะเบีย น เอกสารหรือ
หลั ก ฐานใด เพื่ อ ตรวจสอบหรื อ ประกอบการพิ จ ารณา เพื่ อ
ประโยชน์ แก่ การสอบสวนก็ได้
 มาตรา ๗๑ กาหนดโทษ : ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งเดือน
หรือ ปรับไม่ เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ


มาตรา ๗๒ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดซึ่ งต้ องรั บโทษตามประ
ราชบัญญัตินี้เป็ นนิติบุคคลให้ กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพัน
นิ ติบุ ค คล หุ้ น ส่ วนผู้ จั ด การ ผู้ แ ทนนิ ติบุ ค คล หรื อ บุ ค คลใดซึ่ ง
รั บ ผิ ด ชอบในการด าเนิ น การของนิ ติ บุ ค คลนั้ น ต้ อ งรั บ โทษ
ความผิดนั้ น ๆ ด้ วย เว้ นแต่ จะพิสูจน์ ได้ ว่าตนมิไ ด้ มีส่วนรู้ เห็ น
หรือยินยอมในการกระทาความผิดของ นิตบิ ุคคลนั้น
1
ในกรณี ที่มีปัญหาการแปลความเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามข้อบังคับนี้
ให้คณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชีเป็ นผู้วนิ ิจฉัย
และถือว่าคาวินิจฉัยของคณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชีเป็ นทีส่ ุ ด
2
2
ความ
โปร่ งใส่
• การปฏิบตั ิงานตามกฎ ระเบียบและมาตรฐานวิชาชีพที่กาหนดไว้
• ไม่ปกปิ ดข้อเท็จจริ งหรื อบิดเบือนความจริ งอันเป็ นสาระสาาคัญซึ่ ง
สามารถติดตามตรวจสอบได้
ความเป็ น
อิสระ
• ใช้ดุลยพินิจและปฏิบตั ิงานเป็ นอิสระภายใต้กรอบวิชาชีพ
บัญชี/ ไม่ตกอยูใ่ นอิทธิพลใคร
2
ความ
เทีย่ งธรรม
• ยุติธรรม ซื่ อตรงต่อวิชาชี พ ไม่มีส่วนได้เสี ย/ปราศจากอคติ และ
ลาเอี ยง/หลี กเลี่ ยงความสัมพันธ์หรื อสถานการณ์ ใด ๆ ที่ อาจไม่
โปร่ งใส ไม่อิสระและซื่อสัตย์สุจริ ต
ความ
ซื่อสั ตย์
สุ จริต
• ตรงไปตรงมา จริ งใจ ซื่ อ ตรงต่ อ วิ ช าชี พ ไม่ ค ดโกง ไม่
หลอกลวง / ปฏิบตั ิงานตรงตามหลักฐานที่เป็ นจริ ง / ต้องไม่
อ้างหรื อยินยอมให้บุคคลอื่นอ้างว่าได้ปฏิบตั ิงานโดยที่ไม่ได้
มีการปฏิบตั ิงานจริ ง
2
นางสาวนฤมลเป็ นพนักงานบัญชีของ บริ ษทั มา
บิชิเทรดดิ้ง จากัด ในวันสิ้ นงวดบัญชี ได้ปิดบัญชี พร้ อม
เตรี ยมส่ งงบการเงินกับบุคคลภายนอกเรี ยบร้อย พบว่ามี
เอกสารใบกากับภาษีของเดื อนธันวาคม ที่เกี่ ยวข้องกับ
งวดบัญชีที่จดั ทางบการเงินนั้นอีกจานวน 15 ฉบับ แต่ก็
ไม่ได้นามาบันทึกบัญชีหรื อปรับปรุ งแต่อย่างใด
2
3
3
ความรู้
ความ
สามารถ
• การใช้ความรู ้ความสามารถ ความชานาญในการปฏิบตั ิ
• ความเอาใจใส่ อ ย่ า งเต็ ม ความสามารถ ความเพี ย ร
พยายาม และความระมัดระวังรอบคอบ
• เพื่ อ ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ ไ ด้อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ
ประสิ ทธิ ผลและมัน่ ใจได้ว่ามีผลงานทางวิชาชีพที่อยู่
บนพื้นฐานของกฎเกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน
และวิชาการที่เกี่ยวข้อง
3
มาตรฐาน
ในการ
ปฏิบตั ิงาน
• มาตรฐานวิ ช าชี พ และมาตรฐานทางวิ ช าการที่
เกี่ยวข้อง
• ระมัด ระวัง รอบคอบ และด้ว ยความช านาญตาม
มาตรฐานวิ ช าชี พ และมาตรฐานทางวิ ช าการที่
เกี่ยวข้อง
2
ส านัก งานรั บ ท าบัญ ชี ว นิ ด า รั บ จัด ท าบั ญ ชี ใ ห้
บริ ษทั ยาแห่ งหนึ่ ง แต่กิจการไม่มีความสามารถในการ
คานวณส่ วนประกอบของยาแต่ละชนิ ด สานักงานบัญชี
จึ ง ใช้ ก ารประมาณการด้ ว ยตนเองโดยไม่ ป รึ กษา
ผูเ้ ชี่ยวชาญ และนาเสนองบการเงินให้กิจการ
3
4
4
• ต้อ งไม่ น าข้อ มู ล ที่ เ ป็ นความลับ ขององค์ ก ร ที่ ต นได้ ม าจากการ
ปฏิบตั ิงานวิชาชีพ และความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ รวมทั้งความลับของ
องค์ก รที่ ต นสั ง กัด ไปเปิ ดเผย ต่ อ บุ ค คลที่ ไ ม่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งได้
รับทราบโดยไม่ได้รับอนุญาตจากองค์กร
• เว้นแต่ในกรณี ที่เป็ นการเปิ ดเผยตามสิ ทธิ หรื อหน้าที่ที่กาหนดไว้ใน
กฎหมาย หรื อในฐานะผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี
4
• ต้ อ งไม่ น าข้อ มู ล ที่ เ ป็ นความลั บ ขององค์ ก รที่ ต นได้ ม าจากการ
ปฏิบตั ิงานวิชาชีพ และความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ รวมทั้งความลับของ
องค์กรที่ตนสังกัด ไปใช้ เพือ่ ประโยชน์ ของตนหรื อบคคลอื่นโดยมิชอบ
4
พนั ก ง า น ต ร ว จ ส อ บ ง บ ก า ร เ งิ น ใ น ต ล า ด
หลักทรั พย์นาข้อมูลของบริ ษทั ในตลาดหลักทรั พย์ไป
วิเคราะห์และเสนอแก่นกั ลงทุนต่าง ๆ โดยได้รับค่าจ้าง
เป็ นการตอบแทน
4
5
5
• ผูร้ ับบริ การได้แก่
(1) ผูว้ า่ จ้างผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี และ/หรื อ
(2) ส่วนราชการหรือหน่ วยงานอื่นของรัฐ และบุคคล
อื่นที่ ใช้ผลงานของผูป้ ระกอบ วิชาชีพบัญชีดว้ ยความสุ จริ ต
และจาเป็ น
5
• “ผ้ ูที่ผ้ ูประกอบวิชาชี พบัญชี ปฏิบัติหน้ าที่ให้ ” หมายความว่า
ผูท้ ี่ผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชีปฏิบตั ิหน้าที่ ให้ อันได้แก่ ผูถ้ ือหุ น้
ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วน บุคคลหรื อนิติบุคคล
ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องปฏิบตั ิงานตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน
และแนวปฏิบัติของวิชาชีพบัญชี
เพือ่ ให้ เกิดความน่ าเชื่อถือและมีประโยชน์ ต่อผู้รับบริการ
6
6
1. ต้องปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมทางธุรกิจขององค์กรที่ตนสังกัด
2. ต้องปฏิ บตั ิ หน้าที่ ดว้ ยความซื่ อสั ตย์ สุจริ ต อุทิศตน ท่ ุ มเท ดูแล
ทรั พย์ สินขององค์กรที่ตนสังกัด
3. ต้องใช้เวลาและทรัพย์สินขององค์กรที่ตนสังกัดให้ เกิดประโยชน์
สู ง สุ ด ไม่ น าไปใช้เ พื่ อ ประโยชน์ ส่ ว นตนหรื อบุ ค คลที่ ส ามทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม
6
4. ต้องเปิ ดเผยความสัมพันธ์กับองค์กร สถาบัน ธุ รกิ จภายนอกหรื อ
ความสัมพันธ์ทางเครื อญาติ เพื่อ หลีกเลี่ยงการกระทาที่ก่อให้ เกิดความ
ขัดแย้ งทางผลประโยชน์
5. ต้องไม่ กระทาการใด ๆ ที่ ส่งผลกระทบต่ อชื่ อเสี ยง และการ
ดาเนินการขององค์กรที่ตนสังกัด
6
6. ต้อ งใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบ มี เหตุ ผลในการปฏิ บตั ิ งาน
ทั้งนี้เพือ่ ประโยชน์ สูงสุดต่ อองค์ กรที่ตนสังกัด รวมถึงนายจ้าง (ผูถ้ ือ
หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วน เจ้าของ) ของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี
6
สานักงานจัดทาบัญชี แห่ งหนึ่ งรับงานสอบบัญชี
เป็ นจานวนมากจึงจัดทางบการเงินไม่ทนั ตามระยะเวลา
ที่ ก าหนด (31 พฤษภาคม) จึ งส่ งคื นเอกสารการจัด ทา
บัญชีให้แก่ลูกค้า
6
7
7
1. ต้องไม่ แย่ งงานด้านเดียวกันรายอื่น
2. ต้อ งไม่ ปฏิ บตั ิ ง านทางวิช าชี พ บัญ ชี เกิ นกว่าที่ รับ มอบหมายจากผู ้
ประกอบวิชาชีพบัญชีรายอื่น
3. ต้องไม่ให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับงานของตนเกิ นความเป็ นจริ ง ไม่ โอ้ อวด
หรื อเปรี ยบเทียบตนหรื อองค์กรที่ตนสังกัดอยู่กบั ผูป้ ระกอบวิชาชี พ
บัญชี ดา้ นเดี ยวกันรายอื่ น หรื อองค์กรที่ ผูป้ ระกอบวิชาชี พบัญชี ดา้ น
เดียวกันรายอื่นสังกัดอยู่
7
4. ต้องไม่ ให้ หรื อรั บว่ าจะให้ ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์ใด ๆ เพื่อเป็ นการจูงใจ
ให้บุคคลอื่นแนะนาหรื อจัดหางานวิชาชีพบัญชีมาให้ตน
5. ต้องไม่ เรี ยกหรื อรั บทรั พย์ สินหรื อประโยชน์จากบุคคลใด เมื่อบุคคลนั้น
ได้รั บ งานจากการแนะน าหรื อ การจัด หางานของตนในฐานะที่ เ ป็ นผู ้
ประกอบวิชาชีพบัญชีขององค์กรนั้น
7
6. ต้องไม่ กาหนดค่ าธรรมเนียมหรื อค่ าตอบแทนในการให้บริ การวิชาชี พ
บัญชีโดยมิได้คานึ งถึงลักษณะ ความเสี่ ยง ความซับซ้อนและปริ มาณของ
งานที่ตนให้บริ การหรื อมีส่วนร่ วมในการให้บริ การวิชาชีพบัญชี
7. ต้องประพฤติ ปฏิบตั ิ ตนในทางที่ ถูกที่ ควร สานึ กในหน้ าที่และไม่
ปฏิบตั ิตนในลักษณะที่ทาให้เกิดความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่ งวิชาชีพ
บัญชี
7
นางสาวสายใจ ได้ส่งจดหมายสมัครงานซึ่ งใน
ประวัติการทางานที่ส่งไปสมัครงานมีขอ้ ความที่บ่งบอก
ถึ งความสามารถในการจัด ท าให้กิ จการประหยัด ภาษี
มาแล้วหลายกิ จการ และ สามารถจัดทาบัญชี ให้เป็ นไป
ตามความต้องการของเจ้าของกิจการได้
7
1. เป็ นบรรทัดฐานในการประพฤติปฏิบตั ิของผูป้ ระกอบวิ ชาชีพ
บัญชี
2. สร้ า งความตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ป ระกอบ
วิ ช าชี พ บัญ ชี ต่ อ สั ง คมอัน ประกอบด้ว ยผู้ใ ช้ง บการเงิ น
ภายในและภายนอกของกิ จการ หรื อหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง
เพื่อให้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์อย่างแท้จริ งของทุกฝ่ าย
3. สร้ า งความสั ม พัน ธ์ อ ัน ดี ร ะหว่ า งผู้ป ระกอบการ หรื อผู้
ประกอบวิชาชี พเดี ยวกัน เพื่อสร้ างความสามัคคี และความ
ร่ วมมื ออันดี ระหว่างผูป้ ระกอบการหรื อผูป้ ระกอบวิชาชี พ
เพื่ อ แลกเปลี่ ย นความรู้ เ พื่ อ ให้ ก ารปฏิ บ ั ติ ง านบ รรลุ
วัตถุประสงค์อย่างถูกต้องร่ วมกัน
4. ช่วยสร้างเสริ มเกียรติศกั ดิ์แห่งวิชาชีพ ยกระดับมาตรฐานการ
ปฏิบตั ิงานของวิชาชี พ เพื่อสร้างความเชื่ อมัน่ ในการปฏิบตั ิ
หน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์ สุ จริ ต ของผูป้ ระกอบการวิชาชีพ
5. สร้ า งสรรค์ ผู้ป ระกอบวิ ช าชี พ ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ
ปฏิบตั ิงานด้วยหลักจริ ยธรรม คุณธรรม และมีศีลธรรมอันดี
6. เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการควบคุมการประกอบวิชาชี พ หรื อ
ควบคุมการปฏิบตั ิงานให้อยูใ่ นขอบเขตที่ดีงาม
ต่ อ
ผู้ประกอบ
วิชาชีพ
• สร้างความภูมิ ใจในตัวเองและวิชาชีพ
• ท าให้ ไ ม่ ต ้อ งท าตามค าสั่ ง ที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ งของนายจ้า งหรื อ
ผูบ้ งั คับบัญชา
ต่ อ
ผู้ใช้ บริการ
วิชาชีพ
• ได้รับความไว้วางใจ
ต่ อสั งคม
• เป็ นที่พ่ งึ แก่สังคมได้ เช่น สถาบันแพทย์ สถาบันทนายความ
 ซื่อสั ตย์ – ตรงไปตรงมา
 เที่ยงธรรม – อิสระ/โปร่ งใส
 รักษาความลับ - รักษาความลับ/ไม่หาประโยชน์จากสิ่ งที่รู้
 คุณภาพ – รอบรู ้/เชี่ยวชาญ/งานมาตรฐาน
 ความประพฤติทางวิชาชีพ –ไม่ทาเสื่ อมเสี ย/ทาตามกฎหมาย
 รับผิดชอบ - ผูร้ ับบริ การ / ผูถ้ ือหุ น
้ / เพื่อนร่ วมงาน
• วัดที่ใจ
(1) ความโปร่ งใส่
(2) ความเป็ นอิสระ
(3) ความเที่ยงธรรม
(4) ความสื่ อสัตย์
• วัดที่ความรู้ ความสามารถ
(1) ความรู้ความสามารถ
(2) มาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน
• การรักษาความลับ ความรับผิดชอบ