¡ÒúÃÔËÒÃÊÑ­­ÒáÅÐËÅÑ¡»ÃСѹ

Download Report

Transcript ¡ÒúÃÔËÒÃÊÑ­­ÒáÅÐËÅÑ¡»ÃСѹ

o การบริหารสัญญาและหลักประกัน
1
สั ญญา
สั ญญา - การใด อันได้กระทาลงโดยชอบด้วย
กฎหมายและด้ วยใจสมัคร มุ่งเน้ นโดยตรงต่ อการ
ผูกนิตสิ ั มพันธ์ ขนึ้ ระหว่ างบุคคลหรื อนิตบิ ุคคล
ตั้งแต่ สองฝ่ ายขึน้ ไป เพื่อจะก่ อ เปลีย่ นแปลง โอน
สงวน หรื อระงับซึ่งสิ ทธิ
การเกิดสัญญาระหว่ างภาครัฐกับเอกชน
คาเชิญชวน
ประกาศ
ซื้อจ้ าง
ใบเสนอราคา
คาเสนอ
สั ญญา
เอกสาร
ส่ วนที่ 1,2
การพิจารณา คาสนอง
รับราคาของ
ภาครัฐ
3
 สาระสาคัญของใบเสนอราคา
เมื่อ “ใบเสนอราคา” เป็ น “คาเสนอ”
จึงมีผลทางกฎหมาย ดังนี้
1. ใบเสนอราคาต้ องมีความชัดเจน
** กล่ าวคือ ต้ องเสนอเพียงราคาเดียว จะเสนอราคาเผื่อเลือก หรื อ
เสนอราคา 2 ราคา ไม่ ได้
** หากเสนอราคาในลักษณะดังกล่ าว ถือเป็ นการผิดเงื่อนไข
ในส่ วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ ส่ วนราชการไม่ มีสิทธิพจิ ารณารั บราคา
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 307 ลว. 30 ก.ย. 46)
4
สาระสาคัญของใบเสนอราคา
 กรณีมีการลดราคา มีแนวทางในการพิจารณาตามหนังสือ
ด่ วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 307 ลว. 30 ก.ย. 46
- ต้ องมีข้อความว่ า “ยินดีลดราคา” หรื อข้ อความทานองเดียวกัน และ
- ต้ องมีตัวเลขและตัวอักษรตรงกัน หรื อต้ องมีข้อความว่ า ยินดีลดราคา
ลงกี่เปอร์ เซ็นต์ หรื อร้ อยละเท่ าไร และ
- ผู้เสนอราคาต้ องลงชื่อพร้ อมประทับตรา (ถ้ ามี) ตรงข้ อความยินดี
ลดราคา
** ต้ องยื่นพร้ อมกับซองใบเสนอราคา ไม่ ว่าข้ อความจะอยู่ในใบเสนอ
ราคา หรื อ จัดทาขึน้ มาอีกใบหนึ่งก็ตาม **
5
สาระสาคัญของใบเสนอราคา
2. ต้ องกรอกรายละเอียดที่สาคัญให้ ครบถ้ วนตามเงื่อนไขในประกาศฯ
เช่ น
2.1 ราคาทีเ่ สนอ เป็ นราคารวมภาษีมูลค่ าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ (ถ้ ามี)
รวมค่ าใช้ จ่ายทั้งปวงไว้ ด้วยแล้ ว
2.2 กาหนดยืนราคา
2.3 กาหนดส่ งมอบสิ่งของ หรือ งานจ้ าง
ใบเสนอ
2.4 กรณีมีขูด ลบ ตก เติม
ราคา
3. ต้ องลงนามโดยผู้มีอานาจลงนามผูกพัน
6
สาระสาคัญของใบเสนอราคา
4. ซองใบเสนอราคา ต้ องปิ ดผนึกซองเรี ยบร้ อย จ่ าหน้ าซอง
ถึง
4.1 สอบราคา
- ประธานคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
4.2 ประกวดราคา - ประธานคณะกรรมการรั บและเปิ ดซอง
ประกวดราคา
ระบุหน้ าซองว่ า ใบเสนอราคาตามเอกสารสอบ/ประกวดราคา
เลขที่ .......
5. ผู้เสนอราคาต้ องรั บผิดชอบราคาที่ตนได้ เสนอไว้ และจะ
ถอนการเสนอราคาไม่ ได้ หากถอนการเสนอราคาก่ อน
ครบกาหนดยืนราคา จะถูกยึดหลักประกันซอง
7
รูปแบบของสั ญญา
1. เต็มรูป (ข้ อ 132)
1.1 ทำสั ญญำตำมตัวอย่ำงที่ กวพ. กำหนด
1.2 มีข้อควำมแตกต่ ำง เสี ยเปรียบ/ไม่ รัดกุม
1.3 ร่ ำงใหม่
ส่ ง สนง.อัยการ
สู งสุ ดพิจารณา
2. ลดรูป (ข้ อ 133 วรรคหนึ่ง) ข้ อตกลงเป็ นหนังสื อ (เช่ น ใบสั่ งซื้อ/สั่ งจ้ ำง)
2.1 ตกลงรำคำ 2.2 ส่ งของภำยใน 5 วันทำกำร
2.3 กรณีพเิ ศษ 2.4 กำรซื้อ/จ้ ำงโดยวิธีพเิ ศษ (ข้ อ 23 (1) - (5) และ ข้ อ 24 (1) - (5))
2.5 กำรเช่ ำที่ไม่ ต้องเสี ยเงินอื่นนอกจำกค่ ำเช่ ำ
3. ไม่ มีรูป (ข้ อ 133 วรรคท้ าย) จะไม่ ทำข้ อตกลงเป็ นหนังสื อไว้ ต่ อกันก็ได้
3.1 ไม่ เกิน 10,000 บำท
3.2 ตกลงรำคำ กรณีเร่ งด่ วน ตำมข้ อ 39 วรรคสอง
8
การทาสั ญญา
(ตามตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนด)
• การกาหนดเงื่อนไข
• การกาหนดข้ อความหรื อรายการที่แตกต่ าง
จากตัวอย่ างของ กวพ.
• การร่ างสั ญญาใหม่
• การทาสั ญญาเช่ า ที่ต้องผ่ าน สนง. อัยการ
9
เงื่อนไขที่สาคัญของสั ญญา
1. ข้ อตกลงเรื่ องรู ปแบบ ปริมาณ จานวน ราคา
2. การจ่ ายเงิน (งวดเงิน)
3. การจ่ ายเงินล่ วงหน้ า (ข้ อ 68)
4. หลักประกัน
5. การส่ งมอบ การตรวจรับ
6. การขยายเวลา งดหรื อลดค่ าปรับ
7. การปรับ
8. การประกันความชารุดบกพร่ อง
10
การจ่ ายเงินล่ วงหน้ าที่กาหนดในสั ญญา (ข้ อ 68)
 ซื้อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
จ่ายได้ 50 %
 ซื้อจากต่างประเทศ
จ่ายตามที่ผขู้ ายกาหนด
 การบอกรับวารสาร,/สังจองหนั
่
งสือ/ จ่ายเท่าที่จ่ายจริง
ซื้อข้อมูล E /บอกรับสมาชิกInternet
 ซื้อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา
จ่ายได้ 15%
(ต้องกาหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศด้วย)
 ซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ
จ่ายได้ 15%
11
การจ่ ายเงินล่ วงหน้ าต้ องวางหลักประกัน (ข้ อ 70)
- การจ่ายเงินล่วงหน้ า กรณี สอบราคา/ประกวดราคา/วิธี
พิเศษ
 ต้องวางหลักประกันการจ่ายล่วงหน้ าเป็ น
- พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ
- หนังสือคา้ ประกันของธนาคารภายในประเทศ
ยกเว้น การจ่ายเงินล่วงหน้ าค่าซื้อพัสดุ จากต่างประเทศ
ค่าบอกรับวารสารฯ ไม่ต้องเรียกหลักประกัน
12
หลักประกัน (ข้ อ 141)
หลักประกันสั ญญา
หลักประกันซอง
•เงินสด
•เช็คทีธ่ นาคารสั่ งจ่ าย
•หนังสื อคา้ ประกัน ธ
•หนังสื อคา้ ประกัน บ
•พันธบัตรรัฐบาล
•หลักประกันที่ใช้ กบั สั ญญา
•หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร
ต่ างประเทศ (กรณีประกวด
ราคานานาชาติ)
13
มูลค่ าหลักประกัน
ร้อยละ 5 ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จดั หาในครัง้ นัน้
เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าร้อยละ 5
แต่ไม่เกินร้อยละ 10
* กรณี ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็ นคู่สญ
ั ญา / ผูเ้ สนอราคา
ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143)
การคืนหลักประกัน (ข้อ 144)
หลักประกันซอง คืนภายใน 15 วัน นับแต่วนั พิจารณาเบือ้ งต้น
เรียบร้อยแล้ว
หลักประกันสัญญา คืนโดยเร็ว / อย่างช้าไม่เกิน 15 วัน นับแต่วนั ที่
คู่สญ
ั ญาพ้นข้อผูกพันแล้ว
14
การนาหลักประกันซองมากกว่ า 1 อย่ าง
มารวมกันเพื่อใช้ เป็ นหลักประกันซอง
ในงานจ้ างเหมาเดียวกัน ได้ หรื อไม่
กวพ. วินิจฉัย
* ตามระเบียบฯ ข้อ 141 กาหนดว่า “หลักประกันซองหรือ
หลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่ งอย่างใด”
เจตนารมณ์ตามระเบียบฯ ให้เลือกหลักประกันอย่างใดก็
ได้ ดังนัน้ หากใช้หลักประกันตามที่กาหนดไว้ในข้อ 141
รวมกัน ก็ย่อมกระทาได้
15
1. ผูป้ ระสงค์จะใช้พนั ธบัตรรัฐบาลไปจดทะเบียนในการเป็ นหลักประกัน
ที่ ธปท. (กค 0502/38308 ลว. 27 ก.ย. 25)
หรือ
2. ส่วนราชการมีหนังสือแจ้ง ธปท. (กค 0507/48405 ลว. 27 ก.ย. 26)
3. ชื่อผูถ้ ือครองพันธบัตร ไม่ตรงกับ ชื่อผูเ้ สนอราคา ต้องมีหนังสือยินยอม
16
การนาหลักประกันซองมาเป็ นหลักประกันสัญญา
หนังสือ ด่วนทีส่ ดุ ที ่ กค (กวพ) 0408.4/ว 130 ลว. 20 ต.ค. 49
1. ให้เฉพาะหลักประกันซอง
- เงินสด และ
นาเข้ าบัญชีเงินฝากประเภทเงินนอกฯ แล้ ว
- เช็คที่ธนาคารเซ็นสังจ่
่ าย
2. ผูเ้ สนอราคาที่ได้รบั คัดเลือกให้ทาสัญญาประสงค์จะนาใช้หลักประกันตามข้อ 1 มา
เป็ นหลักประกันสัญญา
3. ส่วนราชการต้องจัดให้มีการทาหลักฐาน การคืนหลักประกันซอง – การวาง
หลักประกันสัญญา ให้เสร็จภายในวันเดียวกันกับวันทาสัญญา
4. คู่สญ
ั ญาต้องนาหลักประกันซอง (เพิ่ม-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา
17
การกาหนดอัตราค่ าปรับในสั ญญา (ข้ อ134)
กรณี ซื้อ /จ้าง
 ไม่ต้องการผลสาเร็จของงานพร้อมกัน
ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – 0.20
ของราคาพัสดุทย่ี งั ไม่ได้รบั มอบ
กรณี งานจ้างก่อสร้าง
 ทีต่ ้องการผลสาเร็จของงานพร้อมกัน
ค่าปรับรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 –
0.10 ของราคางานจ้าง แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าวันละ 100 บาท
 การจ้างทีป่ รึกษา
ปรับรายวันในอัตรา/จานวนตายตัว ร้อยละ 0.01 – 0.10
18
การคิดค่ าปรับตามสั ญญา (ข้ อ 134)
เมื่อครบกาหนดสัญญา / ยังไม่มีการส่งมอบต้อง
“แจ้งการเรียกค่าปรับ” ตามสัญญาหรือข้อตกลง
คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกาหนดสัญญา/ข้อตกลง
“สงวนสิทธิป์ รับ” เมื่อส่งมอบของ/งาน เกินกาหนดตาม
สัญญาหรือข้อตกลง
เงื่อนไขสัญญาซื้อเป็ นชุด ให้ปรับทัง้ ชุด
สิ่งของราคารวมติดตัง้ /ทดลอง/ปรับตามราคาของทัง้ หมด
19
นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธ.ค. 43
คณะกรรมการ
- ตรวจรับพัสดุ
- ตรวจการจ้าง
เสนอความเห็น
1. การแก้ไข เปลี่ยนแปลง
สัญญา
2. การขยายระเวลาทาการ
ตามสัญญา การงด
หรือลด ค่าปรับ
หัวหน้ า
ส่วนราชการ
20
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (136)
หลัก
• ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง
ข้อยกเว้น
• กรณี จาเป็ น ไม่ทาให้ราชการเสียประโยชน์
• กรณี แก้ไขเพื่อประโยชน์ ของทางราชการ
 การแก้ไขฯ หากมีความจาเป็ นต้องเพิม่ หรือลด
วงเงิน หรือระยะเวลาส่งมอบของหรือระยะเวลา
ในการทางาน ให้ตกลงพร้อมกันไป
21
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2)
อานาจอนุมตั ิ แก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
• หัวหน้ าส่วนราชการ
** หลักการแก้ไขฯ **
- การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดาเนินการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกาหนด
ระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดาเนินการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
ได้ทาการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้
- ต้องทาสัญญาฉบับแก้ไขเพิ่มเติม เสมอ
22
การเปิดเผยราคากลางในระบบ e-GP
 แนวทางการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลางและการ
คานวณราคากลาง ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
กรณี มีการแก้ไขสัญญา :
ในกรณี ที่มีการแก้ไขสัญญาและมีผลกระทบต่อจานวน ปริมาณ ชนิดของวัสดุ พัสดุ
หรือเปลี่ยนแปลงชนิดของสินค้าหรือบริการหรือรูปแบบรายการจากที่เคยประกาศไว้ ให้เผยแพร่
รายละเอียดที่เกี่ยวกับสัญญาซึ่งได้มีการแก้ไขนัน้ ไว้ในระบบข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์อีกครัง้ เป็ น
เวลาอย่างน้ อย 30 วัน โดยให้ประกาศในระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลาง
(ระบบ e-GP) และ ในเว็บไซต์ของหน่ วยงานของรัฐที่จดั ซื้อจัดจ้างเช่นเดียวกัน
ระยะเวลาที่ประกาศ
(1) ให้ประกาศภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ที่ผม้ ู ีอานาจได้อนุมตั ิ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
(2) ในกรณี ที่มีเหตุสดุ วิสยั หรือเหตุจาเป็ นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้ อันเป็ นเหตุให้ ไม่สามารถ
ดาเนินการตามข้างต้นได้ ให้ประกาศภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
ระยะเวลาปลดประกาศ
ให้ประกาศเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ดังนัน้ จึงปลดประกาศเมื่อได้ประกาศครบ 30 วันแล้ว
23
อานาจอนุมตั ิ
• หัวหน้ าส่วนราชการ
สาเหตุ
(1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ
(2) เหตุสดุ วิสยั
(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ต้องรับผิด
24
วิธีการ
- คู่สญ
ั ญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน
นับแต่เหตุนัน้ ได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้งตามที่กาหนด จะยก
มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลามิได้
เว้นแต่กรณี ความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ ซึ่งมี
หลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตัง้ แต่ต้นฃ
- พิจารณาได้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึน้ จริง
25
แนววินิจฉัย กวพ.
(1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ
- หมายถึง ราชการผูว้ ่าจ้าง และราชการอื่นด้วย
(2) เหตุสดุ วิสยั – ป.พ.พ. มาตรา 8
(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ต้องรับผิด
– ป.พ.พ. มาตรา 205
 การขยายเวลา ใช้ในกรณี ยงั ไม่ครบกาหนดสัญญา
และยังไม่มีค่าปรับเกิดขึ้น
 การงด ลดค่าปรับ ใช้ในกรณี เลยกาหนดสัญญา
และมีค่าปรับเกิดขึ้นแล้ว
 ไม่ต้องทาสัญญาฉบับแก้ไขเพิม่ เติมก็ได้
26
ลงนาม
ครบกาหนด
แก้ ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
เปรียบเทียบการพิจารณา
ตามระเบียบพัสดุ 35
ลงนาม
ขยายเวลา
คู่สัญญาต้ องขอ และ ผู้มีอานาจ
อนุมัตภิ ายในวันครบกาหนด
ข้ อ
136
ข้ อ
139
ครบกาหนด
งด / ลดค่ าปรับ
27
ในการพิจารณางดหรื อลดค่ าปรั บ ตามระเบียบฯ 35 ข้ อ 139 (1) – (3)
ซึ่งเหตุดงั กล่ าวมีผลกระทบโดยตรงทาให้ ผ้ ูขายหรือผู้รับจ้ างไม่
สามารถส่ งมอบตามสัญญา ส่ วนราชการจะต้ องพิจารณาว่ า
คู่สัญญาได้ ปฏิบัตติ ามสัญญาอย่ างปกติตลอดมา และต้ องไม่ มี
พฤติการณ์ ท่ จี ะทิง้ งาน
มีเหตุอันควรงดหรื อลดค่ าปรั บ แม้ จะล่ วงเลยกาหนดเวลาส่ งมอบ
หรือแล้ วเสร็จตามสัญญาจนมีค่าปรับเกิดขึน้ แล้ วก็ตาม แต่ ต้องยังไม่
มีการตรวจรับงานงวดสุดท้ าย
28
การบอกเลิก
หลัก 1) มีเหต ุเชื่อได้ว่า ผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสรจ
ภายในเวลาที่กาหนด (137 วรรคหนึ่ง)
2) ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา/ข้อตกลง และค่าปรับจะเกิน 10 %
ของวงเงินทัง้ สัญญา เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ กให้
ผ่อนปรนได้เท่าที่จาเปน (138)
การตกลงเลิกสัญญาต่อกัน ทาได้เฉพาะเปนประโยชน์ /หรือเพื่อ
แก้ไขข้อเสียเปรียบของราชการหากปฏิบตั ิตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป
(137 วรรคสอง)
29
หนังสือคณะกรรมการว่ าด้ วยการพัสดุ
ด่ วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 267 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2555
ซักซ้ อมความเข้ าใจเกี่ยวกับการปฏิบัตติ ามระเบียบพัสดุฯ 35 ข้ อ 138
1. เมื่อครบกาหนด จนมีค่าปรั บเกิดขึน้ และค่ าปรั บจะเกินร้ อยละ 10 ให้
มีหนังสือแจ้ งบอกล่ าวคู่สัญญาว่ า ค่ าปรั บจะเกินร้ อยละ 10 แล้ ว และ
จะบอกเลิกสัญญาต่ อไป เว้ นแต่ ค่ ูสัญญาจะได้ มีหนังสือแจ้ งภายใน
เวลาที่กาหนด ยินยอมเสียค่ าปรั บโดยไม่ มีเงื่อนไขใดๆ
2. กรณีค่ ูสัญญามีหนังสือยินยอมเสียค่ าปรั บโดยไม่ มีเงื่อนไขใดๆ
ภายในเวลาที่กาหนด ให้ หวั หน้ าส่ วนราชการพิจารณาผ่ อนปรนการ
บอกเลิกสัญญาได้ เท่ าที่จาเป็ น โดยประเมินความคืบหน้ าการ
ดาเนินการตามสัญญาว่ า การผ่ อนปรนจะทาให้ ค่ ูสัญญาดาเนินการ
แล้ วเสร็จหรื อไม่ หรื อจะต้ องใช้ ดุลยพินิจว่ าจะบอกเลิกสัญญาหรื อไม่
ตามแนวทางดังนี ้
30
หนังสือคณะกรรมการว่ าด้ วยการพัสดุ
ด่ วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 267 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2555
2.1 กรณีควรผ่ อนปรน ให้ แจ้ งคู่สัญญาทราบดาเนินการตามสัญญาโดยเร็ว
คู่สัญญาต้ องกาหนดแผนและเวลาการดาเนินการแล้ วเสร็จให้ ชัดเจน
2.2 กรณีจะบอกเลิกสัญญา ให้ แจ้ งการบอกเลิกสัญญาไปยังคู่สัญญาโดยเร็ว
โดยทาเป็ นลายลักษณ์ อักษรพร้ อมกับแจ้ งการปรั บ และริบหลักประกัน
สัญญา (ถ้ ามี)
3. กรณีค่ ูสัญญามีหนังสือแจ้ งยินยอมเสียค่ าปรั บโดยมีเงื่อนไข หรื อไม่ มี
หนังสือแจ้ งความยินยอมภายในเวลาที่กาหนดโดยไม่ มีเหตุอันควร ให้ แจ้ ง
บอกเลิกสัญญาโดยเร็ว โดยทาเป็ นลายลักษณ์ อักษรพร้ อมกับแจ้ งการปรั บ
และริบหลักประกันสัญญา (ถ้ ามี)
31
ข้ อ
134
การพิจารณา
ตามระเบียบพัสดุ 35
ลงนาม
A
B
C
ข้ อ
138
ครบกาหนด
ค่าปรับ
แจ้งการเรียกค่าปรับ
(134 วรรคท้าย)
A
ข้ อ
137
A
ค่าปรับ
ค่าปรับ
ค่าปรับ
1 % 2 % 3% 4% 5% 6% 7% 8% 9%… 10% 11 % 12 % 13% 14%…
A
A
B
A
C
A
A
คือ ระเบียบ ข้อ 137 การบอกเลิกสัญญาหรือการตกลงเลิกสัญญา ซึ่งเป็ นดุลยพินิจของหัวหน้ าส่วนราชการ
คือ ข้อเท็จจริงกรณี ส่งมอบหลังครบกาหนด ซึ่งจะมีค่าปรับเกิดขึ้น โดยคิดตัง้ แต่วนั ถัดจากวันครบกาหนด
สัญญาเป็ นต้นไป จนถึงวันที่ส่งมอบถูกต้อง และให้สงวนสิทธ์ ิ ปรับ (ข้อ 134 วรรคท้าย)
คือ ระเบียบข้อ 138 เมื่อค่าปรับใกล้จะครบ 10% ต้องดาเนินการตามระเบียบ ข้อ 138 ประกอบ ว.267
ข้อสังเกต :
- วันครบกาหนด ตรงกับวันหยุดราชการ ให้นับวันทาการถัดไปเป็ นวันครบกาหนด ตามนัย ป.พ.พ. มาตรา 193/8
- หากมีการส่งมอบหลายครัง้ การคานวณค่าปรับ ให้นาระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจรับครัง้ ก่อนๆ (นับถัดจากวัน
ได้รบั หนังสือส่งมอบงาน – วันที่ค่สู ญ
ั ญาได้รบั หนังสือแจ้งว่า งานไม่ถกู ต้อง) หักออกด้วย
32
ส่ ง 1
20 ต.ค.
แจ้ งผล 1
16 พ.ย.
ลงนาม
ครบกาหนด
5 ม.ค.
31 ต.ค.
(วันเสาร์ )
ผล : งานไม่ ถูกต้ อง
ส่ ง 2
20 ธ.ค.
แจ้ งผล 2
28 ธ.ค.
ผล : งานถูกต้ อง
Y
มีผลย้ อนหลังไปถึงวันที่ส่งมอบ
X
ระยะเวลาที่เกิดปรับ (3 พ.ย. – 20 ธ.ค.) = X วัน
หัก ระยะเวลาตรวจรับ (21 ต.ค. – 16 พ.ย.) = Y วัน
จานวนวันที่นาไปคานวณค่าปรับ
= Z วัน
ค่าปรับ
% x วงเงิน x Z
100
33

/
X
( 137
(
,
/
)
)
≥
( 137
138)
,
<
/

:
:
/
/ 34