ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

การให้ บริการลิสซิ่ง เช่ าซื้อ
ปฐมเดช เอีย่ มศรี
รองผู้อานวยการ
ฝ่ ายปฏิบัติการสิ นเชื่อพิเศษ
ความสั บสนระหว่ างลิสซิ่งกับเช่ าซื้อ
การเช่ า
เป็ นวิธีจัดหา / จัดการเงินทุน (long term
เช่ าซื้อ (hire purchase) financing) อย่างหนึ่ง
ลิสซิ่ง (leasing)
จุดประสงค์
เพือ่ ให้ กจิ การได้ ใช้ ทรัพย์สินโดยมิต้องลงทุนจานวนมากในครั้งเดียว
แต่ เป็ นการทยอยจ่ าย
ความสั บสน
การเช่ าซื้อ กับ ลิสซิ่ง เป็ นความเหมือนทีแ่ ตกต่ างกัน
คล้ายฝาแฝด ‘ฝันดี – ฝันเด่ น’ต้ องแยกให้ ออก
การเช่ าซื้อ
ผู้เช่ า (leassee) จะต้ องวางเงินดาวน์ และทยอยผ่ อนค่ างวดตามข้ อตกลงในสั ญญา แต่ เมือ่ ผ่ อนครบกาหนด
ผู้ให้ เช่ า (lessor) จะต้ องโอนกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินทีใ่ ห้ เช่ าซื้อ
เป็ นสั ญญาทีเ่ จ้ าของทรัพย์ สินเอาทรัพย์ สินให้ เช่ า โดยมีข้อตกลงว่ าจะขายทรัพย์ สินนั้น
หรือให้ ทรัพย์ สินนั้นตกเป็ นของผู้เช่ า เมือ่ ผู้เช่ าได้ จ่ายเงินให้ เจ้ าของทรัพย์ สินตามจานวน
งวดตามทีต่ กลงกันไว้ เช่ น เจ้ าของรถยนต์ ตกลงให้ นาย ง.เช่ าซื้อรถยนต์ โดยจะต้ องจ่ ายค่ างวดให้ ทุก
เดือนตามทีต่ กลงไว้ จานวนกีเ่ ดือน เมือ่ ชาระเงินครบตามทีก่ าหนดไว้ ก็ตกลงจะไปโอนรถยนต์ น้ ัน
ให้ นาย ง.ต่ อไป
สาหรับการเช่ าซื้อรถยนต์ โดยทั่วไป หรือทีเ่ รียกว่ าการผ่ อนรถนั้น
ผู้เช่ าหรือทีเ่ รียกว่ าผู้ซื้อรถ ไม่ ได้ ผ่อนกับผู้ผลิตหรือผู้จาหน่ ายรถยนต์ โดยตรง แต่ ทาสั ญญาเช่ าซื้อ
(หรือผ่ อน)กับผู้ให้ สินเชื่อ ซึ่งอาจจะเป็ นบริษทั ในเครือกับผู้ผลิตหรือจาหน่ ายรถยนต์ กไ็ ด้
ในร่ างการเช่ าซื้อรถยนต์ เจ้ าของรถตามทีป่ รากฏในทะเบียนคือ บริษทั ผู้ให้ สินเชื่อหรือผู้ให้ เช่ าซื้อ
เมือ่ ผ่ อนชาระแล้ วผู้ให้ เช่ าซื้อจึงจะโอนรถให้ ผู้เช่ าซื้อในภายหลัง
ฉะนั้น ผู้เช่ าซื้อรถยนต์ ท้งั หลายอย่ าเข้ าใจผิดว่ า ตนเองมีกรรมสิ ทธิ์ในรถยนต์ ทเี่ ช่ าซื้อหรือผ่ อนส่ ง
การเช่ าแบบลิสซิ่ง
สั ญญาลิสซิ่ง จะระบุเงือ่ นไขให้ ผ้ ูเช่ าเลือก (bargaining in purchase option) ว่ าจะซื้อ/เช่ าต่ อ/หรือ
ยกเลิกสั ญญา
ลิสซิ่งเป็ นธุรกิจทีเ่ พิง่ จะเริ่มรู้ จักกันไม่ นานนัก จะเป็ นรูปแบบทีน่ ามาจากต่ างประเทศ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ในเรื่องเอกเทศสั ญญา มีบทบัญญัติเกีย่ วกับซื้อขาย
แลกเปลีย่ นให้ เช่ าทรัพย์ เช่ าซื้อ ฯลฯ แต่ ยงั ไม่ มบี ทบัญญัติเกีย่ วกับลิสซิ่งไว้ เป็ นการเฉพาะ
สั ญญาลิสซิ่ง
คือ คือสั ญญาทีเ่ จ้ าของทรัพย์ สินรถยนต์ (LESSOR)ให้ บุคคลอีกฝ่ ายหนึ่ง (LESSEE) ใช้ ประโยชน์
จากรถยนต์ น้ันได้ โดยมีเงือ่ นไขและข้ อจากัดตามทีร่ ะบุในสั ญญา และต้ องชาระราคาตามทีก่ าหนดไว้
ข้ อแตกต่ างของลิสซิ่งจากการให้ เช่ าทรัพย์
แม้ ว่า Leasing คือสั ญญาเช่ าทรัพย์ แต่ ในสั ญญาลิสซิ่งรถยนต์ ยังมีรายละเอียดซึ่ง
แตกต่ างจากสั ญญาเช่ าทรัพย์ คอื
- สั ญญาลิสซิ่งส่ วนมากจะมีข้อกาหนดว่ า ถ้ าเลิกสั ญญาก่ อนกาหนดจะต้ องเสี ยค่ าปรับ
ตามทีก่ าหนดไว้ ยิง่ เลิกสั ญญาเร็วขึน้ ค่ าปรับส่ วนนีก้ ม็ ากขึน้ ตามส่ วน โดยมากสั ญญาลิสซิ่งจะมี
ระยะเวลาทีย่ าวกว่ าการเช่ ารถธรรมดา เช่ น กาหนดระยะเวลาตั้งแต่ 2 ปี ถึง 4 ปี ซึ่งต่ างจากการเช่ ารถ
ทัว่ ไปที่เป็ นช่ วงระยะเวลาสั้ นๆ (ยกเว้ นการเช่ ารถทีใ่ ช้ ในส่ วนราชการทีม่ รี ะยะยาวเช่ นเดียวกัน)
- อาจมีค่าใช้ จ่ายเพิม่ ขึน้ เมือ่ สิ้นสุ ดสั ญญา เช่ น สิ้นสุ ดสั ญญาต้ องจ่ ายค่ าเสื่ อมสภาพทีเ่ กินกว่ าที่
กาหนดไว้ เป็ นต้ นว่ าไม่ รักษารถทาให้ มรี อยขีดข่ วน หรือเสี ยหายมากกว่ าทีค่ วรจะเป็ น หรือต้ องจ่ าย
ค่ าใช้ รถทีม่ รี ะยะทางการใช้ รถต่ อเดือนเกินกว่ าทีก่ าหนดไว้
- เมือ่ สั ญญาเช่ าสิ้นสุ ดลงส่ วนมากจะมีข้อตกลงว่ า ผู้เช่ าแบบลิสซิ่งจะซื้อรถนั้นหรือไม่ กไ็ ด้ เป็ น
ทางเลือกของผู้เช่ า ถ้ าตกลงซื้อก็จะต้ องจ่ ายค่ ารถนั้นเพิม่ ขึน้ อีกส่ วนหนึ่งตามทีก่ าหนดไว้
เมือ่ พิจารณาจากข้ อกาหนดทีว่ ่ า เมือ่ สั ญญาสิ้นสุ ดลงผู้เช่ าจะซื้อรถนั้น
หรือไม่ กไ็ ด้ เป็ นทางเลือกของผู้เช่ าแบบลิสซิ่ง
ซึ่งจะต่ างกับสั ญญาเช่ าซื้อ เพราะสั ญญาเช่ าซื้อนั้นกาหนดไว้ เลยว่ า
กรรมสิ ทธิ์จะตกเป็ นของผู้เช่ าซื้อเมือ่ ชาระครบ แต่ สัญญาลิสซิ่งเปิ ด
ทางเลือกว่ าจะซื้อหรือไม่ กไ็ ด้ หากซื้อก็จ่ายเงินเพิม่ ตามที่กาหนด
ในอดีตประมวลรัษฎากรได้ เคยให้ นิยามของ “ลิสซิ่ง” ไว้ ในประกาศอธิบดี
กรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีอากร (ฉบับที่ 53) พ.ศ. 2534 ดังนีค้ รับ
“การให้ เช่ าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง หมายความว่ า การให้ เช่ าทรัพย์สินที่ซื้อมาเพือ่ การ
ให้ เช่ าแก่ กจิ การอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม เป็ นการค้ าปกติ โดย
ผู้เช่ ามีหน้ าทีต่ ้ องบารุ งรักษาและซ่ อมแซมทรัพย์ สินทีเ่ ช่ า ต้ องรับผิดต่ อผู้ให้ เช่ าใน
ความสู ญหายหรือบุบสลายใด ๆ อันเกิดแก่ทรัพย์สินที่เช่ า ไม่ ว่าด้ วยประการใด
และผู้เช่ าจะบอกเลิกสั ญญาก่ อนกาหนดฝ่ ายเดียวไม่ ได้ แต่ ผ้ เู ช่ าสามารถจะเช่ าต่ อหรือ
จะซื้อทรัพย์สินหรือส่ วนใดส่ วนหนึ่งของทรัพย์สินที่เช่ าด้ วยค่ าเช่ าหรือราคาที่ตกลง
กันโดยคานึงถึงเงินทีจ่ ่ ายไปแล้ วในรู ปค่ าเช่ าได้ ”
(ขณะนี้ ประกาศอธิบดี # 53 ดังกล่ าวได้ ถูกยกเลิกไปแล้ ว)
สรุ ปข้ อเปรียบเทียบของสั ญญา
หลักการของสั ญญาทีเ่ ป็ นส่ วนสาคัญ อาจเป็ นข้ อสรุ ปได้ ดงั นี้
- สั ญญาซื้อขาย กรรมสิ ทธิ์โอนไปเป็ นของผู้ซื้อ เมือ่ จ่ ายเงินค่ าซื้อขาย เว้ นแต่ จะมี
ข้ อตกลงผ่อนเป็ นงวดๆ
- สั ญญาเช่ าทรัพย์ กรรมสิ ทธิ์จะตกไปเป็ นของผู้เช่ าซื้อเมือ่ ชาระครบตามงวดที่กาหนด
แต่ ผ้ เู ช่ ามีสิทธิครอบครองหรือใช้ สอยทรัพย์ สินนั้น ตามกาหนดเวลาโดยจ่ ายค่ าเช่ า
- สั ญญาเช่ าซื้อ ผู้เช่ าซื้อได้ ครอบครองทรัพย์ สินและใช้ ประโยชน์ จากทรัพย์ โดย
จ่ ายเงินให้ ผ้ ใู ห้ เช่ าซื้อเป็ นงวดๆ เมือ่ ครบงวดกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ตกเป็ นของผู้เช่ า
ซื้อ
- สั ญญาลิสซิ่ง ผู้เช่ ามีสิทธิครอบครองทรัพย์ สินและใช้ ประโยชน์ จากทรัพย์สิน โดย
จ่ ายค่ าตอบแทนเป็ นรายเดือน จะเลิกสั ญญาก่อนก็ได้ แต่ เสี ยค่ าปรับ เมือ่ สิ้นสุ ด
สั ญญาผู้เช่ าจะซื้อทรัพย์ สินนั้นหรือไม่ กไ็ ด้ เป็ นทางเลือกของผู้เช่ า หากตกลงซื้อ
ทรัพย์สินจะต้ องจ่ ายเงินเพิม่ อีกส่ วนหนึ่ง
เช่ าทรัพย์ -Hire of Property หรือ Rent
เป็ นสั ญญาประเภทหนึ่งทีบ่ ุคคลหนึ่งเรียกว่ าผู้ให้ เช่ าตกลงให้ บุคคลอีกคน
หนึ่งได้ ใช้ หรือได้ รับประโยชน์ จากทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่ างใดตาม
ระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ โดยผู้เช่ าต้ องจ่ ายค่ าเช่ าให้ ผ้ ใู ห้ เช่ าตามที่ตกลงไว้ เช่ น
นาย ก.ให้ นาย ข.เช่ ารถยนต์ เป็ นเวลา 7 วัน ตกลงค่ าเช่ ากันวันละ 1,000
บาท นาย ข.สามารถใช้ รถยนต์ น้ันได้ ตามที่ตกลง หรือทีท่ าเป็ นธุรกิจคือ
กิจการให้ เช่ ารถยนต์ ท้งั ไทยทั้งเทศ สาหรับการใช้ บริการรถแท็กซี่น้ัน
ผู้ใช้ บริการรถแท็กซี่ไม่ ใช่ ผ้ เู ช่ า แต่ เป็ นการจ้ าง ผู้ขับรถแท็กซี่เป็ นผู้รับจ้ าง
ส่ วนคนขับแท็กซี่อาจเป็ นผู้เช่ ารถจากเจ้ าของอู่แท็กซี่อกี ทอดหนึ่ง
ในปัจจุบันส่ วนราชการหลายแห่ งนิยมเช่ ารถ ทั้งรถประจาตาแหน่ ง และรถยนต์
กลาง แทนการซื้อกันมาก ทั้งนีน้ ่ าจะเป็ นการประหยัดค่ าใช้ จ่ายมากกว่ าการซื้อ
การให้ บริการเช่ าซื้อ Hire Purchase
การเช่ าซื้อ
เช่ าซื้อ
เป็ นวิธีทงี่ ่ ายทีส่ ุ ดในการเป็ นเจ้ าของ เมอร์ ซิเดส-เบนซ์ เพียงท่ านจ่ าย เงินดาวน์ ตามทีต่ กลงไว้
กับบริษทั ผู้จาหน่ ายรถยนต์ อย่ างเป็ นทางการของ บริษัท เดมเลอร์ ไครสเลอร์ (ประเทศไทย)
จากัด และผ่ อนชาระเงินที่เหลือ พร้ อม ดอกเบีย้ เป็ นรายเดือน เมือ่ สิ้นสุ ดสั ญญาสิ ทธิในการ
ครอบครองก็จะตกเป็ นของ ผู้ซื้อทันที อัตราดอกเบีย้ ทีค่ ุณจ่ ายเป็ นอัตราตายตัว หมายความว่ า
ตลอดระยะ เวลาของการผ่ อนชาระคุณจะทราบว่ า ต้ องชาระ เป็ นจานวนเงินเท่ าไหร่ ต่ อเดือน
ประโยชน์ ของการผ่ อนชาระแบบ เช่ าซื้อ-สิ ทธิในการเป็ นเจ้ าของรถยนต์ -สามารถเลือก
กาหนดเวลาในการชาระเงินได้ -สามารถเลือกกาหนดเวลาการผ่ อนชาระ – โดยปกติ 12 –
48 เดือน และ-เพิม่ วงเงินสิ นเชื่อ
เหล่ านีค้ อื ผลประโยชน์ ทคี่ ุณจะได้ รับเมือ่ คุณเลือกซื้อรถเมอร์ ซิเดส-เบนซ์ ด้ วยระบบการเช่ าซื้อ
เชิญสอบถามข้ อมูลเพิม่ เติมได้ ทบี่ ริษทั จาหน่ าย รถยนต์ อย่ างเป็ นทางการของบริษัท เดมเลอร์ ไค
รสเลอร์ (ประเทศไทย) จากัด ทุกแห่ ง
:: ประมวลกฏหมายแพ่ ง มาตราที่ 572-574
มาตรา 572 อันว่ าเช่ าซื้อนั้น คือสั ญญาซึ่งเจ้ าของเอาทรัพย์ สิน ออกให้ เช่ า และให้ คามั่นว่ า
จะขายทรัพย์ สินนั้น หรือว่ าจะให้ ทรัพย์ สิน นั้นตกเป็ นสิ ทธิแก่ ผู้เช่ า โดยเงือ่ นไขที่ผู้เช่ าได้ ใช้
เงินเป็ นจานวน เท่ านั้นเท่ านีค้ ราว
สั ญญาเช่ าซื้อนั้นถ้ าไม่ ทาเป็ นหนังสื อ ท่ านว่ าเป็ นโมฆะ
มาตรา 573 ผู้เช่ าจะบอกเลิกสั ญญาในเวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ ด้ วยส่ งมอบทรัพย์ สินกลับคืน
ให้ แก่ เจ้ าของโดยเสี ยค่ าใช้ จ่ายของตนเอง
มาตรา 574 ในกรณีผดิ นัดไม่ ใช้ เงินสองคราวติด ๆ กัน หรือ กระทาผิดสั ญญาในข้ อที่เป็ น
ส่ วนสาคัญเจ้ าของทรัพย์ สินจะบอกเลิก สั ญญาเสี ยก็ได้ ถ้ าเช่ นนั้นบรรดาเงินที่ได้ ใช้ มาแล้ ว
แต่ ก่อน ให้ ริบ เป็ นของเจ้ าของทรัพย์ สิน และเจ้ าของทรัพย์ สินชอบที่จะกลับเข้ า ครอง
ทรัพย์ สินนั้นได้ ด้วย
อนึ่ง ในกรณีกระทาผิดสั ญญาเพราะผิดนัดไม่ ใช้ เงินซึ่งเป็ นคราว ที่สุดนั้นท่ านว่ า
เจ้ าของทรัพย์ สินชอบที่จะริบบรรดาเงินที่ได้ ใช้ มา แล้ วแต่ ก่อน และกลับเข้ าครอง
ทรัพย์ สินได้ ต่ อเมื่อระยะเวลาใช้ เงิน ได้ พ้นกาหนดไปอีกงวดหนึ่ง
โปรแกรมสาเร็จรู ปด้ านการเช่ าซื้อ
เป็ นโปรแกรมบริหารงานเช่ าซื้อ ซึ่งมีคุณสมบัตพิ เิ ศษรองรับลักษณะงานที่
แตกต่ างจากสิ นเชื่อทัว่ ไปต่ างๆ
• การตั้งการ์ ดลูกหนี้ ,
• การคาณวนค่ าปรับ
• ค่ าติดตาม
• การแบ่ งจ่ ายค่ างวด
• ระบบการติดตามหนีท้ มี่ ปี ระสิ ทธิภาพและรวดเร็ว
• สามารถ ส่ ง SMS (Short Message Service) เตือนให้ ชาระหนีไ้ ด้
• รองรับหลักทรัพย์ หลายรู ปแบบ ไม่ ว่าจะเป็ น เครื่องใช้ ไฟฟ้า , รถยนต์ ,
รถจักรยานยนต์ , อสั งหาริมทรัพย์ , เครื่องประดับ , เฟอร์ นิเจอร์
• สามารถ จัดระดับ ลูกหนี้ , พิมพ์สัญญา ,หนังสื อเตือน , ใบเสร็จรับเงิน , ใบกากับ
ภาษี และ รายงานเชิงวิเคราะห์ ต่ างๆ
รายละเอียดของวิธีปฏิบตั ิงานในบริการเช่ าซื้อ
1.ระบบการบันทึกรหัสเบือ้ งต้ น> บันทึกรหัสเขตของพนักงานเก็บเงิน
> บันทึกรหัสทีมของพนักงานเก็บเงิน
> บันทึกประเภทบัตร (เอกสารที่ใช้ ทาสัญญา)
> บันทึกรหัสผู้ใช้ งานโปรแกรม
> บันทึกรหัสประเภทเครื่องใช้ ไฟฟ้า
> บันทึกรหัสยีห่ ้ อเครื่องใช้ ไฟฟ้า
> บันทึกสินทรัพย์ ประเภทเครื่องใช้ ไฟฟ้า
> บันทึกรหัสประเภทรถ
> บันทึกรหัสยีห่ ้ อรถ
> บันทึกสินทรัพย์ ประเภทรถ
> บันทึกรหัสประเภทอสังหาริมทรัพย์
> บันทึกสินทรัพย์ ประเภทอสังหาริมทรัพย์
> บันทึกรหัสประเภทอืน่ ๆ
> บันทึกรหัสยีห่ ้ ออืน่ ๆ
> บันทึกสินทรัพย์ ประเภทอืน่ ๆ
ระบบการ์ ดลูกหนีแ้ ละออกเอกสารการรับชาระหนี>
้ บันทึกรหัสผู้เช่ าซื้อ และ ผู้คา้ ประกัน
> บันทึกการ์ ดลูกหนี้
> บันทึกรหัสและอัตราค่าติดตาม
> บันทึกค่าติดตามหนี้
> บันทึกใบรับฝากเงิน
> บันทึกการนัดหมาย
> บันทึกใบเสร็จรับเงินชั่วคราว
> บันทึกใบเสร็จรับเงิน
> บันทึกใบกากับภาษี
ระบบการรายงาน> รายงานประวัตลิ ูกหนี้
> รายงานการค้ างชาระหนี้
> รายงานค่ าติดตามหนี้
> รายงานการรับฝากเงิน
> รายงานการนัดหมาย
> พิมพ์สัญญาเช่ าซื้อ
> พิมพ์หนังสื อเตือน
> ส่ ง SMS เพือ่ เตือนให้ ชาระหนี้
> พิมพ์จ่าหน้ าซองจดหมาย
> รายงานการรับเงินจากใบเสร็จรับเงินชั่วคราว
> รายงานการรับเงินจากใบเสร็จรับเงิน
> รายงานการรับเงินจากใบกากับภาษี
> รายงานเชิงวิเคราะห์
2.อรรถประโยชน์ > บันทึกค่ าเริ่มต้ นระบบ
> บันทึกการตั้งเลขทีเ่ อกสาร
> บันทึกการกาหนดอัตราค่ าปรับ
> บันทึกการกาหนดอัตราส่ วนลดเมือ่ ปิ ดบัญชี
> Database Switches
3.สารองข้ อมูล
> เรียกคืนข้ อมูล
> บันทึกการตั้งค่ าเริ่มต้ นสาหรับส่ ง SMS (Short Message Service)
4. ระบบช่ วยเหลือการใช้ งานโปรแกรม
คุณสมบัติพเิ ศษ> ไม่ จัดจานวนการ์ ดลูกหนีแ้ ละปริมาณข้ อมูล
> ทางานกับฐานข้ อมูลได้ 5 กิจการโดยใช้ Database Switches
5.จัดระดับของลูกหนีเ้ พือ่ เก็บประวัติในการพิจรณาสิ นเชื่อเมือ่ ลูกค้ ารายเดิมกับมาใช้ บริการอีก
> พิมพ์สัญญา และ หนังสื อเตือนได้
> รองรับอัตราดอกเบีย้ ต่ อ วัน , เดือน , ปี หรือ กาหนดเอง
> รองรับการเก็บเงินค่ างวด แบบ วัน , เดือน , ปี หรือ กาหนดเอง
> สามารถการแบ่ งจ่ ายค่ างวดได้
> สามารถใส่ รูปภาพผู้เช่ าซื้อ , ผู้คา้ ประกัน และ รูปภาพแผนที่ เข้ าไปกับระบบประวัติได้
> คาณวนค่ าปรับอัตโนมัติ พร้ อมทั้ง กาหนดค่ าติดตามหนีเ้ องได้
> สามารถบันทึกการนัดหมายต่ างๆ ได้ เช่ น นัดเก็บเงิน , นัดขึน้ ศาล , นัดฟ้ องศาล หรือ นัดทา
สั ญญา เป็ นต้ น
> มีระบบการรายงานการค้ างชาระทีส่ มบรู ณ์แบบ
> มีระบบการรายงานข้ อมูลเชิงวิเคราะห์ อาทิเช่ น ยอดปล่ อยสิ นเชื่อ , สถานะของลูกหนีโ้ ดยรวม
ฯลฯ เพือ่ การวิเคราะห์ เชิงบริหาร
> รองรับการรายงานการครบกาหนดต่ อประกัน พ.ร.บ และ ภาษี ของหลักทรัพย์ ประเภทรถ
> เชื่อมโยงการส่ ง SMS กับโทรศัพท์ มอื ถือโดยใช้ สาย Data link *
> ออกแบบให้ ทางานบนระบบปฏิบัติการ Windows 95,98,Me,NT,2000,2003,XP ทาให้ ง่ายต่ อ
การใช้ งาน
ลิสซิ่งตามหลักการบัญชี
ตามมาตรฐานการบัญชี (ฉบับที่ 29) เรื่อง การบัญชีสาหรับสั ญญาเช่ าระยะยาว
แบ่ งรู ปแบบการเช่ าแบบลิสซิ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
(1) สั ญญาเช่ าดาเนินงาน (Operating Lease) และ
(2) สั ญญาเช่ าการเงิน (Financial Lease)
สั ญญาเช่ าดาเนินงาน
เป็ นการเช่ าทรัพย์ มาเพือ่ ใช้ ประโยชน์ เพียงระยะเวลาช่ วงหนึ่ง โดยมิได้ มุ่ง
หมายที่จะซื้อทรัพย์ สินนั้น
เมื่อครบกาหนดตามสั ญญาเช่ าจึงไม่ มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ไปยังผู้เช่ า
นอกจากนี้ ผู้เช่ ามีสิทธิ์นา
ทรัพย์ สินไปให้ เช่ าช่ วงได้ และยังมีสิทธิ์บอกเลิกสั ญญาก่อนครบกาหนดได้
กล่าวโดยสรุปสั ญญาเช่ า ชนิดนีก้ ค็ อื การเช่ าทรัพย์ สินทัว่ ๆ ไป ทีเ่ ราคุ้นเคย
กันอยู่นั่นเอง
เช่ าดาเนินงาน
เมือ่ เลือกข้ อเสนอในรูปแบบ สั ญญาเช่ าแบบดาเนินงาน
= ต้ องการใช้ รถยนต์ โดยไม่ ต้องการครอบครองกรรมสิ ทธิ์ในการเช่ ารถยนต์
วิธีนีเ้ ป็ นการเช่ า ภายในระยะเวลาและระยะทางทีก่ าหนดไว้ ในสั ญญา
โดยค่ าเช่ ารถต่ อเดือน ซึ่งคุณเป็ นผู้กาหนดจะคิดจากราคารถใหม่ (ไม่ รวม VAT) หักลบด้ วยราคารถ
เมือ่ สิ้นสุ ดสั ญญาในระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ บวกกับ ค่ าบริการทางด้ านการเงินนั้น หมายถึง มีการนามูลค่ า
รถตามราคา ท้ องตลาด ในอนาคตไปหักออกจากราคารถจริง ทาให้ จานวนเงินทีต่ ้ องนามา คานวณ
มีมูลค่ าลดน้ อยลงไปเพือ่ เป็ นการช่ วยลดภาระ ค่ าใช้ จ่ายในการผ่ อน ชาระต่ องวดให้ น้อยลงตามไปด้ วย
หลังสิ้นสุ ดสั ญญาคุณสามารถคืนรถหรือเลือกซื้อในราคาท้ องตลาดเวลานั้นประโยชน์ ของการเช่ าแบบ
สั ญญาเช่ าเพือ่ ดาเนินงาน-เป็ นผู้ใช้ รถไม่ ผูกมัดในการเป็ นเจ้ าของรถยนต์ -ขจัดปัญหาเรื่องค่ าใช้ จ่ายใน
การลงทุน-ราคารถไม่ ปรากฏในงบดุล-ขจัดภาระในการขายหลังสิ้นสุ ดสั ญญา-สิ ทธิประโยชน์ ในการ
บันทึกภาษี*
สั ญญาเช่ าการเงิน
คือการให้ เช่ าทรัพย์ สินแบบลิสซิ่งทีแ่ ท้จริงตามทฤษฎีนั่นเอง สั ญญาเช่ า
ประเภทนีม้ ีลกั ษณะคล้ายการให้ สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ แต่ เป็ นการให้
สิ นเชื่อในรูปของทรัพย์ สิน (แทนทีจ่ ะให้ เป็ นเงิน) โดยผู้เช่ า (Lessee) จะเป็ น
ผู้เลือกประเภท คุณลักษณะ รวมทั้งผู้จาหน่ ายเอง แล้วแจ้ งให้ ผู้ให้ เช่ า
(Lessor) เป็ นผู้ซื้อทรัพย์ สินดังกล่าวเพือ่ นามาให้ ผู้เช่ าเช่ าสั ญญาประเภทนี้
มักกาหนดเงื่อนไขว่ าผู้เช่ ามีสิทธิ์เลือกทีจ่ ะซื้อทรัพย์ สินดังกล่าวได้ เมื่อ
สั ญญาเช่ าสิ้นสุ ดลงและราคาทีผ่ ู้ให้ เช่ าขายก็มักเป็ นราคาตามมูลค่ าในบัญชี
ซึ่งมักต่ากว่ าราคาตลาด (Ridiculous Amount) ลักษณะของ Financial
Lease จึงเป็ นการมุ่งโอนกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินทีเ่ ช่ า
เช่ าแบบการเงิน
เมือ่ ตกลงเลือกข้ อเสนอแบบ สั ญญาเช่ าแบบการเงิน
=สามารถ เลือกทีจ่ ะกาหนดระยะเวลาในการเช่ าได้
เป็ นทางเลือกทีน่ ่ าสนใจสาหรับผู้ประกอบธุรกิจ ทีจ่ ะได้ เปรียบทางด้ านภาษี ภายหลังสิ้นสุ ดสั ญญา
จะได้ รับกรรมสิ ทธิ์ใน การครอบครองรถยนต์ ผลประโยชน์ ท้งั หลาย ๆ อย่ างจากการเลือก
สั ญญาเช่ า แบบการเงิน
-- ประโยชน์ ของการเช่ าแบบ สั ญญาเช่ าแบบการเงิน
--ปรับปรุงกระแสเงินหมุนเวียนให้ ดขี นึ้
--ได้ รับกรรมสิ ทธิ์ครอบครองรถยนต์
--การผ่ อนชาระเท่ ากันทุกเดือน
-ผลประโยชน์ ทางด้ านภาษี *
มาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 29 วางหลักเกณฑ์ ว่าเมือ่ เข้ าเงือ่ นไขข้ อใดข้ อหนึ่งหรื อมากกว่ าต่ อไปนีก้ ็
จะ
ถือว่ าเป็ นสั ญญาเช่ าการเงิน
(ก)สั ญญาเช่ าโอนความเป็ นเจ้ าของในทรัพย์ สินไปให้ ผ้ ูเช่ า ณ วันสิ้นสุ ดแห่ งสั ญญาเช่ า
(ข) สั ญญาเช่ าระบุให้ ผู้เช่ ามีสิทธิเลือกทีจ่ ะซื้อทรัพย์ สินทีเ่ ช่ าได้ ในราคาทีต่ ่ากว่ าราคายุติธรรม ณ
วันทีส่ ิ ทธิ์การเลือกทีจ่ ะซื้อได้ น้ ันมีผลบังคับ โดยราคาทีต่ ่ากว่ านั้นมีจานวนมากเพียงพอทีจ่ ะทา
ให้ แน่ ใจได้ ตามสมควร ณ วันทีท่ าสั ญญาเช่ าว่ าผู้เช่ าจะใช้ สิทธิเลือกทีจ่ ะซื้อทรัพย์ สินนั้นแน่ นอน
(คณะอนุกรรมการมาตรฐานการบัญชีเห็นว่ าควรมีราคา  5% ของราคายุติธรรมของ
ทรัพย์ สิน ณ วันเริ่มต้ นของสั ญญาเช่ า)
(ค) กาหนดระยะเวลาสั ญญาเช่ ามีเวลานาน ซึ่งครอบคลุมอายุการใช้ งานส่ วนใหญ่ ของทรัพย์ สินที่
เช่ า ทั้งนี้ โดยไม่ คานึงถึงว่ าในทีส่ ุ ดแล้ วจะมีการโอนกรรมสิ ทธิ์กนั หรือไม่ กต็ าม
(คณะอนุกรรมการมาตรฐานการบัญชีเห็นว่ าควร  80% ของอายุใช้ งานโดยประมาณของ
ทรัพย์ สินทีเ่ ช่ า)
(ง) ราคาปัจจุบนั ณ วันเริ่มต้ นสั ญญาของจานวนเงินขั้นต่าทีต่ ้ องจ่ ายตามสั ญญาเช่ าเท่ ากับหรือ
มากกว่ าส่ วนใหญ่ ของราคายุติธรรมทั้งหมดของทรัพย์ สินทีเ่ ช่ าทีส่ ุ ทธิจากเงินอุดหนุนและเครดิต
ภาษีทผี่ ู้ให้ เช่ าได้ รับ (ถ้ ามี) ณ ขณะนั้น ทั้งนีโ้ ดยไม่ คานึงถึงว่ าในที่สุดแล้ วจะมีการโอน
กรรมสิ ทธิ์กนั หรือไม่ กต็ าม (คณะอนุกรรมการมาตรฐานการบัญชีเห็นว่ าควร  90% ของ
ราคายุติธรรมของทรัพย์ สิน ณ วันทาสั ญญา)
เทคนิคการบัญชีลสิ ซิ่ง… เพือ่ ให้ งบดูดแี ละเสี ยภาษีต่า
การดาเนินธุรกิจลิสซิ่งของผู้ให้ เช่ าหรือบริษัทลิสซิ่งทั้งหลาย จะสามารถทาให้
ผู้ประกอบการลิสซิ่งมีเกราะป้ องกันทางด้ านภาษีและปลอดภาระภาษีได้ โดยตลอด
ถ้ าหากมีการขยายปริมาณธุรกิจได้ อย่ างต่ อเนื่อง
โดยก่อนทีจ่ ะมี GAAP # 29 บริษัทลิสซิ่งส่ วนใหญ่ มักบันทึกรายการบัญชีแบบ
Financial Lease ในขณะทีก่ ารยืน่ แบบแสดงรายการเสี ยภาษีแบบ Operating Lease
จะทาให้ มีงบการเงินที่แสดงผลการดาเนินงานทีด่ ี และไม่ มีภาระภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
ต่ อมาเมือ่ มีการประกาศใช้ GAAP # 29 กาหนดให้ การจัดทางบการเงินจะต้ องพิจารณา
ถึงประเภทของสั ญญาลิสซิ่งว่ าเป็ น Financial Lease หรือ Operating Lease
แต่ บริษัทลิสซิ่งส่ วนใหญ่ กย็ งั สามารถยึดวิธีการบันทึกบัญชีเช่ นเดิมเพราะการทา
สั ญญาส่ วนใหญ่ จะมีลกั ษณะเป็ น Financial Lease แต่ ในแง่ ภาษีอากรก็ยงั คงใช้
หลักการ Operating Lease ในทุกสั ญญา
ตัวอย่ าง
มูลค่ าทรัพย์ สินทีใ่ ห้ เช่ าปี ละ 100 ล้านบาท
เงินมัดจา
20 %
อัตราดอกเบีย้ รับ
15 % ต่ อปี
อายุสัญญา
3 ปี
ต้ นทุนดอกเบีย้ จ่ าย
10 % ต่ อปี
ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญ
1 % ของลูกหนีต้ ามสั ญญา
ค่ าใช้ จ่ายขายและบริหาร
3 % ของมูลค่ าทรัพย์ สินทีใ่ ห้ เช่ า
ค่ าใช้ จ่ายทางตรงเริ่มต้ น
1 % ของลูกหนีต้ ามสั ญญา
โครงการการความร่ วมมือกับ อบต.และสสว.เพือ่ ให้ ลสิ ซิ่งฟาร์ มไก่
ผู้ให้ ก้ ู
ผู้ร่วมทุน
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อมแห่ งประเทศไทย
1.สานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
2.อบต.
จานวนฟาร์ มให้ ลสิ ซิ่ง 10 ฟาร์ ม / อบต. จานวนอบต.500 แห่ ง รวม
5,000 ฟาร์ ม
จานวนเงินให้ ก้ แู ละร่ วมลงทุนต่ อฟาร์ ม
4 ล้านบาท(ธพว. 2 ล้านบาทสสว. 1 ล้านบาท และ อบต.1
ล้าน
บาท) ต่ อราย
ประเภทฟาร์ ม EVAP เงินที่ให้ 4 ล้านบาท สามารถเลีย้ งไก่ได้ ดังนี้
1.ไก่เนือ้ 25,000 ตัว /ฟาร์ ม = 2 เล้า
2.ไก่ไข่ ได้ 14,000 ตัว /ฟาร์ ม = 2 เล้า
ระยะเวลาการให้ ลสิ ซิ่ง 5 ปี ของต้ นเงิน 2 ล้านบาท
โดยสมมุติฐานว่ าใช้ เวลา 2 ปี จึงจะ Break-even
กรณีไก่เนือ้ ให้ จาหน่ าย 6 รอบต่ อปี กาไร 20% ที่นามาจ่ ายค่ าเช่ าได้
ดอกเบีย้
3.5%
4.0%
5.0%
ระยะเวลาผ่ อน
60 เดือน
ค่ าเช่ าต่ อเดือน
36,383 บาท 36,833 บาท 37,742 บาท
ประมาณการรายได้จากการขายไก่เนื้อ
จานวนไก่ 25,000 ตัว ราคาขายตัวละ 65 บาท (2.2 กก.x 30 บาท)
รายได้รวมต่อปี (6 รอบ)
9,750,000 บาท
กาไร 20%
1,560,000 บาท/ปี
หัก 10% จ่ายเป็ นค่าเช่า
780,000 บาท
75% บาท
ต่อวัน อัตรากาไร 30%
ความสามารถจ่กรณี
ายค่ขาองไก่
เช่าต่ไอข่เดือผลผลิ
น ต65,000
จานวนไก่ 14,000 ตัว ผลผลิตไข่ต่อปี
คานวณจาก 360 วัน
รายได้รวมต่อปี (ฟองละ .1.5 บาท)
กาไร 15%
3,780,000 ฟอง
บาท
850,500 บาท/ปี
5,670,000