ซอฟต์แวร์ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

Download Report

Transcript ซอฟต์แวร์ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

167101
Computer in Business
บทที่ 2
ซอฟต์ แวร์
อ. ธารารัตน์ พวงสุ วรรณ
ม.บูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
[email protected]
เนือ้ หา
•
•
•
•
•
•
•
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์แยกตามกลุ่มงาน
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์
• ซอฟต์แวร์ เป็ นชุดคาสัง่ ของโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมนามา
รวมกันเพื่อให้สามารถทางานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่
ต้องการ
• ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
– ซอฟต์ แวร์ ระบบ
– ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
• ซอฟต์ แวร์ ระบบใช้สาหรับจัดการฮาร์ดแวร์และรายละเอียด
ทางด้านเทคนิคต่างๆ
• ซอฟต์แวร์ ระบบแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบตั ิการ และ
โปรแกรมอัตถประโยชน์
ซอฟต์ แวร์
• ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ จะใช้สาหรับการทางานเฉพาะ
• สามารถแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออก เป็ น 2 ประเภท
– โปรแกรมใช้เฉพาะด้าน
– โปรแกรมสาเร็ จรู ป
ระบบปฏิบัตกิ าร
• ชุดของโปรแกรมที่อยูร่ ะหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ประยุกต์
• มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบตั ิงานของฮาร์ดแวร์
• และสนับสนุนคาสัง่ ในการทางานของฮาร์ดแวร์ให้กบั ซอฟต์แวร์
ประยุกต์
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
1. ติดต่อกับผูใ้ ช้ (User Interface) ผูใ้ ช้สามารถติดต่อหรื อควบคุม
การทางานของเครื่ องผ่านทางระบบปฏิบตั ิการได้ แบ่งออกได้
เป็ น 2 ประเภทดังนี้
1)ประเภทคอมมานด์ ไลน์ (Command Line) อนุญาตให้ป้อน
รู ปแบบคาสัง่ ที่เป็ นตัวหนังสื อ(text)
• สัง่ การลงไปทีละบรรทัดคาสั่ง
เรี ยกว่า คอมมานไลด์ (command line)
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
2) ประเภทกราฟิ ก (GUI - Graphical User Interface)
• นาเอารู ปภาพมาปรับใช้สงั่ งานแทนตัวอักษร
• เช่น ในระบบปฏิบตั ิการ Windows ซึ่งผูใ้ ช้ไม่จาเป็ นต้องจดจา
รู ปแบบคาสัง่ เพื่อใช้งานให้ยงุ่ ยากเหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์
• เพียงแค่เลือกรายการคาสัง่ ภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์
ต่างๆ เช่น เมาส์หรื อ คียบ์ อร์ด
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
2. การควบคุมการทางานของอุปกรณ์และเครื่ องคอมพิวเตอร์
• เพื่อให้ การทางานของระบบเป็ นไปอย่ างถูกต้ องและสอดคล้ อง
กัน แบ่งหน้าที่ในการจัดการทรัพยากรได้เป็ น 4 กลุ่ม คือ
–
–
–
–
การจัดการงาน ( Process Management )
การจัดการหน่วยความจา (Memory Management )
การจัดการแฟ้ ม ( File Management )
การจัดการอุปกรณ์ ( I/O Management )
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
• การจัดการงาน ( Process Management )
• งานที่เราจะทาการประมวลผล แต่ละโปรเซสจะมีการกาหนดทรัพยากร
ในการใช้ที่แน่นอน เช่น
–
–
–
–
เวลาในการใช้ CPU
การใช้หน่วยความจา
การรับข้อมูล
การแสดงผล
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
• การจัดการหน่ วยความจา (Memory Management )
– ติดตามการใช้งานหน่วยความจาส่ วนต่างๆว่าทาอะไรเป็ น
ของใคร
– ติดสิ นใจว่าจะโหลดโปรเซสใดเข้าไปยังหน่วยความจาส่ วนที่
ว่าง
– จัดสรรหน่วยความจาเมื่อมีความจาเป็ นต้องใช้หน่วยความจา
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
• การจัดการแฟ้ ม ( File Management ) ระบบปฏิบตั ิการจะทา
หน้าที่ในการส่ งถ่ายข้อมูลลงไปจัดเก็บในอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูล
• สร้างและลบไฟล์
• สร้างและลบไดเรกทอรี
• สนับสนุนการจัดการไฟล์ในรู ปแบบเดิมๆที่ผา่ นมา
• แมพไฟล์ไปยังสิ่ งที่ใช้จดั เก็บข้อมูล
• แบ็คอัพหรื อสร้างไฟล์สารอง
หน้ าที่ของระบบปฏิบัตกิ าร
• การจัดการอุปกรณ์ ( I/O Management ) ควบคุมการรับข้อมูล
และแสดงข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์ คียบ์ อร์ด
• จัดการเนื้อที่วา่ งบนดิสก์
• จัดการจัดตาแหน่งข้อมูลที่กระจัดกระจายให้อยูร่ วมกลุ่มกันเพื่อ
ความรวดเร็ วในการเรี ยกใช้ขอ้ มูล
• การจัดแบ่งเวลาในการใช้ดิสก์
ตัวอย่ างระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบตั ิการสาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
– ดอส (DOS)
– วินโดว์ (Windows)
– โอเอส/ทู (OS/2)
– ฟรี บีเอสดี (FreeBSD)
– ระบบปฏิบตั ิการแม็คอินทอช
ตัวอย่ างระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบตั ิการสาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
– ยูนิกซ์ (Unix)
– ลีนุกซ์ (Linux) และ ลีนุกซ์ทะเล (Linux TLE)
– โนเวลเน็ตแวร์ (Novell Netware)
• ระบบปฏิบตั ิการสาหรับเครื่ องอุปกรณ์ขนาดเล็ก
– วินโดว์โมบาย (Windows Mobile)
DOS
พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1980 โดยบริ ษทั ไมโครซอฟต์
• ทางานด้วย Text mode
• รับคาสัง่ ผ่าน Command Line
Windows
• Windows 3.0
• Windows 95
• Windows 98
• Window 2000
• Windows Me
• Windows XP
• Windows Vista
• Windows 7
ฯลฯ
OS/2
• พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1987โดยบริ ษทั ไอบีเอ็ม
• แนวคิดในเชิงวิศวกรรมดี แต่กินทรัพยากรสู งกว่าเครื่ องธรรมดา
ในสมัยนั้น ทาให้ไม่ได้รับความนิยม
FreeBSD
• พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1993โดยทีม Berkeley Software Distribution
• Open Source ใช้ได้โดยไม่มีค่าลิขสิ ทธ์ และร่ วมกันพัฒนาได้
• มีประสิ ทธิภาพและสเถียรภาพสูง เหมาะเป็ นเครื่ องแม่ข่าย
Macintosh (Mac)
• พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1984 โดยบริ ษทั แอปเปิ ล
• ใช้กบั เครื่ อง Apple Computer เท่านั้น
• เป็ น OS ตัวแรกที่มีส่วนติดต่อผูใ้ ช้แบบกราฟิ ก และควบคุมด้วย
เมาส์
• เหมาะกับงานผลิตสื่ อสิ่ งพิมพ์และมัลติมีเดีย
• มีความสามารถ Inter Application Communication (IAC) ทาให้
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Application แบบ Real Time
Unix
•
•
•
•
•
พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1970 โดยทีม AT&T Bell Labs
เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่มีทีมพัฒนาต่อเป็ นจานวนมาก
เป็ นต้นแบบของการพัฒนา OS หลายตัวเช่น FreeBSD และ Linux
มีท้ งั รุ่ นจาหน่ายลิขสิ ทธ์และ Open Source
เป็ นระบบปฏิบตั ิการขนาดใหญ่ สาหรับเครื่ องแม่ข่ายหรื อเครื่ อง
เมนเฟรม
ตัวอย่ างระบบปฏิบัติการ
•
•
•
•
Ubuntu
Linux TLE
Windows Server
Windows Mobile
– ระบบปฏิบตั ิการขนาดเล็กที่มีการรวม application พื้นฐาน
ต่างๆ มาไว้บนอุปกรณ์ mobile อาทิเช่น Pocket PC ,
Smartphone
โปรแกรมประยุกต์
• โปรแกรมทีเ่ ขียนขึน้ เพือ่ ประยกุ ต์ กบั งานทีผ่ ้ ใู ช้ ต้องการ เช่ น
โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมจัดเก็บภาษี โปรแกรมสิ นค้าคง
คลัง โปรแกรมตารางทางาน โปรแกรมกราฟิ ก โปรแกรมจัดการ
ฐานข้อมูล เป็ นต้น
“ การทางานใด ๆ โดยใช้ โปรแกรมประยกุ ต์ จาเป็ นต้ องทางานภายใต้
สภาพแวดล้ อมของซอฟต์ แวร์ ระบบด้ วย ตัวอย่างเช่ น โปรแกรมประมวลคา
ต้ องทางานภายใต้ ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เป็ นต้ น”
ประเภทของโปรแกรมประยุกต์
• โปรแกรมประยกุ ต์ สาหรั บงานเฉพาะด้ าน (Special Purpose Software)
• เป็ นโปรแกรมที่ถูกใช้สาหรับงานเฉพาะและสาหรับกลุ่มสาขาอาชีพ
นั้นๆ
• ซอฟต์แวร์ที่องค์กรขนาดใหญ่พฒั นาขึ้นมาใช้งานเองให้เหมาะสมกับ
งานเฉพาะด้าน แก้ไขได้ตามความต้องการ
• เช่น โปรแกรมคานวณค่าน้ าประปาของการประปาแห่งประเทศไทย
โปรแกรมฝาก-ถอนเงินของธนาคารต่างๆ และโปรแกรมระบบบริ การ
การศึกษาของมหาวิทยาลัย เป็ นต้น
ประเภทของโปรแกรมประยุกต์
• โปรแกรมประยกุ ต์ สาหรั บงานทัว่ ไป (General Purpose
Software) / ซอฟต์ แวร์ สาเร็ จรูป (Package Software)
• เป็ นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสาหรับงานทัว่ ไป สามารถนามา
ประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ตามความเหมาะสม
โปรแกรมประยกุ ต์ สาหรั บงานทัว่ ไป
•
•
•
•
•
•
•
แบ่งตามประเภทของงานได้ดงั นี้
ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet)
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word Processing)
ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software)
ซอฟต์แวร์กราฟิ ก (Graphic Software)
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
ซอฟต์แวร์โทรคมนาคม (Telecommunication Software)
ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์ กบั งานด้ านต่ าง ๆ
• คอมพิวเตอร์ กบั งานธุรกิจ
– มักใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่องานบัญชีและงานพิมพ์เป็ นหลัก
ประกอบด้วย
•
•
•
•
•
•
งานบัญชี
งานพิมพ์ใบเสร็ จ
งานระบบเงินเดือน
งานพิมพ์ใบสัง่ สิ นค้า
งานวิเคราะห์การขาย
งานควบคุมสิ นค้าคงคลัง
ฯลฯ
ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์ กบั งานด้ านต่ าง ๆ
• คอมพิวเตอร์ กบั งานธุรกิจการเงินการธนาคาร
– มักใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่องานบริ การลูกค้าเป็ นหลัก
ประกอบด้วย
•
•
•
•
งานบัญชี
งานประวัติลกู ค้า
งานวิเคราะห์ตลาดหลักทรัพย์
งานบริ การฝากถอนเงินระบบอัตโนมัติ
ฯลฯ
ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์ กบั งานด้ านต่ าง ๆ
• คอมพิวเตอร์ กบั งานอุตสาหกรรม
– มักใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่องานคานวณ วิเคราะห์และกราฟิ ก
เป็ นหลัก ประกอบด้วย
•
•
•
•
งานควบคุมกระบวนการผลิต
งานออกแบบผลิตภัณฑ์
งานผลิตตามแบบที่ออกแบบไว้
งานออกแบบทางวิศวกรรม
ฯลฯ
ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์ กบั งานด้ านต่ าง ๆ
• คอมพิวเตอร์ กบั งานการศึกษา
– มักใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่องานพิมพ์เอกสาร งานคานวณและ
งานกราฟิ ก เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ประกอบด้วย
• งานวิเคราะห์วิจยั
• งานคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aided Instruction : CAI)
• ฯลฯ
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
การซื้อ
• การซื้อโปรแกรมประยุกต์ทางองค์กรต้องพิจารณาโปรแกรมที่
เหมาะสมกับการใช้งานของธุรกิจองค์กร
• และต้องพิจารณาถึงการบริ การหลังการขายด้วย
• แล้วจึงทาการจัดซื้อตามงบประมาณขององค์กรที่ต้ งั ไว้
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
การเช่ า
•
•
•
เช่ าทรัพย์ สิน คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง เรี ยกว่าผูใ้ ห้เช่า ตกลงให้บุคคล
อีกคนหนึ่ง เรี ยกว่าผูเ้ ช่า ได้ใช้หรื อได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่าง
ใดอย่างหนึ่งชัว่ ระยะเวลาอันมีจากัด และผูเ้ ช่าตกลงจะให้ค่าเช่าเพื่อ
การนั้น
การเช่าโปรแกรมประยุกต์ทางหน่วยงานหรื อองค์กรที่ตอ้ งการใช้
โปรแกรมประยุกต์ตอ้ งตกลงทาสัญญาเช่ากับทางบริ ษทั ที่เป็ นเจ้าของ
โปรแกรมประยุกต์ ดังกล่าว
และทางผูเ้ ช่าต้องจ่ายชาระเงินค่าเช่าตามเงื่อนไขที่ได้กาหนดไว้ใน
สัญญาเช่าให้แก่ผใู ้ ห้เช่า
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
การเช่ าซื้อ
•
•
•
•
•
เช่ าซื้อ คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่าและให้คามัน่ ว่าจะ
ขายทรัพย์สินนั้นหรื อว่าจะให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็ นสิ ทธิแก่ผเู ้ ช่า
โดยเงื่อนไขที่ผเู ้ ช่าได้ใช้เงินเป็ นจานวนเท่านั้นเท่านี้
การเช่าซื้อโปรแกรมประยุกต์ทางหน่วยงานหรื อองค์กรที่ตอ้ งการใช้
โปรแกรมประยุกต์ตอ้ งตกลงทาสัญญาเช่าซื้อกับทางบริ ษทั ที่เป็ น
เจ้าของโปรแกรมประยุกต์
และทางผูเ้ ช่าต้องจ่ายชาระเงินค่าเช่าซื้อตามเงื่อนไขที่ได้กาหนดไว้ใน
สัญญาเช่าซื้อแก่ผใู ้ ห้เช่าซื้อ
เมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่าซื้อและทางผูเ้ ช่าได้ชาระเงินค่าเช่าซื้อ
เป็ นที่เรี ยบร้อย โปรแกรมประยุกต์น้ นั ก็จะตกเป็ นสิ ทธิแก่ผเู ้ ช่าการเช่า
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
Outsourcing (การจัดจ้ างพัฒนาซอฟต์ แวร์ )
•
•
•
คือ การที่หน่วยงานหรื อองค์กรใช้บริ การจากหน่วยงานภายนอกให้ทา
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สาหรับองค์กรของตนเองโดยเฉพาะเพื่อ
นามาใช้ในธุรกิจขององค์กร
หน่วยงานดังกล่าวอาจจะเป็ นองค์กรบริ ษทั หรื อธุรกิจที่ให้บริ การการ
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นบริ ษทั ที่มีความรู ้ความชานาญ
สามารถพัฒนาระบบงานให้เสร็ จได้เร็ ว และควบคุมค่าใช้จ่ายได้
การว่าจ้างหน่วยงานหรื อบริ ษทั ภายนอกใน การพัฒนาระบบงาน
ทางด้านไอที แทนการพัฒนาด้วยหน่วยงานของตนเองนี้เรี ยกว่าเอาต์
ซอร์ ส (Outsource)
วิธีการจัดหาโปรแกรมประยุกต์
พัฒนาระบบเอง (Developing Software In-house)
• การที่องค์กรมีฝ่ายพัฒนาระบบภายในองค์กรเอง
• ทางองค์กรก็จะใช้บริ การการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์จาก
หน่วยงานของตนเอง
ภาษาคอมพิวเตอร์
• หมายถึง ภาษาที่ใช้เขียนซอฟต์แวร์
• ใช้เขียนคาสัง่ เพื่อควบคุมการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
• ต้ องมีตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) คือ เป็ นโปรแกรม
ที่แปลโปรแกรมภาษาต้นฉบับไปเป็ นภาษาเครื่ อง
• (Source Code = เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี/ภาษาระดับสูง)
(Object Code = ประกอบด้วยเลขฐานสอง)
ตัวแปลภาษา
• ตัวแปลภาษาแบ่งได้ดงั นี้
• แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ทาหน้าที่แปลคาสัง่ ที่เขียนด้วย
ภาษาสัญลักษณ์ให้เป็ นภาษาเครื่ อง
• อินเตอร์ พรี เตอร์ (Interpreter) หมายถึง แปลภาษาระดับสูงเป็ น
ภาษาเครื่ อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมทางานตามคาสั่งทีละ
บรรทัด
• คอมไพเลอร์ (Compiler) หมายถึง แปลภาษาระดับสูงเป็ น
ภาษาเครื่ อง โดยใช้หลักการแปลทั้งโปรแกรมเป็ น Object Code
ก่อนนามาทางาน
ภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็ น 2 ระดับ
• ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
• ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
• ภาษาที่เครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ค่อนข้างง่าย
• มนุษย์เข้าใจได้ค่อนข้างยาก
• ประกอบด้วยสัญลักษณ์ และเลขฐานที่มนุษย์ไม่คุน้ เคย
• แบ่งเป็ น 2 ประเภท
• ภาษาเครื่ อง
• ภาษาสัญลักษณ์
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• เป็ นภาษาที่มนุษย์เข้าใจได้ง่ายที่สุด
•ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากเพราะใช้ภาษาอังกฤษและ
เลขฐานสิ บในการกาหนดคาสัง่
• เช่น ภาษา BASIC , FORTRAN, COBOL, C เป็ นต้น
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
(Computer Algorithms)
• หมายถึง ขบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ให้เกิดประโยชน์ หรื ออยูใ่ นรู ป
ของโปรแกรมสาเร็ จรู ป โดยอาศัยกฏเกณฑ์
• ขบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การ
วางแผน การจัดลาดับคาสัง่ และการจัดระเบียบข้อมูล
• เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
• ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
–
–
–
–
–
–
–
วิเคราะห์ระบบงาน
เขียนผังงาน
เขียนโปรแกรม
ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
จัดทาเอกสารเกี่ยวกับโปรแกรม
ใช้งานจริ ง
ปรับปรุ งและพัฒนาโปรแกรม
การวิเคราะห์ ระบบงาน
• ต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
– สิ่ งที่ตอ้ งการ
– รู ปแบบผลลัพธ์
– ข้อมูลนาเข้า
– ตัวแปรที่ใช้
– วิธีการประมวลผล
– ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม
เขียนผังงาน
•
•
•
•
•
หมายถึง การเขียนสัญลักษณ์แทนขบวนการแก้ปัญหา
เพื่อใช้อธิบายการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่ มต้นจนจบงาน
ช่วยลดปัญหาในการอธิบาย
ทาให้การพัฒนาโปรแกรมในลาดับต่อไปง่ายขึ้น
สะดวกต่อการแก้ไขหรื อพัฒนาโปรแกรมในอนาคต
เขียนโปรแกรม
• การรวบรวม และเรี ยบเรี ยงแต่ละคาสัง่ ที่เขียนด้วยภาษาหนึ่ง ๆ
ให้เป็ นกลุ่มที่สามารถทางานร่ วมกันได้อย่างถูกต้อง
• โดยอ้างอิงกับขั้นตอน วิธีการประมวลผล
การทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม
• หมายถึง ขบวนการตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม
• เป็ นการกระทาในห้องปฏิบตั ิการด้วยข้อมูลสมมติ
• ความผิดพลาดที่ได้จากการทดสอบ แบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ
– ความผิดพลาดทางไวยกรณ์ (Syntax Error)
– ความผิดพลาดทางเงื่อนไข (Logic Error)
จัดทาเอกสารเกีย่ วกับโปรแกรม
• หมายถึง คู่มือการใช้งานโปรแกรมให้เกิดประโยชน์สูงสุด
• แบ่งเป็ น 2 ประเภท
– คู่มือสาหรับผูใ้ ช้โปรแกรม (User’s manual)
– คูม่ ือสาหรับผูเ้ ขียนโปรแกรม (Programmer’s manual
ใช้ งานจริง
• หมายถึง การนาโปรแกรมที่ตรวจสอบและแก้ไขด้วยข้อมูล
สมมติในห้องปฏิบตั ิการเรี ยบร้อยแล้วออกใช้งานกับข้อมูลและ
สถานที่ใช้งานจริ ง
ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม
• หมายถึง การปรับเปลี่ยนหรื อแก้ไขโปรแกรมให้มีคุณสมบัติดี
ขึ้น
• เป็ นแนวทางหนึ่งทาให้โปรแกรมทันสมัยขึ้น (Program version)
• ผูพ้ ฒั นาโปรแกรมอาจจะสามารถแก้ไขโปรแกรมที่ผอู้ นื่ เขียนได้
โดยอาศัย Programmer’s manual