ระบบปฏิบัติการ และ หลักการทำงาน

Download Report

Transcript ระบบปฏิบัติการ และ หลักการทำงาน

BCOM1101 ความรู ้พ้นื ฐานทางคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
ระบบปฏิบัติการ และ หลักการทางาน
LOGO
Contents
1
ความหมายของระบบปฏิบัติการ
2
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคืออะไร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ ชนิดหนึ่งที่ทาหน้ าที่จัดการและควบคุมโปรแกรมรวมถึง
การติดต่ อประสานงานกับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้ องเพื่อให้ สามารถ
ปฏิบัติงานได้ ตามทีผ่ ู้ใช้ ต้องการบางครั้งเรียกว่ า แพลตฟอร์ ม (platform)
ระบบปฏิบัติการ (operating systems)
LOGO
• ใช้ ส าหรั บ การควบคุ ม และประสานงานอุ ป กรณ์ ค อมพิว เตอร์ ท้ัง หมด
โดยเฉพาะกับส่ วนนาเข้ าและส่ งออกผลลัพธ์ (I/O
Device) บางครั้ ง
เรียกว่ า แพล็ตฟอร์ ม (platform)
• คอมพิวเตอร์ จะทางานได้ จาเป็ นต้ องมีระบบปฏิบัติการติดตั้ งอยู่ในเครื่อง
เสี ยก่อน
คุณสมบัตใิ นการทางาน
• การทางานแบบ Multi-Tasking
LOGO
คุณสมบัตใิ นการทางาน
• การทางานแบบ Multi-User
LOGO
ประเภทของระบบปฏิบัตกิ าร
• อาจแบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (network OS)
3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS)
LOGO
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
LOGO
• มุ่งเน้ นและให้ บริการสาหรับผู้ใช้ เพียงคนเดียว (เจ้ าของเครื่องนั้นๆ)
• นิยมใช้ สาหรั บเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่ วไป เช่ น
เครื่องคอมพิวเตอร์ ตามบ้ านหรือสานักงาน
• รองรับการทางานบางอย่ าง เช่ น พิมพ์ รายงาน ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่ อมต่ อ
เข้ ากับอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น
• ปัจจุบันสามารถเป็ นเครื่องลูกข่ ายเพือ่ ขอรับบริการจากเครื่องแม่ ข่ายได้ ด้วย
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
LOGO
• DOS (Disk Operating System)
– พัฒนาขึน้ เมื่อประมาณปี 1980
– ใช้ สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลเป็ นหลัก
– ป้อนชุ ดคาสั่ งทีเ่ รียกว่ า command-line
– ครั้งแรกที่ผลิตมีชื่อเรียกว่ า PC-DOS ใช้ งานบนเครื่อง IBM
– ต่ อมา Microsoft ได้ พฒ
ั นาระบบปฏิบัติการใหม่ เรียกว่ า MS-DOS
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
• DOS (Disk Operating System)
LOGO
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
• Windows
– ส่ วนประสานงานกับผู้ใช้ แบบ GUI (Graphical User Interface)
– ใช้ งานได้ ง่าย ผู้ใช้ ไม่ ต้องจดจาคาสั่ งให้ ยุ่งยาก
– แบ่ งงานออกเป็ นส่ วนๆที่เรียกว่ า หน้ าต่ างงาน หรือ Windows
LOGO
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
• Windows
LOGO
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
LOGO
• Mac OS X
– ใช้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ผลิตขึน้ โดยบริษัทแอปเปิ้ ลเท่ านั้น
– เหมาะสมกับการใช้ งานประเภทสิ่ งพิมพ์เป็ นหลัก
– มีระบบสนับสนุนแบบ GUI เช่ นเดียวกับระบบปฏิบัติการWindows
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
• Mac OS X
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (network OS)
LOGO
• มุ่งเน้ นและให้ บริการสาหรับผู้ใช้ หลายๆคน (multi-user)
• นิ ย มใช้ ส าหรั บ งานให้ บ ริ ก ารและประมวลผลข้ อ มู ล ส าหรั บ เครื อ ข่ า ย
โดยเฉพาะ
• มักพบเห็นได้ กบั การนาไปใช้ ในองค์ กรธุรกิจทัว่ ไป
• เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งระบบปฎิบัติการเหล่านีจ้ ะเรี ยกว่ าเครื่อง server
(เครื่องแม่ ข่าย)
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
LOGO
• Windows Server
– ออกแบบมาเพือ่ ใช้ งานกับระบบเครือข่ าย
– โดยเฉพาะ เดิมมีชื่อว่ า Windows NT
– รองรับกับการใช้ งานในระดับองค์ กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริ ษัท
ไมโครซอฟท์
– เหมาะกับการติดตั้งและใช้ งานกับเครื่องประเภทแม่ ข่าย (server)
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
LOGO
• Unix
– ผู้ใช้ กบั ต้ องมีความรู้ทางด้ านคอมพิวเตอร์ พอสมควร
– รองรับกับการทางานของผู้ใช้ ได้ หลายๆคนพร้ อมกัน (multi-user)
– มี ก ารพั ฒ นาระบบที่ ส นั บ สนุ น ให้ ใ ช้ งานได้ ท้ั ง แบบเดี่ ย วและแบบ
เครือข่ าย
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• Unix
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
LOGO
• Linux
– พัฒนามาจากระบบ Unix
– ใช้ โค้ ดทีเ่ ขียนประเภทโอเพ่นซอร์ ส(open source)
– มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรียกแตกต่ างกันไป
– มีท้ังแบบที่ใช้ สาหรั บงานแบบเดี่ยวตามบ้ านและแบบที่ใช้ สาหรั บงานควบคุ ม
เครือข่ ายเช่ นเดียวกับระบบปฏิบัตกิ ารแบบ Unix
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• Linux
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• OS/2 Warp Server
– พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม ปัจจุบันเลิกพัฒนาแล้ว
– ใช้ เป็ นระบบเพือ่ ควบคุมเครื่องแม่ ข่ายหรือ server เช่ นเดียวกัน
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• OS/2 Warp Server
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• Solaris
– ทางานคล้ายกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix (Unix compatible)
– ผลิตโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
LOGO
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ าย (Network OS)
• Solaris
LOGO
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS)
LOGO
• พบเห็นได้ ในอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ พกพาขนาดเล็ก เช่ น พีดีเอ หรื อ smart
phone บางรุ่น
• สนับสนุนการทางานแบบเคลือ่ นทีไ่ ด้ เป็ นอย่ างดี
• บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้ เคียงกับระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว เช่ น ดูหนัง
ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตได้
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
• Pocket PC OS (Windows CE เดิม)
– ย่ อขนาดการทางานของ Windows ให้ มี
ขนาดที่เล็กลง (scaled-down version)
– รองรับการทางานแบบ multi-tasking ได้
– มักติดตั้งบนเครื่อง Pocket PC หรืออาจพบเห็นในมือถือประเภท
smart phone บางรุ่น
LOGO
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
• Palm OS
– พัฒนาขึน้ มาก่อน Pocket PC OS
– ลักษณะงานทีใ่ ช้ จะคล้ายๆกัน
– ใช้ กับเครื่ องที่ผลิตขึ้นโดยบริ ษัทปาล์ มและบางค่ ายเท่ านั้ น เช่ น Visor
(ของค่ าย Handspring) และ CLIE (ของค่ าย Sony)
LOGO
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
LOGO
• Symbian OS
– รองรับกับเทคโนโลยีการ
สื่ อสารแบบไร้ สาย (wireless) โดยเฉพาะ ผลิตโดยบริษัทซิมเบียน
– นิยมใช้ กบั โทรศัพท์ มือถือประเภท smart phone
– สนับสนุนการทางานแบบหลายๆงานในเวลาเดียวกัน (multi-tasking)
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
LOGO
• OS X
– เป็ นระบบปฏิบัติการที่ใช้ เครื่อง iphone และเป็ นระบบปฏิบัติการเดียวกับ
ที่ใช้ บนเครื่อง Mac
– รองรับการทางานพร้ อมกันหลายโปรแกรมหรือ Multitasking
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
LOGO
• Android
– เป็ นระบบปฏิบัติการบนโทรศั พท์ มือถือและอุปกรณ์ พกพาที่พัฒนาโดย
บริษัท Google
– มีโปรแกรมสาหรับการใช้ งาน เช่ น SMS, ปฏิทิน, เบราเซอร์ , สมุดโทรศัพท์
โปรแกรมดูวดิ ีโอ, แผนทีน่ าทาง เป็ นต้ น
โปรแกรมอรรถประโยชน์ หรือโปรแกรมยูทลิ ติ ี้ (Utility Program)LOGO
• ส่ วนใหญ่ จะมีขนาดของไฟล์ทเี่ ล็กกว่ าระบบปฏิบัติการ
• มีคุณสมบัตใิ นการใช้ งานค่ อนข้ างหลากหลายหรือใช้ งานได้ แบบอรรถประโยชน์
• นิยมเรียกสั้ นๆว่ า ยูทลิ ติ ี้ (utility)
• อาจแบ่ งออกได้ เป็ น 2 ชนิดคือ
– ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS utility programs)
– ยูทลิ ติ อี้ นื่ ๆ (stand-alone utility programs)
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)LOGO
• ตัวอย่ างของยูทิลติ ที้ ที่ างานด้ านต่ างๆ
– ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
– ประเภทการลบทิง้ โปรแกรม (Uninstaller)
– ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)
– ประเภทการจัดเรียงพืน้ ทีเ่ ก็บข้ อมูล (Disk Defragmenter)
– ประเภทรักษาหน้ าจอ (Screen Saver)
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)LOGO
ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
– มีหน้ าที่หลักในการจัดการเกีย่ วกับไฟล์ ต่างๆ
เช่ น การคัดลอก การเปลีย่ นชื่อ การลบและการย้ ายไฟล์ เป็ นต้ น
– ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่ นใหม่ ๆยังได้ เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่ า image
viewer เพือ่ นามาปรับใช้ กบั ไฟล์รูปภาพได้
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)LOGO
ประเภทการลบทิง้ โปรแกรม(Uninstaller)
– ลบหรือกาจัดโปรแกรมที่ไม่ ได้ ใช้ ออกไปจากระบบ
– ทาให้ พนื้ ทีเ่ ก็บข้ อมูลมีเหลือเพิม่ มากขึน้
– ทางานได้ อย่ างง่ ายดาย
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)
LOGO
ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)
– สแกนหาข้ อผิดพลาดต่ างๆพร้ อมทั้งหาทาง
แก้ปัญหาในดิสก์
– ประยุกต์ ใช้ เพือ่ สแกนหาไฟล์ทไี่ ม่ ต้องการใช้
งาน (unnecessary files) เมื่อใช้
คอมพิวเตอร์ ไประยะหนึ่งได้
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)
LOGO
ประเภทการจัดเรียงพืน้ ทีเ่ ก็บข้ อมูล (Disk Defragmenter)
– ช่ วยในการจัดเรียงไฟล์ข้อมูลให้ เป็ นระเบียบ และเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน
– เมื่อต้ องการใช้ งานไฟล์ ข้อมูลในภายหลังจะเข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่าย และ
รวดเร็วกว่ าเดิม
ยูทลิ ติ สี้ าหรับระบบปฏิบัตกิ าร (OS Utility Programs)LOGO
ประเภทรักษาหน้ าจอ (Screen Saver)
– ช่ วยถนอมอายุการใช้ งานของจอคอมพิวเตอร์
ให้ ยาวนานมากขึน้
– ใช้ ภาพเคลือ่ นไหวไปมา และเลือกลวดลาย
หรือภาพได้ ด้วยตนเอง
– อาจพบเห็นกับการตั้งค่ ารหัสผ่ านของ
โปรแกรมรักษาหน้ าจอเอาไว้ ได้
ยูทลิ ติ อี้ นื่ ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• เป็ นยูทลิ ติ ที้ ที่ างานด้ านอืน่ โดยเฉพาะไม่ เกีย่ วกับระบบปฎิบัติการ
• มักทางานเฉพาะอย่ าง หรือด้ านใดด้ านหนึ่ง
• มีท้งั ทีแ่ จกให้ ใช้ ฟรีและเสี ยเงิน
• มีให้ เลือกใช้ เยอะและหลากหลายมาก
• ใช้ ได้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่
LOGO
ยูทลิ ติ อี้ นื่ ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti Virus Program)
– ติดตั้งไว้ เพือ่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเกีย่ วกับโปรแกรมประสงค์ ร้าย
– ต้ องอัพเดทข้ อมูลใหม่ อยู่เสมอเพือ่ ให้ รู้จักและหาทางยั้บยั้งไวรัสใหม่ ๆที่
เกิดขึน้ ทุกวัน
– ควรติดตั้งไว้ ในเครื่องทุกเครื่อง
LOGO
ยูทลิ ติ อี้ นื่ ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
• โปรแกรมไฟร์ วอลล์ (Personal Firewall)
– ป้องกันการบุกรุกจากผู้ไม่ ประสงค์ ดี
– สามารถติดตามและตรวจสอบรายการต่ างๆของผู้บุกรุกได้
– เหมาะกับเครื่องทีต่ ้ องการรักษา
ความปลอดภัยของข้ อมูลเป็ นอย่ างมาก
LOGO
ยูทลิ ติ อี้ นื่ ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility)
– เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้ าทีบ่ ีบอัดไฟล์ให้ มีขนาดทีเ่ ล็กลง
– ไฟล์ที่ได้ จากการบีบอัดไฟล์บางครั้ง นิยมเรียกว่ า ซิปไฟล์ (zip files)
– ยูทลิ ติ ที้ นี่ ิยมใช้ และรู้จักกันเป็ นอย่ างดี เช่ น PKZip, WinZip เป็ นต้ น
LOGO
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
LOGO
โปรแกรมประยุกต์ ทผี่ ลิตขึน้ มา จะทาให้ ติดตั้งหรือใช้ งานบน
ระบบปฏิบัติการตัวใดตัวหนึ่งเท่ านั้น ไม่ สามารถนาไปใช้ กบั ระบบปฏิบัติการ
อืน่ ได้
แต่ ยงั มีโปรแกรมประยุกต์ บางกลุ่มเรียกว่ า Cross-platform
Application ที่สามารถทางานได้ กบั ระบบปฏิบัติการหลาย ๆ แพลตฟอร์ ม
โปรแกรมประยุกต์
(Application)
ระบบปฏิบัตกิ าร
/แพลตฟอร์ ม A
ระบบปฏิบัตกิ าร
/แพลตฟอร์ ม B
ระบบปฏิบัตกิ าร
/แพลตฟอร์ ม C
ระบบปฏิบัตกิ าร
/แพลตฟอร์ ม D
ไบออส (BIOS - Basic Input Output System)
LOGO
• เป็ นส่ วนหนึ่งของกลุ่มคาสั่ งทีบ่ รรจุอยู่ในส่ วนของหน่ วยความจา ROM
• ตัวโปรแกรมคาสั่ งที่เก็บไว้ จะอยู่ไ ด้ อย่ า งถาวร มีหน้ าที่ค วบคุ มอุป กรณ์
มาตรฐานในเครื่อง
• ปัจจุบันอุปกรณ์ ที่ใช้ เก็บโปรแกรมไบออสจะเป็ นวงจรหน่ วยความจาแบบ
Flash ROM ที่สามารถแก้ไขโปรแกรมได้ (แต่ ไม่ บ่อยนัก)
เริ่มต้ นการทางานของคอมพิวเตอร์ (Boot Up)
LOGO
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
LOGO
• การบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนทีค่ อมพิวเตอร์ เริ่ มทาการโหลด
• ระบบปฏิบัติการเข้ าไปไว้ ในหน่ วยความจา RAM สามารถแบ่ งออกเป็ น 2
ลักษณะด้ วยกันคือ
- โคลด์ บู๊ต (Cold boot)
- วอร์ มบู๊ต (Warm boot)
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
โคลบู๊ต (Cold boot)
การบู๊ตเครื่องทีอ่ าศัยการทางานของฮาร์ ดแวร์
• กดปุ่ มเปิ ดเครื่อง (Power On) เพือ่ เข้ าสู่ กระบวนการทางานโดยทันที
• ปุ่ มเปิ ดเครื่องเป็ นเหมือนสวิตช์ ปิดเปิ ดการทางานโดยรวมของ
คอมพิวเตอร์ เหมือนกับสวิตช์ ของอุปกรณ์ ไฟฟ้าทัว่ ไป
LOGO
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
LOGO
วอร์ มบู๊ต (Warm boot)
• การบู๊ตเครื่ องเพื่อให้ เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่ หรื อที่เรี ยกว่ า การรี สตาร์ ท
เครื่อง (restart) สามารถทาได้ สามวิธีคอื
– กดปุ่ ม Reset บนตัวเครื่อง
– กดปุ่ ม Ctrl+alt+delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคาสั่ ง restart
– สั่ งรีสตารท์ เครื่องได้ จากเมนูบนระบบปฏิบัติการ
ส่ วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)
LOGO
• คือ ส่ วนการทางานของโปรแกรมที่ติดต่ อหรือเป็ นตัวกลางระหว่ า งผู้ใช้ งาน
และคอมพิวเตอร์ ให้ ทางานได้ ตามที่ต้องการ
• แบ่ งออกได้ เป็ น 2 ประเภทดังนี้
• ประเภทคอมมานด์ ไลน์ (Command Line)
• ประเภทกราฟิ ก (GUI - Graphical User Interface)
ส่ วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)
LOGO
ประเภทคอมมานด์ ไลน์ (Command Line)
• อนุ ญาตให้ ป้ อนรู ป แบบค าสั่ ง ที่เป็ นตั วหนั ง สื อ (text) สั่ ง การลงไปที ล ะ
บรรทัดคาสั่ ง
• เรียกว่ า คอมมานไลด์ (command line)
ส่ วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)
LOGO
ประเภทกราฟิ ก (GUI - Graphical User Interface)
• นาเอารู ปภาพมาปรับใช้ สั่งงานแทนตัวอักษร เช่ น ในระบบปฏิบัตกิ าร Windows
• ผู้ใช้ ไม่ จาเป็ นต้ องจดจารู ปแบบคาสั่ งเพือ่ ใช้ งานให้ ย่ ุงยากเหมือนกับแบบ
คอมมานด์ ไลน์
• เพียงแค่ เลือกรายการคาสั่ งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่ านอุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น เมาส์ หรื อ
คีย์บอร์ ด
เคอร์ เนลและเชลล์
LOGO
การจัดการกับไฟล์ (file management)
LOGO
ไฟล์ (files)
หน่ วยในการเก็บข้ อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ในสื่ อเก็บ
บันทึกข้ อมูลต่ างๆ เช่ น ฟล็อปปี้ ดิสก์ , ฮาร์ ดดิสก์หรือซีดีรอม เป็ นต้ น
ประกอบด้ วยส่ วนย่ อย 2 ส่ วนด้ วยกันคือ ชื่อไฟล์ (naming files) และ
ส่ วนขยาย (extentions)
การจัดการกับไฟล์ (file management)
ตัวอย่ างไฟล์
LOGO
โครงสร้ างแบบต้ นไม้ (treelike structure)
LOGO
โครงสร้ างแบบต้ นไม้ (treelike structure)
LOGO
ลาดับโครงสร้ างไฟล์ (Hierarchical File System)
เมื่อต้ องการเก็บข้ อมูลจะแยกโครงสร้ างออกเป็ นส่ วนๆเหมือน
กิง่ ก้านสาขาของต้ นไม้ เรียกว่ า โฟลเดอร์ (folder) แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วนย่ อยคือ
• ไดเร็คทอรี (Directory)
• ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory)
โครงสร้ างแบบต้ นไม้ (treelike structure)
LOGO
ลาดับโครงสร้ างไฟล์ (Hierarchical File System) : โครงสร้ างแบบต้ นไม้ ในระบบปฎิบัติการ
ลาดับโครงสร้ างไฟล์ (Hierarchical File System)
• ไดเร็คทอรี (Directory)
โฟลเดอร์ หลักสาหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ข้นั สู งสุ ดในระบบ
บางครั้งอาจเรียกว่ า root directory
• ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory)
โฟลเดอร์ ย่อยทีถ่ ูกแบ่ งและจัดเก็บไว้ ออกมาอีกชั้นหนึ่ง
LOGO
การจัดการหน่ วยความจา (memory management)
LOGO
ใช้ วธิ ีที่เรียกว่ า หน่ วยความจาเสมือน (VM- virtual memory) กรณีที่
มีการประมวลผลกับข้ อมูลปริมาณมากหรือหลายโปรแกรมพร้ อมกัน
ระบบปฏิบัติการจะเก็บข้ อมูลทั้งหมดของโปรแกรมทีท่ างานอยู่ขณะนั้นเอาไว้
เป็ นไฟล์ในฮาร์ ดดิสก์ (เรียกว่ า swap file) โดยแบ่ งเนือ้ ที่เหล่านั้นออกเป็ น
ส่ วนๆเรียกว่ า เพจ (page) ซึ่งมีการกาหนดขนาดไว้ แน่ นอน
การจัดการหน่ วยความจา (memory management)
swapping
LOGO
LOGO
การจัดการอุปกรณ์ นาเข้ าและแสดงผลข้ อมูล (I/O device management)
 ใช้ บัฟเฟอร์ (buffer) เพือ่ เป็ นทีพ่ กั รอของข้ อมูลทีอ่ ่านเข้ ามา เช่ น การทา
spolling ในการจัดการงานพิมพ์
 เรียกใช้ ดีไวซ์ ไดรเวอร์ (device driver) เพือ่ ควบคุมอุปกรณ์ ชนิดนั้นๆ
โดยเฉพาะ
LOGO
การจัดการอุปกรณ์ นาเข้ าและแสดงผลข้ อมูล (I/O device management)
Spooling
การจัดการกับหน่ วยประมวลผลกลาง (CPU Management)
LOGO
• แบ่ งเวลาของซีพยี ูเพือ่ ประมวลผลในการทางานแบบ multi-tasking
• ทาให้ ซีพียูตัวเดียว สามารถใช้ ได้ หลายๆคน หรื อ multi-user ที่พบเห็นใน
ระบบเครือข่ าย
• ทาหน้ าที่เป็ นตัวประสานการทางานของซี พียูที่มากกว่ าหนึ่งตัวให้ ทางาน
ด้ วยกันได้ ในระบบ multi-processing
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
LOGO
ตรวจสอบสิ ทธิ การเข้ าใช้ เครื่ อง ว่ าจะอนุ ญาตให้ บุคคลนั้ นใช้ งานกับ
โปรแกรมหรือข้ อมูลในตัวเครื่องนั้นได้ หรือไม่
การตรวจสอบสถานะการทางานของระบบ
LOGO
 วัดประสิ ทธิภาพการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่ น วัดค่ าเวลาที่ซีพียู
ทางาน
 การตรวจสอบเวลาของซีพยี ู
ทีถ่ ูกปล่อยว่ างในการทางาน
C l i c k
t o
e d i t
c o m p a n y
s l o g a n