System Analysis & Design

Download Report

Transcript System Analysis & Design

System Analysis &
Design
การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
 การกาหนดปัญหาและความต้ องการ
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการวิเคราะห์ และออกแบบ
ระบบสารสนเทศ
 การวิเคราะห์ ระบบ
 การออกแบบระบบ
 การพัฒนาและบารุ งรั กษา

บทที่ 1
ระบบสารสนเทศ และบทบาทของ
นักวิเคราะห์ระบบสมัยใหม่
• ความหมายของระบบ
ระบบ (System) มีลกั ษณะเป็ นกลุ่ม (Set) มี
องค์ประกอบ (Component) หลาย ๆ ส่ วน โดย แต่ละ
องค์ประกอบจะทางานร่ วมกัน เพื่อจุดประสงค์เดียวกัน
เช่น ระบบงานทางคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วย
องค์ประกอบ หลัก 3 ส่ วนด้วยกัน
ฮาร์ดแวร์
ระบบงานทางคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์
บุคลากร
คุณลักษณะทีส่ าคัญของระบบ
1. ระบบนั้นต้อง มีมาตรฐานที่สามารถยอมรับได้
2. ระบบนั้นต้อง มีวธิ ี การวัดว่าตรงกับสิ่ งที่เป็ นจริ งตามที่
ทางานอยู่
3. ระบบนั้นต้อง มีการเปรี ยบเทียบ การทางานที่แท้จริ งกับ
ระบบมาตรฐานที่ทาขึ้น
4. จะต้องมีวธิ ี การแสดงผลย้อนกลับหลังจากใช้ระบบนั้นแล้ว
ระบบธุรกิจ
ระบบการผลิต
ระบบการตลาด
ระบบบัญชี
ระบบธุรกิจ
ระบบสิ นค้ าคงคลัง ระบบบริหารงานบุคคล
ผลกระทบต่ อระบบธุรกิจได้ ท้งั ภายในและภายนอก
1. Internal Environment คือ
ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากภายในองค์ กร
 ต้ นทุนการผลิตสู ง
 ปัญหาความขัดแย้ งระหว่ างพนักงาน
 ปัญหาการบังคับบัญชาภายในองค์ การ
 ปัญหาขาดพนักงานในตาแหน่ งทีต่ ้ องการ
 ปัญหาการขาดงานของพนักงาน
2. External Environment คือ ผลกระทบที่
เกิดขึน้ จากภายนอกองค์ กรทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ ทุกเวลาโดยที่
องค์ กรไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ เลย
 คู่แข่ งทางการค้ า
 นโยบาย กฎระเบียบของรัฐ
 ภัยธรรมชาติ
 ความต้ องการของลูกค้ า
 เทคโนโลยี
เมือ่ มีการศึกษาระบบงานใด ควรมีการพิจารณาจาก
มุมมองทั้ง 4 คือ
What คือ วัตถุประสงค์ ของระบบคืออะไร มีแผนขั้นตอน
อย่ างไร
How คือ มีวธิ ีการทางานอย่ างไร ต้ องใช้ เครื่องมือใดเพื่อให้ งาน
สาเร็จ
When คือ การเริ่มดาเนินงานและผลสาเร็จของงานจะสาเร็ จลุล่วง
ได้ เมื่อไร ควรมีการจัดตารางเวลาการทางานอย่ างมีระบบ
Who คือ บุคคลหรือคณะใดทีร่ ับผิดชอบ
ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data and
Information) มีความแตกต่ างกันคือ
ข้ อมูล คือ ข้ อมูลดิบ (Raw Data)
สารสนเทศ คือ การนาข้ อมูลดิบมาผ่ านกระบวนการประมวลผล
เพือ่ ให้ เกิดสารสนเทศทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อผู้ใช้
Data
Process
Information
การนาข้ อมูลมาผ่ านกระบวนการเป็ นสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟต์แวร์
3. ข้อมูล
4. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
5. กระบวนการทางาน
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
1. ตรงกับความต้องการ
2. ทันเวลาต่อการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
3. มีความเที่ยงตรง
1. ความถูกต้อง
2. ความสมบูรณ์
3. ความปลอดภัย
4. ประหยัด
5. มีประสิ ทธิ ภาพ
ประเภทของผู้ใช้ ระบบ
User คือ ผู้ทจี่ ะต้ องใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ทนี่ ักวิเคราะห์ และออกแบบ
ระบบได้ สร้ างขึน้
1. Hands-on end-userเป็ นผู้ใช้ ทตี่ ดิ ต่ อกับระบบโดยตรง เช่ น
การจองสายการบิน ผู้ใช้ ต้องติดต่ อสอบถามเอง
2. Indirect end-user เป็ นผู้ใช้ รายงานทีไ่ ด้ จากระบบ เช่ น
วิศวกรฝ่ ายผลิตใช้ ผลการวิเคราะห์ วตั ถุดบิ แต่ ละเดือนเพือ่ ใช้ ใน
การวางนโยบายในการผลิตสิ นค้ าในฝ่ ายผลิต
3. User manager ผู้ใช้ ทนี่ าระบบไปประยุกต์ ใช้ ในการบริหาร
อาจจะใช้ ระบบนั้นโดยตรงหรือไม่ กต็ ามแต่ จะนาระบบนั้นไป
ใช้ ในการพัฒนาองค์ กร
4. Senior management ผู้ใช้ ระบบข้ อมูลข่ าวสารในการ
แข่ งขัน โดยการนาไปกาหนดนโยบายและทิศทางในการ
บริหารองค์ กรของตน
การวิเคราะห์ระบบ
เป็ นการศึ ก ษาถึ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ นใน
ระบบงานปั จจุบนั เพื่อออกแบบระบบการ
ท างานใหม่ ต้อ งการปรั บ ปรุ ง และแก้ไ ข
ระบบงานเดิมให้มีทิศทางที่ดีข้ ึน
ในการวิเคราะห์ระบบ เพื่อพัฒนาระบบใหม่ทดแทน
ระบบงานเดิม มีเหตุผลที่สาคัญดังต่อไปนี้
• ปรับปรุ งบริ การแก่ลูกค้า
• เพิ่มประสิ ทธิภาพการทางาน
• เพิ่มกระบวนการควบคุมการทางาน
• ลดต้นทุนการดาเนินการ
• ต้องการสารสนเทศมากขึ้น
นักวิเคราะห์ระบบ
(System Analyst :SA)
เป็ นผูท้ ี่ประสานการติดต่อบุคคลต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูล
รวบรวมความต้องการในองค์กรที่ประสบกับปัญหาการ
ดาเนินงาน เพื่อทาการปรับปรุ งหรื อสร้างระบบใหม่
งานหลักคือ
- การวางแผน
- วิเคราะห์ความต้องการด้านสารสนเทศ
- การประมวลผลของหน่วยงาน
- การเขียนข้อกาหนดของระบบใหม่วา่ ควรทางานอย่างไร
- ต้องใช้ HW , SW ใดที่เหมาะสม
- การตรวจสอบพิจารณาเห็นสมควรที่จะนาระบบ
สารสนเทศมาใช้หรื อไม่
ความรู้และทักษะของ
นักวิเคราะห์ระบบ
• ทักษะและความรู ้ทางเทคนิค
• ทักษะและความรู ้ทางธุรกิจ
• ทักษะและความรู ้ดา้ นคนและทีมงาน
• ความซื่อสัตย์และจรรยาบรรณในอาชีพ
แบบฝึ กหัด
1. จงให้เหตุผลว่า ทาไมปัจจุบนั ระบบสารสนเทศ
จึงมีบทบาทสาคัญต่อธุรกิจมาก
2. จงบอกความแตกต่างระหว่างคาว่าข้อมูลและ
สารสนเทศ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
แบบฝึ กหัด
3. “ทาไมต้องวิเคราะห์ระบบให้ยงุ่ ยากด้วย ..... เขียนโปรแกรม
ใช้งานทันทีกไ็ ด้นี่ ” จากคากล่าวข้างต้นนักศึกษามีความ
คิดเห็นอย่างไร เห็นด้วยหรื อไม่เห็นด้วยอย่างไร
4. จงบอกลักษณะงานของนักวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วงจรการพัฒนาระบบ
(System development life cycle : SDLC)
SDLC เป็ นวงจรที่แสดงถึงกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละ
ขั้นตอน ตั้งแต่ริเริ่ มจนกระทัง่ สาเร็ จ วงจรการพัฒนา
ระบบจะทาให้เข้าใจกิจกรรมพื้นฐานและรายละเอียด
ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบ 5 ระยะ
วงจรการพัฒนาระบบ SDLC
1. การวางแผนโครงการ
2. วิเคราะห์
5. การบารุงรักษา
3. การออกแบบ
4. การนาไปใช้
ระยะที่ 1 การวางแผนโครงการ
Project Planning Phase
• กาหนดปัญหา
• ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
• จัดทาตารางกาหนดเวลา
• จัดตั้งทีมงาน
• ดาเนินการ
ระยะที่ 2 การวิเคราะห์
(Analysis Phase)
• ใครเป็ นผูใ้ ช้ระบบ และระบบต้องทาอะไรบ้าง
• วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบนั
• รวบรวมความต้องการในด้านต่าง ๆ และนามา
วิเคราะห์เพื่อสรุ ปเป็ นข้อกาหนดที่ชดั เจน
• นาข้อกาหนดมาพัฒนาออกมาเป็ นความต้องการของ
ระบบงานใหม่
ระยะที่ 2 การวิเคราะห์
(Analysis Phase)
• สร้างแบบจาลองระบบงานใหม่ดว้ ยการวาด
แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow
Diagram : DFD
• Entity Reletionship
Diagram : ERD
ระยะที่ 3 การออกแบบ
(Design Phase)
• พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ
• ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ
• ออกแบบฐานข้อมูล
• ออกแบบOutput
• ออกแบบ Input
ระยะที่ 3 การออกแบบ
(Design Phase)
• ออกแบบ User Interface
Design
• จัดทาต้นแบบ Prototype
• ออกแบบโปรแกรม Structure
Chart
ระยะที่ 4 การนาไปใช้
(Implementation Phase)
• สร้างระบบขึ้นมาด้วยการเขียนโปรแกรม
• ตรวจสอบความถูกต้อง
- unit test
- integrate test
- system test
- user test
• ติดตั้งระบบ
• ฝึ กอบรมผูใ้ ช้ และประเมินผลระบบใหม่
ระยะที่ 5 การบารุงรักษา
(Maintenance Phase)
• การบารุ งรักษาระบบ
• การเพิม่ เติมคุณสมบัติใหม่ๆ เข้าไป
• การสนับสนุนงานของผูใ้ ช้
กรรมวิธีการพัฒนาระบบ
• Models
• Tools
• Techniques
Model
• ผังงาน Flowchat
• แผนภาพกระแสข้อมูล DFD
• ER Diagram
• Structure Chart
• Gantt Chart/PERT
Tools
• โปรแกรมจัดการโครงการ
• โปรแกรม/เครื่ องมือช่วยวาด
• โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
Techniques
• เทคนิคการบริ หารโครงการ
• เทคนิคการสัมภาษณ์
• เทคนิคการสร้างแบบจาลอง
• เทคนิคการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบฝึ กหัด
1. วงจรการพัฒนาระบบ คืออะไร
ประกอบด้วยระยะใดบ้างอธิบาย
ระยะที่ 1
การวางแผนโครงการ
บทที่ 3
การกาหนดปัญหาและการศึกษาความเป็ นไปได้
การกาหนดปัญหา
1. การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบตั ิงาน
2.การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน
การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน
• การทางานให้เสร็ จสมบูรณ์ เป็ นไปด้วยความ
ล่าช้า
• มีขอ้ ผิดพลาดสูง
• การทางานไม่ถูกต้อง
• การทางานไม่สมบูรณ์
• งานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ตามที่ตอ้ งการ
การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน
• พนักงานมีอตั ราการเจ็บป่ วยสูง
• พนักงานไม่พอใจในงานที่ดาเนินอยู่
• ความกระตือรื อร้นในการทางานต่า
• อัตราการลาออกสูง
ส่ วนในด้ านของความเป็ นไปได้ ด้านการ
ปรับปรุงแก้ ไข เพือ่ ลดปัญหาทีเ่ กิดขึน้
สามารถทาได้ โดย
• เพิม่ ความเร็ วของกระบวนการทางาน
• เพิ่มความกระชับของกระบวนการทางาน
• ลดข้อผิดพลาดจากการอินพุตข้อมูล
• ลดความซ้ าซ้อนของเอาต์พตุ
• ปรับปรุ งระบบให้ดีข้ ึน
การศึกษาความเป็ นไปได้
1. ความเป็ นไปได้ทางด้านเทคนิค
2.ความเป็ นไปได้ทางด้านการ
ปฏิบตั ิงาน
3.ความเป็ นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility study)
ขั้นตอนการศึกษาความเป็ นไปได้ของระบบ เพื่อ
ทาการตัดสิ นใจถึงความเป็ นไปได้ของโครงการว่าจะ
สาเร็ จตามเป้ าหมายที่ตอ้ งการหรื อไม่ ซึ่งจะพิจารณา
ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. Technical Feasibility ด้ วยการนาเทคโนโลยีที่
มีอยู่ในปัจจุบันมาใช้ งาน หรือการอัปเกรดคอมพิวเตอร์ ทมี่ อี ยู่
เดิมให้ มปี ระสิ ทธิภาพสู งขึน้ หรือตัดสิ นใจใช้ เทคโนโลยีใหม่
ทั้งหมด
2. Operational Feasibility การคานึงถึงทัศนคติ
ของผู้ใช้ งานรวมถึงทักษะของผู้ใช้ งานกับระบบใหม่ ทมี่ กี าร
ปรับเปลีย่ นโครงสร้ างการทางานใหม่ ว่าเป็ นที่ยอมรั บ
(Acceptable) หรือไม่
3. Economical Feasibility การคานึงถึงต้ นทุน
ค่ าใช้ จ่ายในการพัฒนาระบบงาน ความคุ้มค่ าของระบบ
ระบบใหม่ ควรมีการสนับสนุนยุทธศาสตร์ ขององค์ กร 3 ด้ านคือ
ระบบใหม่ ควรมีการสนับสนุนยุทธศาสตร์ ขององค์ กร 3 ด้ านคือ
1. ด้านผลผลิต (Productivity) การเพิม่ ผลผลิต และ
ลดต้ นทุนการผลิต
2. ด้านความแตกต่าง (Differentitation) การ
เปรียบเทียบจากระบบงานเดิมหรือคู่แข่ งขัน เช่ น ทาให้ เกิดผล
ผลิตที่ดกี ว่ า มีการบริการดีกว่ า
3. ด้านการจัดการ (Management) ช่ วยสนับสนุน
ผู้บริหารให้ มรี ะบบสารสนเทศทีใ่ ช้ ในการวางแผนการ
ตัดสิ นใจ และการควบคุมเป็ นไปได้ สะดวกยิง่ ขึน้
แผนภูมิแกนต์ (Gantt
Chart)
เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการวางแผนและ
กาหนดเวลาในการทางานของ
โครงการ
ตัวอย่างที่ 1
กิจกรรม
A
B
C
กิจกรรม
กิจกรรม เวลา
ที่ตอ้ ง (สัปดาห์)
เสร็ จก่อน
3
A
A
A
B
2
C
3
D
1 2 3 4
D
B,C
2
Gantt Chart
5 6
7 8
เวลา(สัปดาห์)
PERT
เป็ นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวมของโครงการด้วย
ข่ายงานโดยแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ตามลาดับการทางาน เน้น
เวลาการดาเนินโครงการมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
- วางแผนโครงการ
- ควบคุมโครงการ
- บริ หารทรัพยากร
- บริ หารโครงการ
สัญลักษณ์
จุดเชื่อมต่อหรื อโหนด ที่แสดงถึงเหตุการณ์ต้ งั แต่เริ่ มต้น
โครงการจนกระทัง่ จบโครงการ
1
2
เส้นตรงที่เชื่อมต่อระหว่างโหนดแสดงถึงกิจกรรมหรื องานที่
ทาส่ วนหัวลูกศรคือจุดเสร็ จสิ้ นของกิจกรรมนั้นๆ
ตัวอย่าง PERT
กิจกรรม กิจกรรม
เวลา
ที่ตอ้ ง (สัปดาห์)
เสร็ จก่อน
A
3
B
A
2
C
A
3
D
B,C
2
3
B,2
1
A,3
D,2
2
C,3
4
5
ตัวอย่าง PERT
กิจกรรม กิจกรรม
เวลา
ที่ตอ้ ง (สัปดาห์)
เสร็ จก่อน
A
3
B
-
2
C
A
3
D
B
2
E
C,D
3
A,3
2
C,3
4
E,3
1
B,2
3
D,2
5
6
สายงานวิกฤต (Critical
Paths)
เป็ นสายงานที่มีระยะเวลายาวนานที่สุด
การเร่ งโครงการ
การควบคุมโครงการให้สาเร็ จตามเวลาที่กาหนด
ตั
ว
อย่
า
ง
PERT
กิจกรรม กิจกรรม
เวลา
A
ที่ตอ้ ง (สัปดาห์)
เสร็ จก่อน
3
A,3
2
C,3
4
E,3
1
B,2
D,2
6
B
-
2
C
A
3
สายงานที่ 1 1-2-4-6 = 3+3+3 = 9
D
B
2
สายงานที่ 2 1-3-5-6 = 2+2+3 = 7
E
C,D
3
3
5
สายงานที่ 1 คือสายงานวิกฤต
การเร่ งโครงการ
กิจกรรม
กิจกรรมที่ตอ้ ง
เสร็จก่อน
เวลา
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
(สัปดาห์)
ปกติ
เร่ ง
เร่ ง
200
ค่าใช้จ่ายใน
การเร่ งต่อ 1
วัน
A
-
2
1
ปกติ
100
B
-
1
1
100
250
150
C
-
1
1
80
200
120
D
A
3
2
100
200
50
E
B
3
2
180
330
75
F
C
2
1
160
270
110
G
D
3
1
500
700
200
100
ให้ทา
1.
2.
3.
4.
สร้างGantt Chart
สร้างข่ายงาน PERT
โครงการนี้ใช้เวลาในการดาเนินงานกี่วนั
ต้องการให้เร่ งโครงการนี้ให้เสร็ จเร็ วขึ้นเป็ น 5 วัน และเสี ย
ค่าใช้จ่ายต่าสุ ด
5. คานวณค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่ งโครงการ
6. คานวณค่าใช้จ่ายรวมที่เกิดขึ้น
แบบฝึ กหัด
กิจกรรม
กิจกรรมที่ตอ้ ง
เสร็จก่อน
เวลา
ค่าใช้จ่าย
(บาท)
(สัปดาห์)
ปกติ
เร่ ง
ค่าใช้จ่ายในการ
เร่ งต่อ 1 วัน
A
-
5
4
ปกติ
5,000
เร่ ง
6,100
1,100
B
-
7
5
8,000
9,000
500
C
A
3
2
4,000
4,300
300
D
A
4
2
6,000
10,200
2,100
E
B,C
8
6
10,000
11,200
600
ให้ทา
1. สร้างGantt Chart
2. สร้างข่ายงาน PERT
3. โครงการนี้ใช้เวลาในการดาเนินงานกี่วนั
4. ต้องการให้เร่ งโครงการนี้ให้เสร็ จเร็ วขึ้นเป็ น 12 วัน
และเสี ยค่าใช้จ่ายต่าสุ ด
1. คานวณค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่ งโครงการ
2. คานวณค่าใช้จ่ายรวมที่เกิดขึ้น
แบบฝึ กหัด กรณี ศึกษา
ห้องสมุดของวิทยาลัยแห่งหนึ่ ง เปิ ดบริ การสมาชิกเพื่อยืม/คืนหนังสื อ
ตั้งแต่ปีพ.ศ.2545 เป็ นต้นมา สมาชิกประกอบด้วยคณาจารย์ภาย
ในวิทยาลัย เจ้าหน้าที่นกั ศึกษา และรวมถึงบุคคลทัว่ ไป
ปั จจุบนั ห้องสมุดมีจานวนหนังสื อกว่า40,000 เล่ม ประกอบกับมีบุคลากรภายใน
ห้องสมุดเพียง 4 คนเท่านั้น ซึ่ งมี
ภาระหน้าที่ในการจัดการ ดูแลห้องสมุดมากขึ้น เนื่องจากมีจานวนสมาชิก
เพิ่มขึ้นทุกปี อีกทั้งระบบการยืม/คืนหนังสื อของห้องสมุดยังดาเนินการด้วยมือ
ทาให้เกิดความล่าช้า และมักมีขอ้ ผิดพลาดจากการดาเนินการเสมอ ดังนั้นทาง
บรรณารักษ์หอ้ งสมุด จึงได้ร้องขอให้ปรับปรุ งระบบใหม่ดว้ ยการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งานและต้องการยืม/คืนหนังสื อแก่สมาชิก
ด้วยระบบบาร์ โค้ด เพื่อให้การบริ การรวดเร็ วยิง่ ขึ้น อีกทั้งต้องการให้ระบบ
สามารถจัดพิมพ์รายงานต่างๆตามความต้องการได้อตั โนมัติซ่ ึ งปั จจุบนั มีปัญหา
เกี่ยวกับการจัดทารายงานต่าง ๆที่จาเป็ นต้องใช้เวลาในการจัดทามาก
ระยะที่ 1
การวางแผนโครงการ
บทที่ 4
การรวบรวมความต้ องการ
(Requirements
Gathering)
ระยะของการวิเคราะห์ประกอบด้วย 3 กิจกรรมหลักดังนี้
1. ทาความเข้าใจกับระบบงานเดิม
2. กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการปรับปรุ งเพิม่ เติม
3. พัฒนาแนวความคิดสาหรับระบบงานใหม่
การกาหนดความต้ องการ (Requirements)
การรวบรวมรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อ
จุดประสงค์ในการหาข้อสรุ ปที่ชดั เจนในด้าน
ความต้องการระหว่างผูพ้ ฒั นากับผูใ้ ช้งาน
คานิยามของ Requirements คือ
ข้อตกลงร่ วมกันทั้งสองฝ่ ายเพื่อแก้ไขปั ญหา
เพื่อให้งานที่จะดาเนินการต่อไปนี้สามารถบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ได้
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องรวบรวมข้อมูลความเป็ น
จริ งต่าง ๆ ในระบบให้มากที่สุด ซึ่ งวิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลสามารถค้นหาได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้ดงั นี้
1. เอกสาร (Documentation) คือการค้นหารายละเอียด
จากเอกสาร เช่ น แบบฟอร์ มเอกสาร รายงานต่ างๆ จากการ
รวบรวมเอกสารจะทาให้ ทราบข้ อมูลการปฏิบัตงิ านในระบบ
ทราบถึงที่มาที่ไปของระบบ
2. แบบสอบถาม (Questionnaires) สามารถเก็บรวม
รวมข้ อมูลได้ เป็ นจานวนมากและในพืน้ ทีก่ ว้ าง ประหยัดเวลา
เป็ นวิธีการเก็บข้ อมูลทางอ้ อมเหมาะกับองค์ กรทีม่ พี นักงาน
จานวนมาก
3. การสัมภาษณ์ (Interview) การสัมภาษณ์ เป็ นการเก็บ
ข้ อมูลแบบทางตรงด้ วยการสนทนากัน ซึ่งอาจเป็ นการสั มภาษณ์
ระหว่ างฝ่ ายสั มภาษณ์ คือ นักวิเคราะห์ ระบบ กับผู้ถูกสั มภาษณ์ คือ
บุคคลระดับต่ าง ๆ ในหน่ วยงาน
4. การสังเกต (Observation) ด้วยการเฝ้ าสังเกตการ
ปฏิบัตงิ านของบุคคลต่ างๆ ในขณะทีท่ างานอยู่ วิธีการสั งเกตนี้
ทาให้ สามารถเข้ าไปดูในสถานทีจ่ ริง นักวิเคราะห์ ระบบสามารถ
ทาการเปรียบเทียบสิ่ งที่เป็ นจริงจากการสั งเกตร่ วมกับเอกสารได้
ระยะที่ 3
การออกแบบ
บทที่ 5
แบบจาลองกระบวนการ
แผนภาพกระแสข้ อมูล (Data Flow Diagram)
เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวที่บรรยายถึงกระบวนการ
ทางานต่ าง ๆ ในระบบ และมีข้อมูลใดเข้ ามา
เกีย่ วข้ องบ้ าง
DFD (Data Flow Diagram) คือ แผนภาพกระแส
ข้ อมูล ทีม่ กี ารวิเคราะห์ แบบในเชิงโครงสร้ าง
แผนภาพกระแสข้ อมูลเป็ นเครื่องมือในการพัฒนา
ระบบ แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างข้ อมูลกับ
ผลลัพธ์
 ข้ อมูลมาจากไหน
 ข้ อมูลไปทีไ่ หน
 ข้ อมูลเก็บทีใ่ ด
 เกิดเหตุการณ์ ใดกับข้ อมูลในระหว่ างทาง
วัตถุประสงค์ของแผนภาพกระแสข้อมูล
1. เป็ นแผนภาพทีส่ รุปรวมข้ อมูลทั้งหมดทีไ่ ด้ จากการวิเคราะห์
ในลักษณะของรู ปแบบทีเ่ ป็ นโครงสร้ าง
2. เป็ นข้ อตกลงร่ วมกันระหว่ างนักวิเคราะห์ ระบบและผู้ใช้ งาน
3. เป็ นแผนภาพที่ใช้ ในการพัฒนาต่ อในขั้นตอนของการ
ออกแบบระบบ
4. เป็ นแผนภาพทีใ่ ช้ ในการอ้ างอิง หรือเพือ่ ใช้ ในการพัฒนาต่ อ
ในอนาคต
5. ทราบทีม่ าทีไ่ ปของข้ อมูลทีไ่ หลไปในกระบวนการต่ าง ๆ
สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในแผนภาพกระแสข้ อมูล
แผนภาพกระแสข้ อมูล แสดงถึงการไหลของ
ข้อมูลเข้าและข้อมูลออก ขั้นตอนการทางานต่าง ๆ
ของระบบ
สั ญลักษณ์ ของบุคคล องค์ กรหรือระบบงาน
External Entity Symbol
,
สั ญลักษณ์ การประมวลผล
/Process
สั ญลักษณ์ การเก็บข้ อมูล / Data Store
สั ญลักษณ์ เส้ นทางการไหลของข้ อมูล/ Data Flow
เนื่องจากสัญลักษณ์ในการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูล
ประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนั้นการออกแบบ
แผนภาพกระแสข้อมูล จึงต้องมีกฎเกณฑ์เพื่อแสดงถึง
ความถูกต้องในการเขียนภาพ โดยสัญลักษณ์ของ
แผนภาพ ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้ทุกสัญลักษณ์ แต่
ต้องติดต่อเชื่อมด้วย Process
เวลาทางาน
อัตราเงินเดือน
ใบสั่ ง
ซื้อ
ตรวจสอบ
ใบสั่ งซื้อ
ระบบเงินเดือน
รายการใบสั่ งซื้อ
เงินเดือนสุ ทธิ
ข้ อมูล
การสั่ งซื้อ
รายการ
สิ นค้ า
รายการสัง่ ซื้ อ
จิตพิสยั
ข้ อมูล
การสั่ งซื้อ
เกรดการทางาน
ของนักศึกษา
ใบแจ้งหนี้
เกรดนักศึกษา
วิชา
รายละเอียด
ห้องเรี ยน
นักเรี ยน
ลูกค้า
พนักงาน
บัตรลงเวลา
รายละเอียด
ใบสั่งซื้ อ
เงินเดือน
ตรวจสออบ
เวลาการทางาน
ตรวจสอบ
เงินเดือน
ตรวจสอบ
ข้ อมูล
ใบสั่ งซื้อ
ใบ
แจ้งหนี้
Context Diagrams
เป็ นการไหลของข้อมูล (DFD) ระดับสูงสุ ด
ที่แสดงถึง ขอบเขตของสารสนเทศนั้น ๆ ในระดับ
Top-Level ซึ่งจะไม่แสดงถึงสัญลักษณ์การเก็บข้อมูล
(Data Store) เพราะจะเป็ นการเขียนถึงภายในระบบ
แต่จะใช้สญ
ั ลักษณ์ของ External Entity กับ สัญลักษณ์
การประมวลผล (Process) เพื่อให้สามารถมองเห็น
ภาพรวมของระบบได้ง่ายขึ้น
เริ่ มเขียน Context Diagram Level 0
Level 0 เป็ นระดับแรกในการเขียน Context
Diagram มีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงหน่วย
ประมวลผลหลัก ๆ ที่ตอ้ งใช้
หลังจากนั้นจึงเขียน Data Flow Diagram ใน
ระดับย่อยลงมา
รายละเอียด
นักศึกษา
ผลสอบปลายภาค ผลการเรี ยน
ข้อมูลการลงทะเบียนเรี ยน
0
ระบบ
เกรด
นักศึกษา
เกรด
รายงานเกรด
เกณฑ์การให้เกรด
อาจารย์
1. Context Diagram ทีด่ นี ้ันควรเขียนให้ ครอบคลุมระบบใน 1 หน้ า
2. Context Diagram ชื่อของการ Process ควรเป็ นชื่อของระบบ
สารสนเทศนั้น
3. Context Diagram ชื่อทีเ่ ขียนกากับสั ญลักษณ์ ต่าง ๆ จะต้ อง
เขียนโดยไม่ ใช้ ชื่อซ้ากัน ถ้ าสั ญลักษณ์ น้ันแทนสิ่ งทีต่ ่ างกัน
4. Context Diagram ควรหลีกเลีย่ งเส้ นที่เขียนคร่ อมเส้ นกัน
5. Context Diagram ในการเขียนชื่อย่ อ จะต้ องเขียนความหมาย
ของตัวย่ อใน Data Dictionary ด้ วย
แผนภาพการไหลระดับ 0 (Diagram 0)
เป็ น DFD ที่ให้รายละเอียดในระดับแรกสุ ด
รองจากระดับสูงสุ ด เพื่อให้เห็นภาพรวมของ
DFD ซึ่งจะมีรายละเอียดมากกว่า Context
Diagram
เกรด
2
3
เกรดนักศึกษา
รายชื่อนักศึกษา
กาหนดเกรด
การทางานของ
Final
นักศึกษา
เกรดสุ ดท้าย
การลงทะเบียน
รายละเอียด
เกรด
เกรด
การบ้าน ,งาน
1
รายละเอียดการวัดผล
แฟ้ มข้อมูลเกรด
เกณฑ์การ
นักศึกษา
วัดผล
เกณฑ์การให้เกรด
อาจารย์
รายงานเกรด
รายละเอียดการเรี ยน
4
รายงานเกรด
คาอธิบายการประมวลผล (Process Description)
แผนภาพกระแสข้อมูลมีขอ้ ดีคือ สามารถบรรยาย
ภาพรวมของระบบในลักษณะของแผนภาพ
รายละเอียดในคาอธิบายการประมวลผลข้อมูล
เป็ นรายละเอียดที่ใช้เป็ นแนวทางหรื ออัลกอริ ทึม
การทางานในแต่ละ Process ซึ่งจะอธิบาย
ได้ดีกว่าแผนภาพ
ทุกกระบวนการหรื อทุก Process ใน
แผนภาพกระแสข้อมูล ต้องมีคาอธิบายการ
ประมวลผลเสมอรายละเอียดในคาอธิบายการ
ประมวลผลจะมีมากน้อยเท่าใดขึ้นอยูก่ บั
รายละเอียดของ Process ในระดับนั้น ๆ
การเขียนรายละเอียดขอคาอธิบายการประมวลผล
สามารถมารถเขียนในลักษณะต่าง ๆ ได้ดงั นี้
 Structured English Logic
 Decision Tree
 Decision Table
 Structured English Logic
โครงสร้างภาษา เป็ นโครงสร้างที่มีลกั ษณะคล้าย
อัลกอริ ทึม โดยจะมีคาสัง่ เป็ นภาษาอังกฤษ ที่เรี ยกว่า
คาสัง่ เฉพาะ
 Decision Tree
มีลกั ษณะคล้ายต้นไม้ที่แบ่งแยกเงื่อนไขออกเป็ น
ส่ วน ๆ ทาให้เห็นโครงสร้างเงื่อนไขได้ชดั เจน
การใช้ผงั ต้นไม้ในการเขียนเส้นทางการตัดสิ นใจ
โดยจะเหมือนกิ่งก้านสาขาของต้นไม้โดยมีรากอยู่
ทางซ้ายมือ และกิ่งอยูท่ างขวามือ ซึ่งจะคล้ายกับ
ตารางการตัดสิ นใจ แต่ต่างกันที่รูปแบบเท่านั้น
 Decision Tables
ตารางการตัดสิ นใจ (Decision tables)
โดยจะแบ่งตารางออกเป็ นส่ วน ๆ ด้วยกัน
ดังนี้คือ
Condition คือ เงื่อนไข ที่กาหนดขึ้น
Action คือ ผลของเงื่อนไข ซึ่งได้จาก
เงื่อนไขต่าง ๆ มาประมวลผลจนได้ผลลัพธ์
เทคนิคในการเลือกวิธีการอธิบายการประมวลผล
 จะเลือก Structure Language ต่อเมื่อการ
ประมวลผลนั้นเกิดเหตุการณ์ที่กระทาซ้ า

จะเลือก Decision tableต่อเมื่อเงื่อนไข กิจกรรมที่
จะกระทา และกฎในการประมวลผลมีความซับซ้อนมาก
จะเลือก Decision Tree ก็ต่อเมื่อการเกิด
เงื่อนไขต่าง ๆ และการกระทากิจกรรมเป็ นไปตามลาดับ
ก่อนหลัง
แบบจาลองข้อมูล
แผนภาพกระแสข้อมูลเป็ นเพียงแผนภาพส่ วนหนึ่ง
ของผังงานระบบ โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
โปรเซสและข้อมูล ไม่ได้แสดงความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลในระบบ จึงเป็ นที่มาของ Entity Relationship Diagram (E-R
diagram )
คาว่า Relationship หมายถึงความสัมพันธ์
ทางตรรกศาสตร์ของสิ่ งต่าง ๆ (Entity) ภายใน
ระบบนั้นเราสามารถสื่ อออกมาในลักษณะของ
รู ปภาพเพื่อใช้ในการนาเสนอซึ่งจะเรี ยกว่า
แผนภาพความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ (entityrelationship diagram) หรื อย่อว่า แผนภาพ
E-R
เอนทิต้ ี (Entity) หมายถึง สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง อาจเกี่ยวกับ
คน สถานที่ สิ่ งของ หรื อการกระทา ซึ่งต้องการจัดเก็บ
ข้อมูลเอาไว้ เช่น เอนทิต้ ีพนักงาน เอนทิต้ ีสินค้า เอนทิต้ ี
ลูกค้า เป็ นต้น
แอททริ บิวท์
(Attribute) หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลใน
เอนทิต้ ีหนึ่ง ๆ เช่น
แฟ้มข้ อมูลพนักงาน (Entity)
รหัสพนักงาน ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ ง
เขตข้ อมูล (Attribute)
อัตรา
เงินเดือน