Ch 13: Systems Analysis and Design

Download Report

Transcript Ch 13: Systems Analysis and Design

Business Information Technology : BIT
1
การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
(Systems Analysis and Design)
AJ. Thunyanit Tongnate
1
Information Technology : IT
Contents (เนื้อหา)
ระบบ (System)
ประเภทของระบบ (Systems Type)
ชนิดของระบบสารสนเทศ
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst : SA)
เครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์และออกแบบระบบ(Tools)
2
Information Technology : IT
วัตถุประสงค์
ทราบถึงความหมายของระบบ
 ทราบถึงความหมายและชนิดของระบบสารสนเทศ
 มีความเข้าใจถึงระบบสารสนเทศและการนาไปประยุกต์ใช้
 ทราบถึงหน้าทีแ
่ ละบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ

3
What (สิ่งที่ตอ้ งทราบ)
ระบบคืออะไร
ทาไมต้องมีการวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบเกี่ยวข้องกับโครงสร้างของ
องค์กรอย่างไร
จะต้องมีขนั ้ ตอนใดบ้างในการพัฒนาระบบ
4
ระบบ หมายถึง
การดาเนินงานของหน่ วยงานที่มี
องค์ประกอบต่างๆที่ทาหน้ าที่ร่วมกัน
เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์เดียวกัน
5
ระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (Computer System)
Hardware
(ฮาร์ดแวร์)
Software
(ซอฟต์แวร์)
Peopleware
(บุคลากร)
6
ภาพรวมของระบบ




ระบบจะถูกกาหนดด้วยขอบเขต (Boundary)
ซึง่ ภายในระบบจะประกอบไปด้วยระบบย่อย (Sub system) ต่าง ๆ (ระบบย่อย
ก็คอื องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ)
ระบบทีด่ ี จะต้องมีการสือ่ สารระหว่าง Sub system มีความสมบูรณ์ในตัว เพือ่ ให้
ระบบดาเนินไปสูเ่ ป้าหมาย (Goal)
ซึง่ การทางานของระบบ จะมีสงิ่ แวดล้อม (Environment) คอยสร้างสิง่ ทีม่ ี
ผลกระทบต่อระบบ
7
ภาพรวมของระบบ
8
ผลกระทบจากสงิ่ แวดล ้อม
 ผลกระทบภายในระบบ (Internal Environment)
ต ้นทุนผลิตสูงขึน
้
 ปั ญหาความขัดแย ้งระหว่างพนักงาน
 ปั ญหาการบังคับบัญชาในองค์การ
 ปั ญหาการขาดพนักงานในตาแหน่งหน ้าที่
 ปั ญหาการขาดงาน
 ผลกระทบภายนอกระบบ (External Environment)
 คูแ
่ ข่งทางการค ้าหรือธุรกิจ
 นโยบาย กฎระเบียบของรัฐ
 ภัยธรรมชาติ
 ความต ้องการของลูกค ้า
 เทคโนโลยี

ปัญหาภายในที่ส่งผลกระทบ
ต่อการทางานของระบบ
(ควบคุมได้)
ปัญหาภายในที่ส่งผลกระทบ
ต่อการทางานของระบบ
(ควบคุมไม่ได้)
9
ระบบธุรกิจ
ั พันธ์กน
 ประกอบไปด ้วยระบบย่อยทีม
่ ค
ี วามสม
ั
ิ้
ทัง้ สน
ื่ มโยงข ้อมูล
 ทัง้ ในด ้านของกิจกรรมและการเชอ
 พร ้อมทัง้ ระบบยังต ้องมีการรับข ้อมูลจาก
สภาพแวดล ้อมภายนอกทีจ
่ ะมีผลต่อการ
ดาเนินการภายในระบบด ้วย
 ดังนัน
้ การดาเนินงานของระบบโดยรวม ก็ต ้อง
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั การทางานภายในระบบย่อย เพราะ
สง่ ผลถึงภาพรวมของระบบธุรกิจ
10
ประเภทของระบบ (Systems Type)
ระบบปิด (Closed System)
ระบบเปิด (Open System)
ระบบภาคธุรกิจ (Business System)
ระบบภาครัฐ (Public System)
11
ระบบปิด หมายถึง
ระบบที่ไม่ปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งแวดล้อม
มีจดุ มุ่งหมายการทางานภายในตัวเอง
โดยจะไม่ย่งุ เกี่ยวหรือไม่รบั ข้อมูลจาก
สิ่งแวดล้อมใด ๆ เข้ามา
Closed
Software
ระบบ
ลงทะเบียน
12
ั ญาณไฟจราจร #1
ภาพสญ
13
ระบบเปิด หมายถึง
ระบบที่มีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่งแวดล้อม
ด้วยการแลกเปลี่ยน หรือการรับ - ส่ง
ข้อมูลเข้ามาในระบบ กล่าวคือ
ตรงกันข้ามกับระบบปิด
Open
Software
ระบบ
อินเทอร์เน็ ต
14
ั ญาณไฟจราจร #2
ภาพสญ
15
ระบบภาคธุรกิจ (Business System)
คือ ระบบที่มีเป้ าหมายเพื่อมุ่งหวังผลกาไร และ
ผลตอบแทนจากการลงทุน
ระบบ
การผลิต
ระบบ
การบ ัญช ี
ระบบ
การตลาด
ระบบ
ิ ค้าคงคล ัง
สน
ระบบบริหาร
งานบุคคล
ระบบธุรกิจ
16
ปัจจัยที่ทาให้ระบบภาคธุรกิจเปลี่ยนแปลง
1.ผลกระทบภายในระบบ
ต้นทุนการผลิตสูง
ความซา้ ซ้อนของหน่ วยงาน
ความขัดแย้งระหว่างพนักงาน
1.ผลกระทบภายนอก
ระบบ
คู่แข่ งทางการค้ า
นโยบาย กฎระเบียบภาครั
ความต้ องการของลูกค้ า
เทคโนโลยี
17
ระบบภาครัฐ (Public System)
คือ ระบบที่มี
เป้ าหมายเพื่อการอยู่ดี
กินดีของประชาชน
มุ่งหวังการบริการที่ดี
18
การเปลีย
่ นแปลงทางเทคโนโลยี > Software
19
Unix
การเปลีย
่ นแปลงทางเทคโนโลยี > Hardware
486
20
การเปลีย
่ นแปลงทางเทคโนโลยี > Topology
21
ระบบสารสนเทศ (Information System)
 ข้อมูล
และสารสนเทศ
 ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ชนิดของระบบสารสนเทศ
22
ข้อมูลและสารสนเทศ (DATA & INFORMATION)
 Data คือ ข้อมูลดิบ เป็ นสิง่ ทีม่ คี วามหมายในตนเองโดยไม่ก่อให้เกิด
ประโยชน์ใดใด เช่น จานวนผูโ้ ดยสารในเครือ่ งบินมีกค่ี น
 Information1 คือ ข้อมูลดิบทีผ่ า่ นการประมวลผลแล้ว และก่อให้เกิด
สารสนเทศ อันเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้
 Information2 คือข้อมูลข่าวสาร ความรูต้ ่าง ๆ ทีม่ กี ารบันทึกอย่างเป็ น
ระบบ ตามหลักวิชาการ เพือ่ นามาเผยแพร่และใช้งานต่าง ๆ ทุกสาขา


เช่น ในเทีย่ วบินมีผโู้ ดยสารแยกเป็ นชาย/หญิง กีค่ น
สารสนเทศสามารถกลับไปเป็ นข้อมูลอีกครัง้ ได้ เพือ่ ทาการประมวลผลให้เป็ น
สารสนเทศอีกครัง้ หนึ่ง
23
ข้อมูลและสารสนเทศ (DATA & INFORMATION)
ข้อมูล
DATA
กระบวนการ
Process
สารสนเทศ
Information
24
ความหมายของการประมวลผล (Processing)
วิธกี ารจัดการกับข้อมูล เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีม่ ี
ความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้งาน
 หมายถึง
การคานวณ
25
ตัวอย่างการประมวลผลข้อมูล
การจัดหมวดหมู่
A
xxx
B
Xxx
xxx
C
xxx
Xxx
xxx
xxx
Xxx
การเรียงลาดับข้อมูล
การสรุปผล
xxx
26
คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ความถูกต้อง (Accuracy)
 ทันเวลา (Timeliness)
 ความสมบูรณ์ (Completeness)
 สอดคล้องกับงาน (Relevance)
 การตรวจสอบได้ (Verifiability)
 ความเชือ
่ ถือได้ (Reliability)
 ความคุม
้ ทุน (Economy)
 ความยืดหยุน
่ (Flexible)

27
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ
่ นนาเข้า
สว
Input
กระบวนการ
Process
ผลล ัพธ์
Output
ผลป้อนกล ับ
Feedback
28
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
 1หมายถึง


การผสมผสานการใช้งานระหว่างเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์
(ฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์) กับเทคโนโลยีการสือ่ สาร (ข้อมูล ภาพ เสียง และ
เครือข่าย) เพือ่ ให้การติดต่อสือ่ สาร และการส่งผ่านข้อมูลมีความสะดวกรวดเร็ว
มากขึน้
2หมายถึง การนาเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสอ
่ื สาร
โทรคมนาคม มาใช้รว่ มกันเพือ่ ใช้ในกระบวนการรวบรวมข้อมูล จัดหา จัดเก็บ
สร้างและเผยแพร่ระบบสารสนเทศต่างๆทีม่ คี วามถูกต้องแม่นยา ความรวดเร็ว
ทันต่อการนาไปใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้าน
การเกษตร ด้านธุรกิจ ด้านการแพทย์ ด้านการศึกษา เป็ นต้น
29
ชนิดของระบบสารสนเทศ







ระบบประมวลผลรายการเปลีย่ นแปลง ( Transaction Processing Systems : TPS)
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information Systems : MIS)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems : DSS)
ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (Expert Systems : ES)
ระบบสารสนเทศเพือ่ ผูบ้ ริหาร (Executive Information Systems : EIS)
ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information Systems : OIS)
ระบบบนเว็บ (Web-based Systems)
30
ระบบประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง(
Transaction Processing Systems : TPS)




เป็ นระบบทีเ่ กีย่ วข้องกับการดาเนินงานในประจาในองค์การ เช่น การ
บันทึกรายการขาย, รายการตรวจโรคคนไข้, รายการบันทึกเวลา
ทางานประจาวัน
โดยข้อมูลเหล่านี้จะเก็บรวบรวมเอาไว้เพือ่ นาไปสร้างรายงาน หรือ
ประมวลผลต่อไป
สร้างข้อมูลเพือ่ ดาเนินธุรกิจได้ เช่น ออกใบกากับภาษี ออกใบแจ้งหนี้
ออกใบรายการสินค้า
บารุงรักษาข้อมูลโดยการปรับปรุงข้อมูล (เพิม่ ลบ แก้ไข)
31
คุณลักษณะของ TPS
 การแยกประเภท
(Classification)
 การคานวณ (Calculation)
 การจัดเรียง (Sorting)
 การสรุปผล (Summarization)
 การจัดเก็บ (Storage)
32
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information Systems : MIS)





เป็ นระบบทีน่ าสารสนเทศมาช่วยในการจัดทารายงานลักษณะต่างๆ
วางแผน และควบคุมการดาเนินงานทางธุรกิจ
เป็ นระบบทีต่ อบสนองความต้องการในด้านการสร้างรายงาน ที่
สามารถช่วยให้การตัดสินใจบริหารของผูบ้ ริหารทาให้งา่ ยขึน้
สามารถสร้างสารสนเทศทีอ่ า้ งอิงได้ตามหลักการด้านการจัดการ ด้าน
สถิตทิ เ่ี ป็ นทีย่ อมรับได้
ได้ขอ้ มูลมาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงระบบการประมวลผล
รายการเปลีย่ นแปลง (TPS)
มีการเตรียมสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ตามความละเอียดของข้อมูล
33
คุณลักษณะของ MIS
 การรวบรวมข้อมูล
ประมวลผลข้อมูล และจัดทาเป็ น
สารสนเทศในรูปแบบรายงานทีม่ าจากฐานข้อมูลจากแหล่ง
เก็บข้อมูลต่างๆ หรือได้จาก TPS แล้วจัดทาเป็ นรายงาน
หรือเอกสารเพือ่ ใช้ในงานบริหาร
 สารสนเทศทีเ่ กิดขึน
้ มีรปู แบบต่างๆ คือ
สารสนเทศแบบละเอียด (Detailed Information)
 สารสนเทศแบบสรุป (Summary Information)
 สารสนเทศแบบกรณีเฉพาะ (Exception information)

34
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support Systems : DSS)



เป็ นระบบทีส่ นับสนุนการตัดสินใจของผูใ้ ช้ในด้านต่าง ๆ แต่ DSS ไม่ได้ตดั สินใจ
แทน เมือ่ ผูใ้ ช้ระบบต้องการตัดสินใจเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง หรือต่อเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง ผูใ้ ช้ระบบก็จะทาการป้อนข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวแปรต่างๆ ของ
เหตุการณ์นนั ้ เข้าสูร่ ะบบ DSS จากนัน้ ระบบจะทาการประมวลผลลัพธ์ต่างๆ
แล้วรายงานออกมาเป็ นทางเลือกให้ผใู้ ช้ระบบได้เห็นและรับทราบถึงข้อ
เปรียบเทียบ โดยผลลัพธ์ทไ่ี ด้นนั ้ ขึน้ อยูก่ บั ตัวแปรทีแ่ ตกต่างกันของสถานการณ์
นัน้ ๆ และสุดท้ายจึงเป็ นหน้าทีข่ อง ผูต้ ดั สินใจว่าจะปฏิบตั ติ ามแนวทางหรือไม่
อย่างไรจึงจะดีทส่ี ดุ
โดยการนาเอาข้อมูลทีไ่ ด้จากการรวมรวมไว้มาทาการวิเคราะห์ผล เพือ่ ช่วยใน
การตัดสินใจแก้ปญั หา
โดยทีส่ ามารถสร้างทางเลือกในการตัดสินใจได้หลาย ๆ ทาง
35
คุณลักษณะของ DSS



มีการจัดเตรียมสารสนเทศทีไ่ ด้จากการประมวลผลแล้วจาก TPS
สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มโี ครงสร้างหรือแบบกึง่ โครงสร้าง
สนับสนุนการตัดสินใจของผูใ้ ช้ดา้ นต่างๆดังนี้






ระบุถงึ ปญั หาหรือโอกาสในการตัดสินใจ
ระบุถงึ ความเป็ นไปได้ในการแก้ปญั หาหรือการตัดสินใจ
เตรียมสารสนเทศทีจ่ าเป็ นสาหรับการแก้ปญั หาหรือการตัดสินใจ
วิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจทีเ่ ป็ นไปได้ เช่น อะไรจะเกิดขึน้ …ถ้า (what…if)
จาลองทางเลือกและผลลัพธ์ของการตัดสินใจทีเ่ ป็ นไปได้
เครือ่ งมือของ DSS สามารถนาโปรแกรมมาประยุกต์ใช้ได้ เช่น Excel, Access,
Crystal Report, SPSS เป็ นต้น
36
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
(Expert Systems : ES)




เป็ นระบบทีช่ ว่ ยแก้ปญั หาหรือทาการตัดสินใจแทนผูใ้ ช้ โดยเลียนแบบเหตุผล
และความคิดจากสารสนเทศทีร่ วบรวมมาจากประสบการณ์ในการแก้ปญั หาจริง
และนามาเป็ นทางเลือกในการแก้ปญั หาหรือตัดสินใจ
หากใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI
อาจเรียกได้วา่ Expert System Shells)
สามารถดึงสารสนเทศจากคลังข้อมูล (Data Warehouse) ได้เช่นเดียวกับระบบ
DSS
ตัวอย่างของ ES ได้แก่ ระบบวินิจฉัยโรค การสารวจทางธรณีวทิ ยา ระบบ
ผูเ้ ชีย่ วชาญการควบคุมคุณภาพอาหาร เป็ นต้น
37
คุณลักษณะของ ES




ฐานความรู้ (Knowledge Base)
เครือ่ งอนุมาน (Inference Engine)
ระบบย่อยในการหาความรู้ (Knowledge Acquisition System)
ส่วนอธิบาย (Explanation Facility)
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นสาขาหนึ่ งที่อยู่ในระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence
:AI) ซึ่งประกอบด้วยสาขาต่างๆคือ ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) หุ่นยนต์
(Robotics) ระบบการมองและการออกเสียง (Visual and Oral Perception Systems)
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert Systems) เครื่องจักรชาญฉลาด (Intelligent Machines)
เครือข่ายประสาท (Neural Network) ตรรกศาสตร์คลุมเครือ (Fuzzy Logic) อัลกอริทึม
พันธุกรรม (Genetic Algorithms) เป็ นต้น
38
ระบบสารสนเทศเพื่อผูบ้ ริหาร
(Executive Information Systems : EIS)


เป็ นระบบหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ทีถ่ ูกพัฒนาขึน้ เพือ่
สนองความต้องการให้กบั ผูบ้ ริหารระดับสูง (Top Executive) ซึง่
ผูบ้ ริหารระดับสูงนี้มกั เป็ นบุคคลทีอ่ ยูใ่ นตาแหน่งสูงสุดของหน่วยงาน
(Chief Executive Officer : CEO) การตัดสินใจของผูบ้ ริหารเหล่านี้มี
ผลกระทบต่อการดาเนินงาน ความมันคง
่ ความอยูร่ อด และ การเจิรญ
เติบโตขององค์กรนัน้ ๆ
บางครัง้ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ระบบสนับสนุนผูบ้ ริหาร” (Executive
Support System : ESS)
39
คุณสมบัติของ EIS





สนับสนุนการวางแผนทางยุทธศาสตร์ (Strategic-Planning Support)
เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร(External Environment
Focus)
ความสามารถในการคานวณอย่างกว้างขวาง (Broad-Based
Computing Capabilities)
ง่ายต่อการเรียนรูแ้ ละการใช้งาน (Exceptional Ease of Learning
and Uses)
เป็ นระบบเฉพาะสาหรับผูบ้ ริหาร (Customization)
40
ระบบสารสนเทศสานักงาน
(Office Information Systems : OIS)
 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office
Automation Systems : OAS) เป็ นระบบทีส่ นับสนุน
กิจกรรมการทางานในสานักงานทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละวัน
รวมทัง้ ช่วยในการติดต่อสือ่ สารของบุคลากรไม่วา่ จะอยูใ่ น
สถานทีเ่ ดียวกันหรือไม่กต็ าม
41
คุณลักษณะของ OIS
 มีการเก็บรวบรวมสารสนเทศต่าง
ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบุคคล
ทุกกลุม่ ไว้เพือ่ การใช้งาน
 ช่วยการทางานอัตโนมัตด
ิ า้ นต่าง ๆ ได้แก่ การประมวลคา
ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การทางานร่วมกันเป็ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การ
กาหนดการทางานร่วมกัน เป็ นต้น
 ประยุกต์กบ
ั ระบบ TPS เกิดเป็ นเทคโนโลยีทห่ี ลากหลาย
42
OIS แบ่งตามหน้ าที่ได้ดงั ต่อไปนี้
 ระบบจัดการด้านเอกสาร
(Document Management
System)
 ระบบการส่งข่าวสาร (Message-handling System)
 ระบบการประชุมทางไกล (Teleconferencing System)
 ระบบสนับสนุ นงานในสานักงาน (Office Support System)
43
ระบบบนเว็บ (Web-based Systems)


เป็ นระบบสารสนเทศทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ เพือ่ ใช้ในระบบอินเทอร์เน็ตและการ
ใช้บริการเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) ทาให้ผใู้ ช้
สามารถเข้าใช้ได้ทุกทีท่ ุกเวลาทุกสถานที่ ความรวดเร็วทีเ่ กิดขึน้ จาก
การให้บริการด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นการศึกษา ด้านธุรกิจ ทีไ่ ด้พฒ
ั นา
ระบบบนอินเทอร์เน็ตมากขึน้
ตัวอย่างเช่น ระบบสืบค้นข้อมูล การทาธุรกิจอีคอมเมิรซ์ (การ
พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์) การใช้ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ การ
แลกเปลีย่ นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ตทีเ่ พิม่ ความสะดวก
ให้กบั ลูกค้าและคูค่ า้
44
Who is SA ?
คือ บุคคล หรื อกลุ่ม
บุคคลที่ทาหน้ าที่วิเคราะห์
และออกแบบระบบงานที่
จะนาคอมพิวเตอร์ เข้ ามา
ใช้ งานแทนที่ระบบเดิม
รวมไปถึงการพัฒนาระบบ
เดิมให้ มีความทันสมัยอยู่
เสมอ
45
นักวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis : SA)
Management
User
System Analyst
Programmer
46
คาสาคัญ (Key Word)
Current System
่ าล ังทางานอยู่
(ระบบปัจจุบ ัน) คือ ระบบปัจจุบ ันทีก
New System
(ระบบใหม่)
้ มาใหม่
คือ ระบบทีพ
่ ัฒนาขึน
Old System
่ ก
ู แทนทีด
่ ว้ ยระบบใหม่
(ระบบเก่า) คือ ระบบทีถ
47
ทาไมต้องพัฒนาระบบใหม่ (Why)
ปรั บปรุ งบริ การแก่ ลูกค้ า
เพิ่มประสิทธิการทางาน
เพิ่มกระบวนการควบคุมการทางาน
ลดต้ นทุนการดาเนินการ
ต้ องการสารสนเทศมากขึน้
48
ผลจากการวิเคราะห์ระบบ
ไม่ ต้องดาเนินการใด ๆ
ปรั บปรุ งระบบเดิมให้ ดีขนึ ้
พัฒนาระบบใหม่
49
ลักษณะงานของนักวิเคราะห์ ระบบ
๑
วิเคราะห์ระบบเท่านน
ั้
เรียกตาแหน่งนีว้ า
่ “Information Analysts”
๒
วิเคราะห์ และออกแบบระบบ
เรียกตาแหน่งนีว้ า
่ “System Designers”
หรือ “Applications Developers”
๓
วิเคราะห์ ออกแบบระบบ และเขียนโปรแกรม
เรียกตาแหน่งนีว้ า
่ “Programer Analysts”
50
คุณสมบ ัติ
น ักวิเคราะห์ระบบ
1. ท ักษะและความรูท
้ างเทคนิค
(Technical Knowledge and Skills)
2. ท ักษะและความรูท
้ างธุรกิจ
(Business Knowledge and Skills)
3. ท ักษะและความรูด
้ า้ นคนและทีมงาน
(People Knowledge and Skills)
ั และจรรยาบรรณในอาชพ
ื่ สตย์
ี
4. ความซอ
(Personal Integrity and Ethics)
51
อะไรที่เป็ นไปไม่ ได้ สาหรั บการวิเคราะห์ ระบบ
การวิเคราะห์ ให้ ทางานโดยใช้ คอมพิวเตอร์
เพียงอย่ างเดียว
การวิเคราะห์ ให้ ระบบไม่ มีการเปลี่ยนแปลง
การวิเคราะห์ ให้ ระบบใช้ แก้ ปัญหาได้ อย่ างดี
ที่สุด
53
Whom does System Analyst need to contact?
ผูจ้ ดั การ
โปรแกรมเมอร์
เจ้าของระบบ
นักวิเคราะห์
ระบบ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ด้านเทคนิค
ผูใ้ ช้ระบบ
ผูข้ ายและ
ผูจ้ ดั จาหน่ าย
54
แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_Analyse/index.html
http://www.bcoms.net/system_analysis/index.asp
http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5027/image/System/Bot.html
55
แบบฝึ กหัดท้ายบท







ระบบคืออะไร อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ระบบสารสนเทศ แตกต่างจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร
ระบบสารสนเทศมีชนิดอะไรบ้าง จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่าง
ประกอบ
นักวิเคราะห์ระบบ คือใคร และเป็ นบุคคลทีม่ บี ทบาทอย่างไร
คุณสมบัตขิ องการเป็ นนักวิเคราะห์ระบบทีด่ คี อื อะไรบ้าง
อาชีพนักวิเคราะห์ระบบมีความสาคัญอย่างไรต่อการพัฒนาประเทศ
จงเขียนมาไม่ต่ากว่า 5 บรรทัด
เทคโนโลยีสารสนเทศเกีย่ วข้องอย่างไรกับการพัฒนาระบบ
56
แบบฝึ กหัดท้ายบท (ต่อ)






ขัน้ ตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบประกอบไปด้วย
อะไรบ้าง
สาเหตุใดต้องมีการพัฒนาระบบใหม่เข้ามาแทนที่ระบบเดิม
ตาแหน่ งงานทางด้านคอมพิวเตอร์ได้แก่อะไรบ้าง สาหรับผูท้ ี่จบ
ทางด้าน IT
คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
อะไรคือสิ่งที่เป็ นไปไม่ได้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
จงวิเคราะห์ ว่าระบบห้ องสมุด ควรประกอบไปด้ วยระบบย่ อย ๆ
อะไรบ้ าง ให้ บอกฟั งก์ ชันหลัก ๆ ที่จาเป็ น โดยศึกษาจาก
แหล่ งข้ อมูลจริง
57