คอมพิวเตอร์ (Computer) - proton.rmutphysics.com

Download Report

Transcript คอมพิวเตอร์ (Computer) - proton.rmutphysics.com

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์
วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
คอมพิวเตอร์ (COMPUTER)
• คอมพิ ว เตอร์ หมายถึ ง อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ทท่ี างานตามชุดคาสัง่
อ ย่ า ง อั ต โ น มั ติ โ ด ย จ ะ ท า ก า ร
คานวณข้อมูล เปรียบเทียบตรรกะ
ของข้อ มู ล และให้ผ ลลัพ ธ์ อ อกมา
ตามทีก่ าหนด
2
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Mainframe computer
• เมนเฟรม คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทม่ี กี ารพัฒนามา
ตัง้ แต่เริม่ แรก
• เมนเฟรมเป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทม่ี รี าคา
สูงมาก มักอยูท่ ศ่ี นู ย์คอมพิวเตอร์หลักของ
องค์การ และต้องอยูใ่ นห้องทีม่ กี ารควบคุม
อุณหภูมแิ ละมีการดูแลรักษาเป็ นอย่างดี
• ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมอยูท่ ง่ี านที่
ต้องการให้มรี ะบบศูนย์กลาง
3
เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ ถูกสร้างขึน้ เป็ นครัง้ แรกในช่วง ค.ศ.1942-1946 มีชอ่ื เรียกว่าอีนแี อค ENIAC ( Electronic
Numerical Integer and Calculator ) เป็ นเครือ่ งคานวณอิเล็กทรอนิกส์เครือ่ งแรกทีใ่ ช้หลอดสุญญากาศ จานวน
18,000 หลอด จึงต้องใช้กาลังไฟฟ้าค่อนข้างมาก มีปญั หาเรือ่ งความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ๆ ต้องวางไว้ในห้อง
ปรับอากาศ
คอมพิวเตอร์เมนเฟรมทีถ่ ูกนามาใช้ในประเทศไทยเป็ นครัง้ แรก คือ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ IBM 1620 เมือ่ ปี พ.ศ.
2506 โดยได้รบั มอบจากมูลนิธิ เอ ไอ ดี และ บริษทั IBM ซึง่ ติดตัง้ ทีภ่ าควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการ
บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ ปจั จุบนั หมดอายุการใช้งานนาไปเก็บรักษาไว้ทศ่ี นู ย์บริภณ
ั ฑ์การศึกษา
ท้องฟ้าจาลอง กรุงเทพฯ
4
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Mini computer
• ในช่วงปี ค.ศ. 1965-1970 ได้มกี ารนาวงจร
รวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : Integrated
Circuit) จึงทาให้คอมพิวเตอร์มขี นาดเล็กลง
กว่าเดิมแต่ความเร็วในการทางานสูงขึน้
• ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ IBM 360
เป็ นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้วงจรรวมที่
สามารถทางานได้ทงั ้ การประมวลผล
แฟ้มข้อมูล และวิเคราะห์คา่ ทางคณิตศาสตร์
• คอมพิวเตอร์ ชือ่ PDP1 เป็ น มินิคอมพิวเตอร์
(Minicomputer) ของบริษทั DEC (Digital
Equipment Corporation) เป็ นทีน่ ิยมใช้กนั
แพร่หลายโดยเฉพาะในกลุม่ ของ
นักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกร และนักวิจยั ตาม
มหาวิทยาลัย
5
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Micro computer
• ไมโครคอมพิวเตอร์ เป็ นคอมพิวเตอร์ทถ่ี กู
สร้างจากการนาเอาวงจรรวมหรือไอซี มา
รวมกันเป็ นวงจรขนาดใหญ่ เรียกว่า VLSI
(Very Large Scale Integration) ลงในชิป
แต่ละอัน ทาให้คอมพิวเตอร์มขี นาดเล็กลง
จนตัง้ ไว้ทโ่ี ต๊ะได้
• นาไปสูก่ ารเป็ นคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล ที่
เรียกว่า PC หรือ Personal Computer)
คอมพิวเตอร์ PC ถูกสร้างขึน้ ครัง้ แรกเมือ่
ค.ศ. 1975 โดยบริษทั IBM ได้กลายเป็ น
ต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดรุน่ หลัง ๆ
ถัดมา
6
7
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Hardware
• CPU
• Memory
• Input / Output
Software
• Operating System
• Application program
8
หน่ วยประมวลผลกลาง
• CPU หรือ Central Processing
Unit มีหน้าทีค่ วบคุมการทางานของ
ระบบและปฏิบตั งิ านตามคาสังที
่ ่
ปรากฏอยูใ่ นโปรแกรม
• ประกอบด้วยหน่วยย่อย ๆ อีก 2
หน่วย ได้แก่ หน่วยคานวณเลขคณิต
และตรรกวิทยา (ALU หรือ
Arithmetic and Logical Unit) และ
หน่วยควบคุม (CU หรือ Control
Unit)
หน้าทีข่ อง CPU
1. ควบคุมให้การทางานเป็ นไปตามคาสัง่
2. วิเคราะห์ขอ้ มูลทีป่ ้ อนเข้า
3. จัดการปฏิบตั งิ าน
4. ส่งข้อมูลไปจัดเก็บ
9
หน่ วยความจา (MEMORY UNIT)
• ทาหน้าทีเ่ ก็บโปรแกรมหรือข้อมูลทีร่ บั มาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้
หน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการ
ประมวลผล เพือ่ เตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
• หน่วยความจาแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
• หน่วยความจาหลัก (Main memory)
•
•
•
•
หน่วยความจาแรม (RAM : Random Access Memory)
หน่วยความจารอม (ROM : Read Only Memory)
แคช (Cache)
หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory)
• หน่วยความสารอง (Secondary Storage)
10
อุปกรณ์รบั ข้อมูล / แสดงผลข้อมูล
• Input / Output Unit
• อุปกรณ์รบั ข้อมูล(Input devices) ทาหน้าทีใ่ นการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง ของอุปกรณ์ทใ่ี ช้รบั ข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือ
คียบ์ อร์ด (Keyboard) เครือ่ งสแกนต่าง ๆ
• อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) ทาหน้าทีแ่ สดงผลลัพธ์จากการประมวลผล
เช่น จอภาพเครือ่ งพิมพ์ ลาโพง
11
องค์ประกอบส่วนฮาร์ดแวร์
12
ส่วนประกอบของ PC
13
MAINBOARD หรือ MOTHERBOARD
14
ROM BIOS
• Basic Input / Output System เป็ นชุดคาสังหรื
่ อโปรแกรมขนาดเล็กทีซ่ พี ยี ใู ช้
เมือ่ เปิดเครือ่ งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะคอยควบคุมหรือจัดการข้อมูลทีว่ งิ่
ระหว่างระบบปฏิบตั กิ ารกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ นอกจากนี้ยงั ใช้เก็บข้อมูลพืน้ ฐาน
สาหรับเครือ่ งนัน้ ๆ
• หน้าทีห่ ลักของ BIOS
• ตรวจสอบอุปกรณ์ภายในเครือ่ งว่ามีอะไรบ้าง
• กาหนดการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานมาก
ทีส่ ดุ
• ทาหน้าทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างระบบปฏิบตั กิ ารหรือ application program กับ
ฮาร์ดแวร์
15
ขนาดข้อมูล
• การนาเลขฐานสองตัง้ แต่หนึ่งหลักขึน้ ไปเรียกว่า บิต (bit)
•
•
•
•
4 bit
8 bit
2 byte
2 word
จะเท่ากับ
จะเท่ากับ
จะเท่ากับ
จะเท่ากับ
1 nibble
1 byte
1 word
1 double word
• หน่วยวัดความจุ (ของหน่วยความจา ฮาร์ดดิสก์) ทีไ่ ด้ยนิ บ่อย ๆ คือ กิโลไบต์, กิกกะไบต์ มี
ความหมายเป็ นตัวเลขดังนี้
• 1 kB (kilobyte) = 1024 byte ( 210 )
• 1 MB ( Megabyte) = 1,048,576 byte (220)
• 1 GB (Gigabyte) กิกะไบต์ = 1,073,741,824) (230) byte
• 1 TB (Terabyte) เทอราไบต์ = 1.099,511,627,776 (240) byte
16
รหัสข้อมูล
• รหัสข้อมูล (Data representation) ได้แก่รหัสทีใ่ ช้แทนตัวเลข ตัวอักษร
สัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยนาเลขฐานสองมาเรียงต่อกันเป็ นกลุม่
• รหัส BCD (Binary Code Decimal)
• รหัส EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)
• รหัสข้อมูลทีน่ ิยมใช้ได้แก่ รหัส ASCII (American National Standard Institute)
ประกอบด้วยเลขฐานสองจานวน 1 byte แทนตัวอักษร 1 ตัวสามารถสร้าง
จานวนตัวอักษรได้ 256 ตัวอักษร
• รหัส UTF-8 เริม่ เป็ นทีน่ ิยมใช้กนั มากขึน้ สามารถรองรับการทางานระบบหลาย
ภาษา (Multi language) หรือทีเ่ รียกว่า Unicode จะใช้เนื้อทีใ่ นการเก็บตัวอักษร
1 ถึง4 ไบต์ ต่อตัวอักษร 1 ตัว ตัวอักษรของทุกชาติ ทุกภาษาจะถูกเก็บรวมไว้
ในรหัสนี้ทงั ้ หมด
17
ซอฟแวร์ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์
• ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมคาสังที
่ เ่ ขียนขึน้ เพือ่ สังให้
่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางาน
• ในการสร้างซอฟต์แวร์ ผูส้ ร้างจะต้องรูภ้ าษาคอมพิวเตอร์เพือ่ นาไปใช้ในการเขียนซอฟต์แวร์
เราแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็ นยุคสมัย ดังต่อไปนี้
• ภาษายุคที่ 1 (1GL) ภาษาเครื่อง
• ภาษายุคที่ 2 (2GL) ภาษา Assembly หรือ ภาษาระดับตา่
• ภาษายุคที่ 3 (3GL) ภาษาระดับสูง
• ภาษายุคที่ 4 (4GL)
• ภาษายุคที่ 4 ถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ ลดจานวนคาสังให้
่ เหลือน้อยลง และมีลกั ษณะใกล้เคียงกับ
ภาษาอังกฤษ ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ทไ่ี ม่เคยเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา 3GL สามารถเขียน
โปรแกรมได้ภาษายุคที่ 4 ส่วนใหญ่เกีย่ วข้องกับการเข้าถึง (Access) ฐานข้อมูล (Database)
ภาษา 4GL ทีเ่ ป็ นทีร่ จู้ กั กันทัวไปคื
่ อภาษา SQL (Structured Query Language) ซึ่งคิดค้น
18
โดย บริษทั IBM
ระบบปฏิบตั ิ การ (OS : OPERATION SYSTEM)
• โปรแกรมทีท่ าหน้าทีเ่ ชื่อมโยงระหว่างฮาร์ดแวร์
(อาจผ่านทางไบออสหรือโดยตรง) และโปรแกรม
ทีผ่ ใู้ ช้กาลังใช้งาน หน้าทีข่ องระบบปฏิบตั กิ าร
สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ส่วน คือ
• ควบคุมการทางานของโปรแกรมและอุปกรณ์ต่าง ๆ
โดยเฉพาะอุปกรณ์รบั ข้อมูล และแสดงผลลัพธ์
(Input/Output Device) และ ให้ผใู้ ช้สามารถใช้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก
• จัดสรรทรัพยากรซึง่ ใช่รว่ มกัน (Shared Resource)
หน้าทีน่ ้จี ะเห็นได้ชดั ในเครือ่ งเมนเฟรม (Mainframe)
มีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้รว่ มกัน
19
โปรแกรมประยุกต์
• โปรแกรมทีโ่ ปรแกรมเมอร์เขียนขึน้ ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพือ่ ให้
คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ตามทีต่ อ้ งการ
• โปรแกรมสาเร็จรูปเกีย่ วกับการจัดการฐานข้อมูล (DBMS : Data Base Management
System) เช่น FoxPro, ORACLE, INFORMIX, MySQL และ Access เป็ นต้น
• โปรแกรมสาเร็จรูปเกีย่ วกับการจัดพิมพ์เอกสาร เป็ นโปรแกรมสาเร็จรูปประเภทประมวลผล
คา (Word Processing)
• โปรแกรมสาเร็จรูปแบบตารางคานวณหรือ Spreadsheet เหมาะสาหรับจัดการข้อมูลทีอ่ ยูใ่ น
รูปของตาราง จะเหมาะสมเป็ นอย่างมากถ้าข้อมูลนัน้ เป็ นตัวเลขและใช้ในการคานวณ
• โปรแกรมสาเร็จรูปด้านกราฟิก ซอฟต์แวร์ดา้ นนี้มคี วามสามารถในการสร้าง แก้ไข หรือ
ดัดแปลงภาพ
• โปรแกรมสาเร็จรูปประเภทอรรถประโยชน์ (Utility ) ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ใช้ในงานด้าน
การควบคุม ตรวจสอบ และปรับปรุงการทางานของระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพือ่ ให้
คอมพิวเตอร์ทางานอย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
20
ลิขสิทธ์ ิ ซอฟแวร์
• ใน พ.ศ. 2445 มีการกาหนดลิขสิทธิเกิ
์ ดขึน้ ครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 5 เพือ่ ป้องกันการ
ละเมิดลิขสิทธิในงานวรรณกรรมเรื
อ่ ง "วชิรญาณวิเศษ"
์
• พ.ศ. 2457 ได้มกี ารปรับปรุงแก้ไขกฎหมายใหม่ในสมัย รัชกาลที่ 6 แต่ยงั คงเน้นงาน
ด้านวรรณกรรม
• พ.ศ. 2474 ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ครอบคลุมงานอื่นๆ เช่น
งานคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และผลงานของชาวต่างชาติ แต่กฎหมายฉบับนี้มบี ทลงโทษ
ในสถานเบา
• พ.ศ. 2521 ได้เพิม่ งานสือ่ ภาพ-เสียงและวีดโี อลงไปในตัวของกฎหมาย
• พ.ศ. 2534 รัฐบาลได้ประกาศขยายความครอบคลุมงานด้านวรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกับ
โปรแกรม ได้ออกเป็ นพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ ์ พ.ศ. 2537 ซึง่ มีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 21
มีนาคม 2538
21
งานที่สามารถมีลิขสิทธ์ ิ ได้
• งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งาน
ภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแขนงวิทยาศาสตร์
• โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ
ชุดคาสังที
่ ใ่ ช้กบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพือ่ กาหนดให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางาน
• งานฐานข้อมูล (Database) คือ ข้อมูลทีไ่ ด้เก็บรวบรวมขึน้ เพือ่ ใช้ประโยชน์ดา้ น
ต่าง ๆ
22
งานที่ไม่สามารถมีลิขสิทธ์ ิ ได้
• ข่าวประจาวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานใน
แผนกวรรณคดีแผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
• รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
• ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสัง่ คาชีแ้ จง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง
ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิน่
• คาพิพากษา คาสัง่ คาวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
• คาแปลและการรวบรวมสิง่ ต่างๆ ตามข้อ 1 ถึง 4 ทีก่ ระทรวง ทบวง กรม หรือ
หน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือของท้องถิน่ จัดทาขึน้
23
การละเมิดลิขสิทธ์ ิ
• การทาซ้าหรือดัดแปลง
• การเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากผูเ้ ป็ นเจ้าของลิขสิทธิ ์
• การให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานดังกล่าว
24
การกระทาที่ได้รบั การยกเว้นไม่ถือเป็ นการละเมิดลิขสิทธ์ ิ
• มาตรา 32 การกระทาแก่งานอันมีลขิ สิทธิของบุ
์ คคลอืน่ ตาม พ.ร.บ. นี้ หากไม่ขดั ต่อการแสวงหาประโยชน์
จากงานอันมีลขิ สิทธิตามปกติ
ของเจ้าของลิขสิทธิและไม่
กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของ
์
์
เจ้าของลิขสิทธิเกิ
์ นสมควร มิให้ถอื ว่าเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ ์
• (1) วิจยั หรือศึกษางานนัน้ อันมิใช่การกระทาเพือ่ หากาไร
• (2) ใช้เพือ่ ประโยชน์ของตนเอง หรือเพือ่ ประโยชน์ของตนเองและบุคคลอืน่ ในครอบครัวหรือญาติสนิท
• (3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรูถ้ งึ ความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิในงานนั
น้
์
• (4) เสนอรายงานข่าวทางสือ่ มวลชนโดยมีการรับรูถ้ งึ ความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิในงานนั
น้
์
• (5) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพือ่ ประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงาน
ซึง่ มีอานาจตามกฎหมายหรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
• (6) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏโดยผูส้ อน เพือ่ ประโยชน์ในการสอนของตน อันมิใช่การ
กระทาเพือ่ หากาไร
• (7) ทาซ้า ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทาบทสรุปโดยผูส้ อนหรือสถาบันศึกษา เพือ่ แจกจ่าย
หรือจาหน่ายแก่ผเู้ รียนในชัน้ เรียนหรือในสถาบันศึกษา ทัง้ นี้ตอ้ งไม่เป็ นการกระทาเพือ่ หากาไร
• (8) นางานนัน้ มาใช้เป็ นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
25
การกระทาที่ได้รบั การยกเว้นไม่ถือเป็ นการละเมิดลิขสิทธ์ ิ
• มาตรา 35 การกระทาแก่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อันมีลขิ สิทธิของบุ
์ คคลอื่นตาม พ.ร.บ. นี้ มิให้ถอื
ว่าเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ ์ หากไม่มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ หากาไร และได้ปฏิบตั ติ ามมาตรา 32 วรรค
หนึ่ง ในกรณีดงั ต่อไปนี้
• (1) วิจยั หรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นนั ้
• (2) ใช้เพือ่ ประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นนั ้
• (3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรูถ้ งึ ความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิในโปรแกรม
์
คอมพิวเตอร์นนั ้
• (4) เสนอรายงานข่าวทางสือ่ มวลชนโดยมีการรับรูถ้ งึ ความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิในโปรแกรม
์
คอมพิวเตอร์นนั ้
• (5) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจานวนทีส่ มควรโดยบุคคลผูซ้ ง่ึ ได้ซอ้ื หรือได้รบั โปรแกรม
นัน้ มาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้อง เพือ่ เก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบารุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย
• (6) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพือ่ ประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้า
พนักงานซึง่ มีอานาจตามกฎหมายหรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
26
การกระทาที่ได้รบั การยกเว้นไม่ถือเป็ นการละเมิดลิขสิทธ์ ิ
• (7) นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นนั ้ มาใช้เป็ นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการ
สอบ
• (8) ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีทจ่ี าเป็ นแก่การใช้
• (9) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือ่ เก็บรักษาไว้สาหรบการอ้างอิง หรือ
ค้นคว้าเพือ่ ประโยชน์ของสาธารณชน
27
OPEN SOURCE
• ประเทศไทยมักจะถูกประเทศมหาอานาจทาการกีดกันทางการค้า โดยมีขอ้ อ้าง
อยู่ 3 ข้อคือ ละเมิดสิทธิมนุษยชน มีการทาลายสิง่ แวดล้อม และมีการละเมิด
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
• ซอฟแวร์ทไ่ี ม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย
• Shareware หรือ Freeware เป็ นโปรแกรมทีใ่ ช้งานฟรี แต่อยูภ่ ายใต้เงื่อนไขหรือ
ข้อจากัดต่าง ๆ ทีผ่ พู้ ฒ
ั นาหรือผูจ้ าหน่ายกาหนดไว้ เช่นให้ทดลองใช้ก่อน
• Open source ซอฟต์แวร์ ทีส่ ามารถนาไป ใช้งานได้โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย
และมี source code ติดมาให้ อนุญาตให้เผยแพร่ตวั โปรแกรมและ source code
ได้อย่างเสรี แต่กม็ ี license เหมือนซอฟต์แวร์ทวไป
ั่
• open-source license (เช่น GPLGeneral Public License, BSD)
28