Title can be added here by Prof. Somchai Doe

Download Report

Transcript Title can be added here by Prof. Somchai Doe

การวิจยั สถาบัน
กองบริหารการวิจยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หัวข้อการนาเสนอ
การวิจยั สถาบัน
การวิจยั เพื่อพัฒนางานประจา
(R2R)
การวิจยั สถาบัน
การแบ่งประเภทงานวิจยั (แบ่งตามเป้าหมาย)
• การวิจยั เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้
• การวิจยั เพื่อพัฒนาองค์กร หรือ การวิจยั
สถาบัน หรือ การวิจยั องค์การ
• การวิจยั เพื่อพัฒนางาน หรือการวิจยั หน้างาน
(R to R, R2R – Routine to Research)
การวิจยั สถาบัน/องค์กร
(Institutional Research, Administrative Research, Operational Research)
เป็ นการศึ ก ษาและวิ เ คราะห์อ ย่า งเป็ นระบบ
เกี่ ย วกั บ การด าเนิ น งาน สภาพแวดล้อ ม และ
กระบวนการขององค์กร โดยการใช้หลักการวิจยั
(กระบวนการวิจยั )
ลักษณะการวิจยั สถาบัน
• เป็ นการทาวิจยั ในหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งโดยเฉพาะมีท้งั
ระดับคณะและระดับมหาวิทยาลัย
• คณะ หรือ มหาวิทยาลัยทาการกาหนดหัวข้อเอง
• งานวิจยั ส่วนใหญ่ทาโดยบุคคลภายในองค์กร มีบางหัวข้อที่อาจ
ต้องจ้างทา หรือ ใช้ผเู ้ ชี่ยวชาญภายนอก
• เป็ นงานวิจยั ภายใต้ขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ
• เป็ นงานวิจยั แก้ปัญหาพาะหน้า
• หน่วยงานหรือองค์กรให้ทุนสนับสนุน
• เป็ นงานที่ตอ้ งทาภายในเวลาที่รวดเร็ว
การวิจยั สถาบัน: ประโยชน์
(Institutional Research, Administrative Research, Operational Research)
•
ใช้ในการวิเคราะห์สภาพจริงขององค์กร (ศักยภาพ จุดแข็ง จุดอ่อน)
•
ใช้ในการปรับปรุงตนเอง/พัฒนาองค์กร/การประกันคุณภาพ
•
ใช้ในการกาหนดนโยบาย/วิสยั ทัศน์ /เป้ าประสงค์/การวางแผน
•
ใช้เป็ นข้อมูลในการตัดสินใจ/การบริหารจัดการองค์กร
R2R: การวิจยั เพื่อพัฒนางานประจา
การวิจยั หน้างาน (R2R): ความหมาย
เป็ นการพัฒนางานที่ทาเป็ นประจาโดยใช้
กระบวนการ วิจยั เป็ นเครื่องมือ หรือเป็ นการ
วิจยั ตนเอง (self study)
การวิจยั หน้างาน (R2R)
• ผูป้ ฎิบตั งิ านกาหนดหัวข้อเอง
• ผูว้ ิจยั ต้องเป็ นคนปฎิบตั ิงานในงานที่ทาวิจยั
• ผูป้ ฎิบตั งิ านร่วมกันคิด ร่วมกันทา ร่วมกันพัฒนา
• ผลัดเปลี่ยนกันเป็ นหัวหน้าโครงการ
การวิจยั หน้างาน (R2R): ประโยชน์
แก้ปัญหาในการทางาน
พัฒนางาน/สร้างนวัตกรรม
เพิ่มคุณค่าของงาน/ความสุขของชีวิตคนทางาน
การวิจยั หน้างาน (R2R)
เป็ นการพัฒนาคนและพัฒนางานเพื่อพัฒนาองค์กร
เป็ นกระบวนการขับเคลื่อนองค์กรสูอ่ งค์กรแห่งการเรียนรู ้
องค์กรมีความรู ้
เป็ นเครื่องมือในการพัฒนางาน
การวิจยั หน้างาน (R2R): เป้าหมาย
เป้าหมายการวิจยั เพื่อนาผลไปใช้ในการพัฒนางาน
การวัดผลของ R2R อยูท่ ี่งานประจามีการพัฒนาขึ้น
ผูท้ ามีความสุข ภาคภูมิใจ
องค์กรได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ทาไมต้อง R 2 R ?
Routine เป็ นอุปสรรคต่องานทั้งปวง
1.
2.
3.
4.
แบ่งงานกันทาเป็ นส่วนๆ
เบื่อ: งานถูกลดคุณค่า
เป็ นงานที่คนอื่นสั ่งให้ทา
ทาลายความคิดสร้างสรรค์
การวิจยั หน้างาน (R2R): ทาไมต้องทา
วิสยั ทัศน์/ความ
ฝัน/เป้าหมาย
ขององค์กร
การเปลี่ยนแปลง
ของความรู ้
การเปลี่ยนแปลง
ระบบการทางาน
และองค์กร
การเปลี่ยน
แปลงระบบการ
ทางาน
การเปลี่ยนแปลง
ทางเทคโนโลยี่
ทำไม
ตองท
ำ
้
R2R
การเปลี่ยนแปลง
ของคนและสิ่ง
แวคล้อม
มีวิธีใหม่ที่
ดีกว่านี้
ไหม
(นวัตกรรม
) ฒนา
จะพั
งานให้ดีขึน้
กว่านี้ ได้
อย่างไร
เมื่อมี
ปัญหา
เกิดขึน้ จะ
พัฒนางาน
ไม่ให้เกิด
ปัจุญดหา
อย่างไร
ประก
าย
R2R
ทาอย่างไร
งานจึงมี
คุณค่า/เพิ่ม
คุณค่า
มีแนวทาง
การ
แก้ปางไรจึ
ัญหาง
ทาอย่
อย่างาน
างไร
จะท
อย่างมี
ความสุข/ผูม้ า
รับบริการพึง
พอใจ/
ประทับใจ
การเริ่มต้นวิจยั สถาบัน
การวิจยั หน้างาน (R2R): การทางานวิจยั R2R
ตัง้ คาถามการวิจยั ทา
คาถามให้
ช
ด
ั
กาหนดเป้ าหมาย แก้ปัญหา
สร้กางาหนดว
ต่อยอด
ขยายผล
ิ ธีหาคาตอบ ด้วย
่
วิธีกวารที
่
น
า
เชื
่
อ
ถี
อ
ิ เคราะห์และสรุปผล
่างถุกต้/อเผยแพร
อยรายงาน
ง
่/
แลกเปลี่ยนความรู้
บริบทของ R2R
พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ “การวิเคราะห์องค์กร/หน่ วยงาน/เครื่องมือคุณภาพที่จาเป็ น”
บริบทของ R2R ….. บริบท QA
คุณภาพ
การรับรองคุณภาพ
การพัฒนาตนเอง
การประเมินตนเอง
พัฒนำจำก รูปแบบกำรนำเสนอของ
กระบวน
การเรียนรู้
การประเมินจากภายนอก
พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ “การวิเคราะห์องค์กร/หน่ วยงาน/เครื่องมือคุณภาพที่จา
บริบทของ R2R….. บริบท QA
พัฒนำจำก รูปแบบกำรนำเสนอของ
พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ “การวิเคราะห์องค์กร/หน่ วยงาน/เครื่องมือคุณภาพที่จา
บริบทของ R2R….. บริบท QA
องค์กร
คน
งาน
พัฒนำจำก รูปแบบกำรนำเสนอของ
ระบบ
พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ “การวิเคราะห์องค์กร/หน่ วยงาน/เครื่องมือคุณภาพที่จา
การวิจยั หน้างาน (R2R)
R2R
R2R
•Routine to Research
•Research to Routine
R2R
สร้างความรู้
ตกผลึกความรู้
และการปฎิบตั ิ
เรำ
สร้าง
นวัตกรรม
สร้างบรรยายกาศ
การเรียนรุ้
องค์ประกอบของ R 2 R
 โจทย์วิจยั ต้องมาจากปั ญหา หรือคาถามการ
วิจยั ที่ได้จากงานประจาที่ทาอยู่
องค์ประกอบของ R 2 R
 เป้าหมาย ต้องชัดเจนว่าจะแก้ไขปั ญหา/
พัฒนา/ต่อยอด/ขยายผล งานที่ทาอยูอ่ ย่างไร
องค์ประกอบของ R 2 R
 กระบวนการ ต้องเป็ นกระบวนการศึกษาวิจยั
ที่มีความน่าเชื่อถือ
องค์ประกอบของ R 2 R
 ผูท้ าวิจยั ต้องเป็ นผูท้ างานนั้นเป็ นประจา
มีใจที่อยากจะทา มีทศั นคติที่ดีตอ่
การทาวิจยั และไม่รูส้ ึกว่าเป็ นภาระ
งานที่เพิ่มขึ้น
องค์ประกอบของ R 2 R
 ผลลัพธ์ของการวิจยั ต้องวัดผลที่เกิดโดยตรง
ต่อผูร้ บั บริการ หน่วยงาน หรือองค์กร
องค์ประกอบของ R 2 R
 การนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ผลการวิจยั
ต้องวนกลับไปสร้างคุณค่าให้กบั งานได้
ผลลัพธ์ของ R2R
 คุณภาพงานเพิ่มขึ้น เช่น การดูแลสวน /
อาคารสถานที่ มีผลสัมฤทธิ์ดีข้ ึน
 คนทางานประจาเก่งขึ้น (คิดเก่ง+สื่อสารให้คน
อื่นฟั งดีข้ ึน) มีความสุขภาคภูมิใจ และก้าวหน้า
 องค์กรบรรลุเป้าหมาย
 รายงานผลการวิจยั ตีพิมพ์เผยแพร่
ปั จจัยความสาเร็จของ R2R
1. ผูบ้ ริหาร มีวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย
และมียุทธศาสตร์ ที่มองเห็นสิ่งที่
เป็ นความสาเร็จของหน่วยงาน
หรือองค์กรได้อย่างชัดเจน และ
สามารถสื่อสารให้คนใน องค์กร
รับรูไ้ ด้ทั ่วถึง
ปั จจัยความสาเร็จของ R2R
2. หัวหน้างาน ช่วยตัง้ แต่งการตัง้ โจทย์ ให้
ชัดเจน และแนะนาวิธีการทดลอง เก็บ
ข้อมูลเป็ นต้น หากทาไม่ได้ควรมีพี่เลี้ยง
หรือทีมพี่เลี้ยง
ปั จจัยความสาเร็จของ R2R
3. ผูท้ า R 2 R ควรทาเป็ นทีม เพื่อให้เกิด
การเรียนรู ้ และการจัดการความรู ้ (KM)
ไปในตัว
กำรวิเครำะห ์
ขอเสนอโครงกำร
้
กำรเขียน
ขอเสนอ
้
โครงกำรวิจย
ั
สถำบัน &
R2R
การวิเคราะห์
และพัฒนาข้อเสนอ
โครงการ R 2 R
กองบริหารการวิจยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กันยายน 2555
การวิเคราะห์โครงการ
ชื่อเรื่อง
-สื่อความหมายได้ชดั เจน
-กระซับ
-น่าสนใจ
-ชื่อไทย-อังกฤษ ตรงกัน
การวิเคราะห์โครงการ
คาสาคัญ (keywords) ของโครงการวิจยั
- คาสาคัญ ตรงกับสาระสาคัญ ที่ทา
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- กาลังทางานอะไรอยู:่ ลักษณะของงาน
ที่ทา ขอบเขตของงานในหน้าที่
บทบาทหน้าที่ของตนเอง
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
-
งานที่ทามาเป็ นอย่างไร?
มีปัญหา หรือข้อจากัดอะไรบ้าง? อย่างไร?
เคยลองแก้ปัญหาหรือปรับปรุงมาก่อนหรือไม่
ผลเป็ นอย่างไร?หากไม่ใช่ปัญหาหรือข้อจากัด มี
โอกาสหรือแนวโน้มที่จะทาให้ดีกว่าเดิมอย่างไร?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- หากไม่มีปัญหาหรือข้อจากัดในงานที่ทา
- มีโอกาสหรือแนวโน้มที่จะทาให้ดีกว่าเดิมอย่างไร?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- กรณีที่เป็ นปั ญหา หากไม่แก้ไข / ปรับปรุง จะ
ส่งผลเสียอย่างไร? และต่อใคร?
- กรณีที่ไม่ใช่ปัญหา หากทาแล้วจะส่งผลที่ดีข้ ึน
อย่างไร?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- ปั ญหา/ศักยภาพที่กล่าวมา มีใครเคยศึกษา
มาแล้วบ้าง
- ผูท้ ี่เคยศึกษามาเสนอวิธีการปรับปรุง/แก้ไข
หรือพัฒนาให้ดีกว่าเดิมอย่างไรบ้าง?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- จะมีแนวทาง หรือ แนวคิดในการแก้ปัญหา/
ปรับปรุง/ พัฒนา / ปั ญหาหรือศักยภาพ
งานของตน ที่สอดคล้อง หรือแตกต่าง
หรือต่อยอดจากผลงานของผูอ้ ื่นอย่างไร ?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
- มีแนวคิดอะไร ที่จะนามาใช้ในการพัฒนางานของตนเอง
ที่นาไปสูส่ ิ่งที่ดีกว่า?
ที่สาคัญ ทาแล้วจะได้อะไรและเกิดผลดีกว่าที่เป็ นอยู่
อย่างไร?
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
การวิเคราะห์โครงการ
ความสาคัญและที่มาของประเด็นการวิจยั
การวิเคราะห์โครงการ
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
- สอดคล้องกับโจทย์ที่จะทาวิจยั
- ระบุบ่งบอกถึงสิ่งที่จะทาชัดเจน ครอบคลุม: จะทา
อะไร กับอะไรหรือใคร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร เช่น
ศึกษา... ออกแบบ... สร้าง... ทดลอง... ประเมิน... เป็ น
ต้น
การวิเคราะห์โครงการ
ผลที่จะได้รบั
-อธิบายเป็ นข้อๆว่าการทาวิจยั ครั้งนี้ทาแล้วจะได้
อะไรบ้างและอย่างไร? ต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์
-ผลที่จะได้รบั ไม่ใช่ ประโยชน์ที่จะได้รบั
การวิเคราะห์โครงการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
-ผลจากการวิจยั ครั้งนี้จะสามารถนาไปแก้ไขปั ญหา
ปรับปรุงหรือพัฒนางานของหน่วยงานหรือของตน
อย่างไร และใครคือผูไ้ ด้รบั ประโยชน์
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั ต้องมีความเป็ นไปได้ ไม่
คาดหวังผลสูงเกินไป
การวิเคราะห์โครงการ
กรอบแนวคิดหรือทฤษฎี
-แสดงกรอบแนวคิด หรือทฤษฎีของการวิจยั ให้เห็น
ความเชื่อมโยงกับปั ญหาและโจทย์วิจยั (อธิบายในรูป
ของแผนภูมิ หรือค้นคว้าทฤษฎีมาอ้างอิงก็ได้)
-แสดงถึงทฤษฎีหรือสมมุตฐิ านที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั
ของโครงการ
การวิเคราะห์โครงการ
ขอบเขตการวิจยั
การวิจยั ครั้งนี้จะดาเนินการโดยมีขอบเขต
ด้านสาระเนื้อหา ขอบเขตด้าน
กลุ่มเป้าหมายของการวิจยั หรืออื่นๆ
รวมทั้งข้อจากัด (ถ้ามี) อย่างไร
การวิเคราะห์โครงการ
ระยะเวลาและสถานที่ทาวิจยั
ระบุเดือนปี ที่เริ่มต้น-สิ้นสุด และสถานที่ที่ทาวิจยั
การวิเคราะห์โครงการ
วิธีการดาเนินการวิจยั
ในวัตถุประสงค์แต่ละข้อ จะมีข้นั ตอนอะไรบ้าง?
ในแต่ละขั้นตอนจะมีวิธีอย่างไร? เครื่องมือ /
อุปกรณ์ที่จะใช้มีอะไรบ้าง? จะใช้เวลาเท่าใดใน
การทา? จะทาที่ไหน? จะมีค่าใช้จา่ ยอะไรบ้าง?
และ เท่าไหร่? ใครจะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ?
วิธีการดาเนินการวิจยั ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
การวิเคราะห์โครงการ
แผนการดาเนินงาน
แสดงกิจกรรม (ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์)
ช่วงเวลา และผูร้ บั ผิดชอบในรูปของตาราง
การวิเคราะห์โครงการ
แผนปฏิบตั กิ าร
ในแตละกิ
จกรรมจะมีขน
้ั ตอนหรือมีวธ
ิ ก
ี ำร
่
อยำงไร
กลุมเป
่
่ วอยำง
่ ้ ำหมำย/กลุมตั
่
จำนวนทีท
่ ำ ตัวชีว้ ด
ั ระยะเวลำ
สถำนที่ คำใช
่
้จำยและผู
่
้รับผิดชอบ
โดยควรจัดทำในรูปตำรำง
การวิเคราะห์โครงการ
งบประมาณ
นาค่าใช้จา่ ยจากวิธีการและแผนงานมารวมเป็ นหมวดรายจ่าย
ดังนี้
1. ค่าตอบแทน (ค่าทาการนอกเวลา) =
2. ค่าใช้สอย (เช่น จ้างเหมา, ถ่ายเอกสาร เป็ นต้น) =
3. ค่าวัสดุ (อะไรบ้าง) =
4. ค่าใช้จา่ ยอื่นๆ (ระบุ) =
เป้าหมายระยะสั้นวิจยั สถาบัน/R2R
• บุคลากรสายสนับสนุนมีความรู ้ ทักษะและ
ประสบการณ์ในการพัฒนางานประจาไปสู่งานวิจยั
เพิ่มขึ้นและกระจายอยูท่ ุกหน่วยงาน
เป้าหมายระยะสั้นวิจยั สถาบัน/R2R
• มีจานวนผลงาน/นวัตกรรมที่เกิดจาก R2R เพื่อการ
แก้ปัญหาหรือการปรับปรุงการทางานขององค์กร
เพิ่มขึ้น
• มีเครือข่ายบุคลากรด้าน R2R ทั้งในระดับคณะ/
หน่วยงาน และระดับมหาวิทยาลัย
สรุป...การวิจยั สถาบัน
• วิจยั สถาบัน เป็ นเครื่องมือ ไม่ใช่เป้าหมาย
• เป้าหมายอยูท่ ี่การพัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนา
องค์กร
• วิจยั สถาบัน ใช้ได้ท้งั การวิจยั เชิงปริมาณ หรือ
คุณภาพ
การจะทางานวิจยั สถาบันได้สาเร็จ
1. ตองท
ำงำนเป็ นทีม (รูจั
้
้ กคน)
2. ใช้ประสบกำรณเป็
์ นฐำนกำรเรียนรู้
หมัน
่ ทบทวนงำน หำจุดพัฒนำ
ค้นหำปัญหำ หำทำงแกไข
ตั
ง
้
้
สมมุตฐ
ิ ำนหำทำงพิสจ
ู น์
3. มองปัญหำหรืออุปสรรคเป็ นสิ่ งทำทำย
้
4. มุงมั
่ ไมย
่ ตอ
่ น
่ อท
่ อต
้ ออุ
่ ปสรรค มุงมั
่ น
่
กำรพัฒนำงำนอยำงต
อเนื
่
อ
ง
่
่
การจะทางานวิจยั สถาบันได้สาเร็จ
5. ตองแลกเปลี
ย
่ นเรียนรู(สนใจที
จ
่ ะ
้
้
เรียนรู)้
6. ตองเป็
นผู
รู
จั
ก
Care
เพื
อ
่
ที
จ
่
ะ
้
้ ้
Share (กัลยำณมิตร)
7. รูจั
้ กพอ
้ กทน รูจั
8. มีควำมสุขในกำรทำงำน มุงเน
่ ้น
ส่วนรวมเพือ
่ ผู้รับบริกำร
9. ทำงำนบนฐำนของหลักฐำนขอมู
ล
้
การจะทางานวิจยั สถาบันได้สาเร็จ
ใส่ใจ ให้คณ
ุ ค่า รักที่จะทา ทาอย่างมีความสุข มุง่ มันที
่ ่จะไปให้ถึงจุดหมาย
• เปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ กล้าเปลี่ยนแปลง กล้าคิดนอกกรอบ
•
Heart
คิดค้น วิเคราะห์ เชื่อมโยง ตัง้ สมมุติฐาน ทดสอบ คิดบนข้อมูลหลักฐาน
• มีเหตุผล
•
Head
ลองทา ลงมือปฎิบตั ิ
• ปรับปรุงแก้ไข พัมนาตนเอง
•
Hand
เปลี่ยนงานประจาที่จาเจ
ให้เป็ นงานที่สนุกและท้าทาย
ผูใ้ ห้บริการมีความสุข
ผูร้ บั บริการพึงพอใจ และประทับใจ
ขอบคุณ...และสวัสดี