1 - UBRU LMS

Download Report

Transcript 1 - UBRU LMS

บทที่ 1 แนวคิด ความสาคัญ
ของงานวิจยั และจรรยาบรรณ
ในการทาวิจยั
วิชา ระเบียบวิธีวิจัยทางสาธารณสุข
ผู้สอน: อาจารย์ กุลชญา ลอยหา และ
อาจารย์ ภทั รภร เจริญบุตร
คำอธิบำยรำยวิชำ
•
ระเบียบวิธีวิจยั ขอบเขตการวิจยั ทางสาธารณสุข การ
วางแผนการวิจยั กระบวนการวิจยั ทางสาธารณสุข การ
วิเคราะห์ข้อมูล การเขียนโครงร่างการวิจยั การเขียน
รายงานการวิจยั และการนาผลการวิจยั ไปใช้ ในงาน
สาธารณสุข
แนวคิดรวบยอด
• การวิจยั หมายถึง การศึกษา ค้ นคว้ า หาข้ อเท็จจริ ง ในปั ญหาที่
ต้ องการคาตอบ ภายใต้ ขอบเขตที่กาหนดไว้ โดยใช้ กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นการหาความรู้อย่างเป็ นระบบด้ วยวิธี
เชื่อถือได้
• จรรยาบรรณนักวิจยั หมายถึง สิ่งที่นกั วิจยั ควรประพฤติในการ
ดาเนินการวิจยั ซึง่ ประกอบด้ วย การเคารพสิทธิของผู้ถกู วิจยั
และความซื่อสัตย์ในการดาเนินการวิจยั
ความหมายของคาว่า “วิจยั ” (Research)
• re·search/ˈrēˌsərCH/
• Noun: The systematic investigation into and
study of materials and sources in order to
establish facts and reach new conclusions.
Verb: Investigate systematically.
• Synonyms: noun. investigation - exploration search - study - inquiry
• verb. explore - investigate - search - study inquire
กำรวิจัย
• คาว่า “การวิจัย” มีความหมายว่ า RESEARCH
• - ค.ศ. 1966 เวบสเตอร์ ให้ ความหมายว่ า
1) การสอบสวน หรื อตรวจตราความรู้ในแขนงใดแขนงหนึง่ อย่างกว้ างขวาง
2) การค้ นหาความจริงอย่างต่อเนื่อง และอุตสาหะ
• - พ.ศ. 2524 ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน มีความหมายว่ า
1) การสะสม และรวบรวม
2) การค้ น การตรวจตรา การสอบสวน
• เมื่อรวมทัง้ 2 ความหมายแล้ ว หมายถึง การสอบสวน ตรวจตรา และการ
ค้ นหา
• นิยามเกี่ยวกับการวิจัย ของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ
• การวิจัย* หมายถึง การศึกษาค้ นคว้ า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่ าง
มีระบบ โดยอาศัย อุปกรณ์ หรื อวิธีการ เพื่อให้ พบข้ อเท็จจริง หรื อ
หลักการไปใช้ ในการตังกฎ
้ ทฤษฏี หรื อแนวทางในการปฏิบตั ิ
• การวิจัย : เป็ นการหาความรู้อย่ างเป็ นระบบด้ วยวิธีเชื่อถือได้
ลักษณะของงานที่ถือว่าเป็ นการวิจยั
ควรจะประกอบด้ วยขันตอนการ
้
ดาเนินงานที่สาคัญ ๆ ดังนี ้
ใช่ หรื อ ไม่ใช่งานวิจยั ???
• งานวิจัยล่ าสุดเตือน.. ! ระวังภัย ได้ มีการวิจัยและพบข้ อมูลที่น่า
ตื่นตระหนก เกี่ยวกับข้ าวที่เรากินอยู่ทุกวัน
สมควรที่จะให้ ประชาชนชาวไทยได้ ทราบโดยทั่วกัน...ดังนี ้
– เยาวชนไทยร้ อยละ 50 ซึ่งเติบโตมาในครอบครั วที่กนิ ข้ าววันละ 3 มือ้
มีผลการเรี ยนรู้ ในระดับต่ากว่ าค่ าเฉลี่ยกึ่งกลางในชัน้ เรี ยน
– ข้ าวเป็ นพาหะนาสารอื่นๆที่อันตรายมากเข้ าสู่ร่างกาย เช่ น ขาหมู เนือ้
ย่ าง แกงส้ มไข่ เจียว และอื่นๆ (หิววววววว)
- ประชาชนที่กนิ ข้ าวติดต่ อกัน เป็ นเวลานานๆ จะขาด
ความสามารถในการแยกแยะว่ างานวิจัยชิน้ ใด...น่ าเชื่อถือ งานวิจัย
ชิน้ ใด...ไร้ สาระ หลอกหลวงประชาชน
Source: www.dek-d.com/board/view.php?id=1182516
ตัวอย่างงานวิจยั (คิดได้ไง)
• สาขาสาธารณสุข : มานูเอล บาร์ ไบโต, ชาร์ ลส์ แมธิวส์ และลาร์ รี เทย์
เลอร์ พวกเขาพบว่า พวกจุลชีพในห้ องแล็บต่างปี นป่ ายเข้ าไปซุกซ่อน
ตามหนวดของนักวิทยาศาสตร์ ดังนันนั
้ กวิทย์ที่ไว้ หนวดระวังอันตราย
จากสิง่ มีชีวิตเล็กๆ เหล่านี ้ด้ วย
REFERENCE: "Microbiological Laboratory
Hazard of Bearded Men," Manuel S. Barbeito,
Charles T. Mathews, and Larry A. Taylor, Applied
Microbiology, vol. 15, no. 4, July 1967, pp. 899-906.
• REFERENCE: "Microbiological Laboratory Hazard of Bearded Men," Manuel
S. Barbeito, Charles T. Mathews, and Larry A. Taylor, Applied Microbiology,
vol. 15, no. 4, July 1967, pp. 899-906.
งานวิจยั คิดได้ไง
• สาขาการแพทย์ : ไซมอน รี ตเวล์ด และ อิลยา ฟาน บีสต์ ที่
สังเกตอาการของผู้ป่วยหอบหืดที่เล่นรถไฟเหาะตีลงั กา
REFERENCE: "Rollercoaster Asthma:
When Positive Emotional Stress Interferes
with Dyspnea Perception," Simon Rietveld and
Ilja van Beest, Behaviour Research and
Therapy, vol. 4 5, 2006, pp. 977-87.
The 2010 Ig Nobel Prizes
•
ก่อนสัปดาห์ประกาศผลโนเบล อันเป็ นรางวัลเกียรติยศระดับโลกแห่งวงวิชาการ
จะต้ องมี "อิกโนเบล" ออกมาตัดหน้ าสร้ างสีสนั ก่อนเสมอ โดย "อิกโนเบล
ประจาปี 2010" (the 2010 Ig Nobel Prizes) จัดขึ ้นไปแล้ ว ณ แซน
เดอร์ ส เธียเตอร์ มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด สหรัฐอเมริกา
* การมอบรางวัลครัง้ นี ้ จัดขึ ้นเป็ นปี ที่ 20 แล้ ว โดยมีงานวิจยั ที่ได้ รับการเสนอ
ชื่อถึง 7,000 ชิ ้น แต่สดุ ท้ ายคัดเหลือเพียงแค่ 10 สาขาเท่านัน้ ซึง่ มอบให้ นกั วิจยั
อาชีพ และที่ไม่ใช่นกั วิจยั แต่บงั เอิญสร้ างองค์ความรู้อนั แสนน่ารักให้ แก่ชาวโลก
* แม้ วา่ งานวิจยั เหล่านี ้จะฟั งดูขาๆ เพี ้ยนๆ แต่รายงานการค้ นพบหรื อพิสจู น์
ต่างๆ ถูกต้ องตามระเบียบแบบแผนวิธีวิจยั และมีการตีพิมพ์จริงตามวารสาร
วิทยาศาสตร์
• ข้ อมูลจาก เว็บบล็อก OKnation เรื่ อง "อิกโนเบล 2010" งานวิจยั คิดได้ ไง
เข้ าถึงข้ อมูลเมื่อ 2 มิถนุ ายน 2555
Posted by ติวเตอร์ ออนไลน์
ประโยชน์ และควำมสำคัญของกำรวิจัย
1. สร้ างและทดสอบทฤษฏี
• การวิจยั ทาให้ ได้ ความรู้ใหม่เพื่อสร้ างทฤษฎีใหม่หรื อเพื่อเป็ นการตรวจสอบ
ยืนยันทฤษฎีเดิมที่มีอยูแ่ ล้ ว
2. ประโยชน์ ทางการนาไปใช้ ในการแก้ ปัญหา
• การวิจยั ช่วยค้ นหาสาเหตุของปั ญหาและวิธีการแก้ ปัญหาที่เหมาะสมที่สดุ
• สามารถนาความรู้ที่ได้ ไป ใช้ ในการแก้ ปัญหาในองค์กรหรื อสังคมต่าง ๆ
เป็ นไปอย่างเหมาะสมยุตธิ รรม
3. ประโยชน์ ทางการพัฒนา
• การวิจยั ช่วยให้ เกิดการสร้ างสรรค์สงิ่ ประดิษฐ์ ใหม่ๆทังที
้ ่เป็ นเครื่ องมือ
อุปกรณ์
• รูปแบบ วิธีการต่าง ๆ ซึง่ ก่อให้ เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพในการ
ปฏิบตั ิงานหรื อการทากิจกรรมใด ๆ
4. ประโยชน์ ในการกาหนดนโยบาย
• การวิจยั นามาซึง่ ข้ อมูลพื ้นฐานที่เชื่อถือได้ สามารถนาไปใช้ สาหรับการ
กาหนดนโยบายและแนวทางปฏิบตั ิตา่ งๆได้ อย่างเหมาะสมสอดคล้ อง
กับสภาพปั ญหาและความต้ องการที่แท้ จริงขององค์กรและสังคม
5 ประโยชน์ ในการประเมินผลงาน/โครงการ
• กระบวนการวิจยั ช่วยให้ ได้ ข้อมูลที่ดีในการตัดสินใจผลสาเร็จของการ
ปฏิบตั งิ าน ได้ ทราบถึงจุดเด่น จุดด้ อย ปั ญหา อุปสรรค และแนวทาง
แก้ ปัญหาเพื่อให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพหรื อเพื่อ
ตัดสินคุณค่าของสิง่ ต่าง ๆ
จรรยำบรรณนักวิจัย
• นักวิจัย (Researcher) หมายถึง ผู้ท่ ดี าเนินการค้ นคว้ าหาความรู้
อย่ างเป็ นระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดย มีระเบียบวิธีอัน
เป็ นที่ยอมรับในแต่ ละศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ อง ซึ่งครอบคลุมทัง้ แนวคิด
มโนทัศน์ และวิธีการที่ใช้ ในการรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล
• จรรยาบรรณ (Code of Conduct) หมายถึง หลักความ
ประพฤติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมใน การ
ประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ ละสาขาชีพประมวลขึน้ ไว้ เป็ น
หลัก เพื่อให้ สมาชิกในสาขาวิชาชีพนัน้ ๆ ยึดถือปฏิบตั ิ เพื่อรักษา
ชื่อเสียงและส่ งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน
จรรยำบรรณนักวิจัย (ต่ อ)
• จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ ควรประพฤติปฏิบตั ิ
ของนักวิจัยทั่วไป เพื่อให้ การ ดาเนินงานวิจัยตัง้ อยู่บนพืน้ ฐาน
ของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน
มาตรฐาน ของการศึกษาค้ นคว้ าให้ เป็ นไปอย่ างสามศักดิศรีและ
เกียรติภมู ิของนักวิจัย
จรรยำบรรณนักวิจัย : แนวทำงปฏิบัติ
ข้ อ 1 นักวิจัยต้ องซื่อสัตย์ และมีคุณธรรมในทางวิชาการและ
การจัดการ
– นักวิจยั ต้ องมีความซื่อสัตย์ตอ่ ตนเองไม่นาผลงานของผู้อื่นมาเป็ น
ของตนไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ต้ องให้ เกียรติและอ้ างถึงบุคคล
หรื อแหล่งที่มาของข้ อมูลที่นามาใช้ ในงานวิจยั ต้ องซื่อตรงต่อการ
แสวงหาทุน วิจยั และมีความเป็ นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ได้ จาก
การวิจยั
ข้ อ 2 นักวิจัยต้ องตระหนักถึงพันธกรณีในการทาวิจัย ตาม
ข้ อตกลงที่ทาไว้ กับหน่ วยงานที่สนับสนุน การวิจัยและต่ อ
หน่ วยงานที่ตนสังกัด
• นักวิจยั ต้ องปฏิบตั ิตามพันธกรณีและข้ อตกลงการวิจยั ที่
ผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ ายยอมรับร่วมกัน อุทิศ เวลาทางานวิจยั ให้
ได้ ผลดีที่สดุ และเป็ นไปตามกาหนดเวลา มีความรับผิดชอบไม่
ละทิ ้งงานระหว่างดาเนินการ
ข้ อ 3 นักวิจัยต้ องมีพนื ้ ฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทาวิจัย
• นักวิจยั ต้ องมีพื ้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทาวิจยั อย่าง
เพียงพอและมีความรู้ความชานาญหรื อ มีประสบการณ์
เกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่ทาวิจยั เพื่อนาไปสูง่ านวิจยั ที่มีคณ
ุ ภาพ
และเพื่อป้องกันปั ญหาการ วิเคราะห์ การตีความ หรื อการสรุปที่
ผิดพลาด อันอาจก่อให้ เกิดความเสียหายต่องานวิจยั
ข้ อ 4 นักวิจัยต้ องมีความรับผิดชอบต่ อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ ว่า
เป็ นสิ่งที่มีชีวติ หรือไม่ มีชีวติ
• นักวิจยั ต้ องดาเนินการด้ วยความรอบคอบระมัดระวัง และ
เที่ยงตรงในการทาวิจยั ที่เกี่ยวข้ องกับคน สัตว์ พืช
ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดล้ อม มีจิตสานึกและ
ปณิธานที่จะอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิง่ แวดล้ อม
ข้ อ 5 นักวิจัยต้ องเคารพศักดิศรี และสิทธิของมนุษย์ ท่ ใี ช้ เป็ น
ตัวอย่ างในการวิจัย
• นักวิจยั ต้ องไม่คานึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลย และ
ขาดความเคารพในศักดิศรี ของเพื่อน ์์มนุษย์ต้องถือเป็ น
ภาระหน้ าที่ที่จะอธิบายจุดมุง่ หมายของการวิจยั แก่บคุ คลที่เป็ น
กลุม่ ตัวอย่าง โดยไม่ หลอกลวงหรื อบีบบังคับ และไม่ละเมิด
สิทธิสว่ นบุคคล
ข้ อ 6 นักวิจัยต้ องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติใน
ทุกขัน้ ตอนของการทาวิจัย
• นักวิจยั ต้ องมีอิสระทางความคิด ต้ องตระหนักว่า อคติสว่ นตน
หรื อความลาเอียงทางวิชาการ อาจ ส่งผลให้ มีการบิดเบือน
ข้ อมูลและข้ อค้ นพบทางวิชาการ อันเป็ นเหตุให้ เกิดผลเสียหาย
ต่องานวิจยั
ข้ อ 7 นักวิจัยพึงนาผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ในทางที่ชอบ
• นักวิจยั พึงเผยแพร่ผลงานวิจยั เพื่อประโยชน์ทางวิชาการและ
สังคมไม่ขยายผลข้ อค้ นพบจนเกิดความ เป็ นจริ ง และไม่ใช้
ผลงานวิจยั ไปในทางมิชอบ
ข้ อ 8 นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อ่ นื
• นักวิจยั พึงมีใจกว้ าง พร้ อมที่จะเปิ ดเผยข้ อมูลและขันตอนการ
้
วิจยั ยอมรับฟั งความคิดเห็นและ เหตุผลทางวิชาการของผู้อื่น
และพร้ อมที่จะปรับปรุงแก้ ไขงานวิจยั ของตนให้ ถกู ต้ อง
ข้ อ 9 นักวิจัยพึงมีความรั บผิดชอบต่ อสังคมทุกระดับ
• นักวิจยั มีจิตสานึกที่จะอุทิศกาลังสติปัญญาในการทาวิจยั
เพื่อความก้ าวหน้ าทางวิชาการ เพื่อความ เจริ ญและ
ประโยชน์สขุ ของสังคมและมวลมนุษยชาติ
MMR กำรโกงครั้งใหญ่ ในวงกำรวิจัย
•
เป็ นเรื่องราวของการทา investigative journalism จับทุจริตของหมอที่เป็ น
นักวิจัยต้ มตุ๋นคนทั่วโลก คือ Andrew Wakefield ที่รายงานว่ า MMR
(Mump, Measles, Rubella) vaccine ทาให้ เกิดผลข้ างเคียง คือเกี่ยวข้ อง
กับการเกิด autism และลาไส้ อักเสบ
• คนที่เป็ นผู้ทาวิจัยแบบ investigative journalism จับการโกงทางวิชาการโดย
การยกเมฆ กุข้อมูลขึน้ มาเอง คือ Brian Deer
• ผลของการทุจริตนีก้ ่ อความเสียหายแก่ โลกมาก และ Andrew Wakefield ก็
ได้ รับโทษรุ นแรงมาก คือหมดอนาคตการเป็ นหมอและนักวิจัย
“การวิจัยจะรุ่ งเรืองมิได้ ถ้ าสังคมไทยไม่ ให้ คุณค่ า
และเคารพต่ อความคิดริเริ่ม ต้ องไม่ มีการล่ วง
ละเมิด ลอกเลียน หรืออ้ างว่ าเป็ นของตน”
• สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ
Assignment 1
• ให้ นักศึกษาอ่ านเรื่องราวของ Andrew Wakefield ที่
รายงานว่ า MMR (Mump, Measles, Rubella)
vaccine ทาให้ เกิดผลข้ างเคียง คือเกี่ยวข้ องกับการเกิด
autism และลาไส้ อักเสบ จากเว็บไซต์
http://www.oknation.net/blog/mor-maew/2012/05/28/entry-1
เรื่ อง ทฤษฎีสมคบคิด : เมื่อวัคซีนทาให้ เด็กเป็ นออทิสติก -=Byหมอ
แมว=- วันจันทร์ ที่ 28 พฤษภาคม 2555
• หลังจากอ่านให้ เขียนวิเคราะห์เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักวิจยั จาก
เรื่ องราวของอดีตนายแพทย์แอนดริว เวคฟี ลด์
ข้อมูลอ้างอิง
1. สานักงานเลขานุการคณะกรรมการกลุม่ ภารกิจ ด้ านการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติคมู่ ือการเขียนรายงานการวิจยั
http://www.riclib.nrct.go.th/link/info/researchwrite.pdf .
Accessed date: 20 พ.ค.2555
2.พิสณุ ฟองศรี . การเขียนรายงานการวิจยั และวิทยานิพนธ์ ข้ อบกพร่องที่สาคัญ: แนวทาง
ปรับปรุง. ศูนย์การเรี ยนรู้ทางการวิจยั . เข้ าถึงได้ จากเว็บไซต์
http://rlc.nrct.go.th/ewt_dl.php?nid=572 . วันที่สืบค้ น: 20
พ.ค.2555
3.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. คูม่ ือปฏิบตั ิงานวิจยั เบื ้องต้ นสาหรับการทาวิจยั . เข้ าถึงได้
จากเว็บไซต์ http://www.nrru.ac.th/rdi/km/wpcontent/uploads/2011/08/sim3.pdf วันที่สืบค้ น: 20 พ.ค.2555
4. เรณา พงษ.เรื องพันธุ์ และประสิทธิ์ พงษ์ เรื องพันธุ์. การวิจยั ทางการพยาบาล (พิมพ์ครัง้ ที่ 3).
2549.