ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

Download Report

Transcript ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

บทที1่
ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวติ
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวิต
1.1 สิ่ งมีชีวติ คืออะไร
1.1.1 สิ่ งมีชีวติ มีการสื บพันธุ์
1.1.2 สิ่ งมีชีวติ ต้ องการสารอาหารและพลังงาน
1.1.3 สิ่ งมีชีวติ มีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจากัด
1.1.4 สิ่ งมีชีวติ มีการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
1.1.5 สิ่ งมีชีวติ มีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
1.1.6 สิ่ งมีชีวติ มีลกั ษณะจาเพาะ
1.1.7 สิ่ งมีชีวติ มีการจัดระบบ
1.2 ชีววิทยาคืออะไร
1.3 ชีววิทยากับการดารงชีวิต
1.4 ชีวจริยธรรม
ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวติ





การได้ มาซึ่งอาหาร (nutrition)
การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration)
การสั งเคราะห์ (synthesis)
การสื บพันธุ์ (reproduction)
การปรับตัวและวิวัฒนาการ ( adaptation and
evolution )
1.1 สิ่ งมีชีวติ คืออะไร
1.1.1 สิ่ งมีชีวติ มีการสื บพันธุ์
1.1.2 สิ่ งมีชีวติ ต้องการสารอาหารและพลังงาน
1.1.3 สิ่ งมีชีวติ มีการเจริ ญเติบโต มีอายุขยั และขนาดจากัด
1.1.4 สิ่ งมีชีวติ มีการตอบสนองต่อสิ่ งเร้า
1.1.5 สิ่ งมีชีวติ มีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
1.1.6 สิ่ งมีชีวติ มีลกั ษณะจาเพาะ
1.1.7 สิ่ งมีชีวติ มีการจัดระบบ
สิ่ งมีชีวติ มีการสื บพันธุ์
(Reproduction)

Asexual Reproduction
Fragmentation experiments
with Planaria (flatworms)
http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm
Sexual Reproduction
External
http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm
Internal
http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm
Is it reproduction ?
Is it reproduction ?
http://www.microscope-microscope.org/gallery/Mark-Simmons/pages/hydra2.htm
สิ่ งมีชีวติ ต้ องการสารอาหารและพลังงาน
แคแทบอลิซึม (catabolism)
 แอแนบอลิซึม (anabolism)

http://webs.wichita.edu/mschneegurt/biol103/lecture02/lecture2.html
สิ่ งมีชีวติ มีการเจริญเติบโต มีอายุขยั และขนาดจากัด
สิ่ งมีชีวติ มีการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
สิ่ งมีชีวติ มีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
สิ่ งมีชีวติ มีลกั ษณะจาเพาะ
สิ่ งมีชีวติ มีการจัดระบบ
ชีววิทยาคืออะไร
ชีววิทยาคืออะไร

Biology มาจากคาภาษากรี ก
- Bios (ชีวติ , สิ่ งมีชีวติ ) และ
- logos (กล่าวถึง , ศึกษา , วิชา , ความคิด , การมี
เหตุผล)
 Biology หรื อ ชีววิทยา จึงหมายถึง วิชาที่ศึกษา
สิ่ งมีชีวติ
ชีววิทยาคืออะไร

ชีววิทยาเป็ นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งมีชีวิต ชีววิทยามี
หลายสาขา ได้แก่
1. การศึกษาสิ่ งมีชีวิตและกลุ่มของสิ่ งมีชีวิต
– สั ตววิทยา (Zoology ) ศึกษาเรื่องราวต่ างๆ ของสั ตว์
– พฤกษศาสตร์ (botany) ศึกษาเรื่องราวต่ างๆ ของพืช
– จุลชีววิทยา (microbiology) การศึกษาเรื่องรางต่ างๆ ของ
จุลนิ ทรีย์


2. การศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทางานของสิ่ งมีชีวิต
3. การศึกษาเรื่ องราวของสิ่ งมีชีวิต
1. การศึกษาสิ่ งมีชีวติ และกลุ่มของสิ่ งมีชีวติ
- สั ตววิทยา ( zoology ) เช่ น
1. สั ตว์ ไม่ มกี ระดูกสั นหลัง (invertebrate)
2. สั ตว์ มกี ระดูกสั นหลัง (vertebrate)
3. มีนวิทยา (ichthyology)
4. สั งขวิทยา (malacology)
5. ปักษินวิทยา (ornithology)
6. วิทยาสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม (mammalogy)
7. กีฏวิทยา (entomology)
8. วิทยาเห็บไร (acarology)
1. การศึกษาสิ่ งมีชีวติ และกลุ่มของสิ่ งมีชีวติ
- พฤกษศาสตร์ (botany) เช่ น
ั้ ำ
1. พืชชนต
่ (lower plant)
2. พืชมีทอ
่ ลำเลียง (vascular plant)
3. พืชมีดอก (angiosperm)
1. การศึกษาสิ่ งมีชีวติ และกลุ่มของสิ่ งมีชีวติ
- จุลชีววิทยา (microbiology) เช่ น
1. วิทยาแบคทีเรีย (bacteriology)
2. วิทยาไวรัส (virology)
3. ราวิทยา (mycology)
4. วิทยาสั ตว์ เซลล์เดียว (protozoology)
2. การศึกษาจากโครงสร้ างหน้ าทีแ่ ละการทางานของสิ่ งมีชีวติ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
กายวิภาคศาสตร์ (anatomy)
สั ณฐานวิทยา (morphology)
สรีรวิทยา (physiology)
พันธุศาสตร์ (genetics)
นิเวศวิทยา (ecology)
มิชญวิทยาหรือเนือ้ เยื่อวิทยา (histology)
วิทยาเอมบริโอ (embryology)
วิทยาเซลล์ (cytology)
วิทยาเอนโดคริน (endocrinology)
3. การศึกษาเรื่องราวของสิ่ งมีชีวติ เช่ น
1. อนุกรมวิธาน (taxonomy) 2.
วิวฒ
ั นาการ (evolution)
3. บรรพชีวนิ วิทยา
(paleontology)
ชีววิทยา
กับการดารงชีวติ
- การผลิตฮอร์ โมนอินซู ลนิ จากยีสต์ เพือ่ รักษา
โรคเบาหวานในคน
- การผลิตกรดอะมิโนจาเป็ นโดยแบคทีเรีย
- การผลิตสาหร่ ายสไปรู ไลนาซึ่งมีโปรตีนสู ง
- การพัฒนาทางด้ านพันธุวศิ วกรรม (genetic
engineering)
- การพัฒนาเทคนิคทางด้ าน DNA เพือ่ นามาใช้ ในการ
ตรวจหาสายสั มพันธ์ ของพ่ อแม่ ลูก และใช้ ในการสื บสวน
สอบสวนทางคดีของแพทย์ และตารวจได้ เป็ นอย่ างดี
- การศึกษาทางด้ านพืชสมุนไพรสามารถนามาผลิตเป็ นยาแผนโบราณใช้ ใน
การรักษาโรคต่ าง ๆ ได้
- การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ ายฝากตัวอ่อน ( In Vitro
Fertilization-Embryo Transfer )
- การนาเซลล์สืบพันธุ์ไปใส่ ทที่ ่ อนาไข่ หรือทีเ่ รียกว่ ากิฟ๊ ( GFT หรือ
Gamete Intrafallopian Transfer )
- การทาอิก๊ ซี่ ( ICSI หรือ Intracytoplasmic
Sperm Injection )
- การทาโคลนนิ่ง ( Cloning ) เป็ นต้ น
ชีวจริยธรรม
ชีวจริยธรรม (bioethics)
 ชีวจริยธรรม (bioethics) หมายถึง การ
ปฏิบตั ิต่อสิ่ งมีชีวติ อย่างมีคุณธรรม ไม่ทาร้าย หรื อทา
อันตรายต่อสัตว์ หรื อมนุษย์เพื่อการศึกษาหรื อการ
วิจยั เช่น
ชีวจริยธรรม (bioethics)







จรรยาบรรณในการใช้ สัตว์ ทดลอง
อาวุธชีวภาพ
การโคลนมนุษย์ (cloning)
การทาแท้ ง
สิ่ งมีชีวติ GMOs
ทัวร์ อวสานชีวติ /กรุณพิฆาต
และอื่น ๆ
จรรยาบรรณในการใช้ สัตว์ ทดลอง





สานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ ได้กาหนดจรรยาบรรณการ
ใช้สัตว์เพื่องานวิจยั งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดงั นี้
1. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงคุณค่ าของชีวิตสั ตว์
2. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงความแม่ นยาของผลงานโดยใช้ สัตว์ จานวนน้ อย
ทีส่ ุ ด
3. การใช้ สัตว์ ป่าต้ องไม่ ขัดต่ อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ ป่า
4. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักว่ าสั ตว์ เป็ นสิ่ งมีชีวิตเช่ นเดียวกับมนุษย์
5. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสั ตว์ ไว้ เป็ นหลักฐานอย่างครบถ้ วน
การกากับดูแลให้ผใู ้ ช้สัตว์ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ ทั้ง
ระดับองค์กร และระดับชาติ ต้องจัดให้มีคณะกรรมการกากับติดตามดูแล
รับผิดชอบ เช่น ในระดับชาติได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการวิจยั
แห่งชาติ และกองบรรณาธิ การของวารสารที่ตีพิมพ์ผลงานวิจยั
อาวุธชีวภาพ


เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนาเอาสิ่ งมีชีวิตหรื อชิ้นส่ วนของสิ่ งมีชีวติ มา
ปรับปรุ งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็ นประโยชน์มากขึ้นโดยใช้
เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพก็เหมือนเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีผนู ้ าประโยชน์
ของเทคโนโลยีไปใช้ในทางลบ เช่น นาเอาสิ่ งมีชีวติ ที่เป็ นอันตรายต่อพืช
สัตว์ โดยเฉพาะมนุษย์มาใช้เป็ นอาวุธทาลายล้างกัน ที่เรี ยกว่า อาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพ เป็ นมหันตภัยที่คุกคามมวลมนุษย์อย่างมาก สิ่ งมีชีวิตที่
นามาใช้เป็ นอาวุธชีวภาพได้แก่พวกจุลินทรี ย ์ ที่เป็ นเชื้อโรค รวมทั้งชิ้นส่ วน
ของจุลินทรี ย ์ เช่น สปอร์ หรื อเส้นใยของราหรื อแบคทีเรี ย รวมทั้งพรี ออน (
Prion : เป็ นสิ่ งที่ทาให้เกิดโรคที่ไม่ใช่เซลล์และไม่มีสารพันธุกรรมมี
แต่โปรตีน) และสารพิษที่สกัดจากสิ่ งมีชีวิต
อาวุธชีวภาพ



ยกตัวอย่ างอาวุธชีวภาพสั ก 2 - 3 ชนิด
Antrax หรื อ โรคกาลี เป็ นเชื้อแบคทีเรี ยที่เป็ นรู ปแท่ง ทาให้เกิดโรค
ระบาดในสัตว์ส่วนใหญ่เป็ นสัตว์กินหญ้า เช่น โค กระบือ และติดต่อมาถึงคน
Smallpox หรื อ ไข้ทรพิษ เป็ นเชื้อไวรัสที่อยูใ่ นสภาพแห้งหรื อ
อุณหภูมิได้นาน
Botulism เป็ นแบคทีเรี ยรู ปแท่ง สามารถสร้างสารพิษที่มีผลต่อระบบ
ประสาททาให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อส่ วนต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อหัวใจ
ติดต่อกันได้ทางการกินและบาดแผล เช่น กินอาหารกระป๋ องที่มีพิษของ
แบคทีเรี ยนี้เข้าไปอาจทาให้ตายได้ พบว่าเพียง 1 กรัม ทาให้คนตายได้ถึง 1.5
ล้านคน
อาวุธชีวภาพมีฤทธิ์ และพิษภัยร้ายแรงมากกว่าสารเคมีหลายเท่า เรามอง
ไม่เห็น ไม่รู้รส และไม่ได้กลิ่น รับเข้าสู่ ร่างกายโดยไม่รู้ตวั การป้ องกันจึงทา
ได้ยาก
การโคลนมนุษย์






โคลนนิ่ง (cloning) หรือการโคลน หมายถึง การคัดลอกหรือการ
ทาซ้า (copy)
ในทางชีววิทยา หมายถึง การสร้ างสิ่ งมีชีวิตใหม่ ทมี่ ีลกั ษณะทางพันธุกรรม
เหมือนเดิมทุกประการ
การโคลนมนุษย์ เป็ นประเด็นทีว่ พิ ากษ์ วจิ ารณ์ กนั มาก เพราะมนุษย์ทเี่ กิด
จากการโคลนไม่ มีพ่อและแม่ ทแี่ ท้ จริง และอาจมีอุปนิสัยใจคอต่างไป แม้ จะ
มีรูปร่ างหน้ าตาเหมือนกับบุคคลเจ้ าของเซลล์ ต้นกาเนิด อาจก่ อให้ เกิด
ปัญหาทางสั งคม
ในวงการแพทย์ มีการวิจัยการโคลนเอ็มบริโอของคน โดยมีเป้าประสงค์ เพือ่
นาอวัยวะไปทดแทนผู้ป่วย เช่ น ไต เป็ นต้ น
แต่ กเ็ ป็ นการทาให้ มนุษย์ โคลนมีอวัยวะไม่ ครบ บางประเทศจึงไม่ สนับสนุน
โดยเหตุนีท้ ุกประเทศทัว่ โลกจึงห้ ามการโคลนมนุษย์
แต่ บางประเทศได้ ร่างกฎหมายเกีย่ วกับชีวจริยศาสตร์ เพือ่ ขออนุญาตให้ ใช้
ตัวอ่ อนมนุษย์ ในการทาวิจัย เช่ น ฝรั่งเศส อังกฤษ จีน และญี่ปุ่น
การทาแท้ ง




ตามหลักศาสนา ถือว่ าการทาแท้ งเป็ นสิ่ งไม่ ดี ผิดศีลธรรม เป็ นบาป
แต่ เมือ่ ไม่ นานใน USA มีบางกลุ่มถือว่ าการท้ องเป็ นเรื่องส่ วนตัว และ
กล่าวว่ าเด็กในครรภ์ เป็ นส่ วนหนึ่งของอวัยวะสตรี จึงมีสิทธิทจี่ ะเลือกให้ เด็ก
อยู่ในครรภ์ หรือไม่ กลุ่มนีเ้ รียกว่ า พวก pro-choice
ส่ วนกลุ่มตรงข้ ามมีความเห็นว่ าเด็กในครรภ์ เป็ นสิ่ งมีชีวิตทีจ่ ะถือกาเนิดมา
เป็ นมนุษย์ การทาแท้ งถือเป็ นฆาตกรรมอย่ างหนึ่ง ความเห็นของกลุ่มนี้
เรียกว่ า pro-life
ในประเทศไทยมีการอนุมตั ใิ ห้ ขายยา RU 486 ทีท่ าให้ เกิดการแท้ ง และมี
กฎหมายอนุญาตให้ ทาแท้ งได้ 2 กรณี คือ
– 1. สุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิตของหญิงผูเ้ ป็ นแม่ และสุ ขภาพของทารกในครรภ์ ไม่ดี
เช่น ติดเชื้อ HIV เป็ นโรคต่อมไร้ท่อ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ ง
โรคธาลัสซีเมีย มีภาวะปั ญญาอ่อน
– 2. การตั้งครรภ์เพราะถูกข่มขืน
สิ่ งมีชีวติ GMOs

สิ่ งมีชีวติ GMOs หรือสิ่ งมีชีวติ ตัดแต่ งพันธุกรรม GMOs มาจากคาว่ า
genetically modified organisms หมายถึง สิ่ งมีชีวติ ทีม่ ีการ
ตัดและต่ อยีนด้ วยเทคนิคพันธุวศิ วกรรม (genetic engineering) ทา
ให้ มลี กั ษณะพันธุกรรมตามทีต่ ้ องการ มีประโยชน์ ดังเช่ น
1. สารทีผ่ ลิตโดยจุลนิ ทรีย์แปลงพันธุ์ มีหลายชนิดมีประโยชน์ เช่ น ช่ วยขยายหลอดเลือด
ฟื้ นฟูกระดูกภายหลัง การปลูกถ่ ายไขกระดูก ลดนา้ หนองในปอดของคนไข้ กระตุ้นการ
สร้ างเนือ้ เยือ่ ที่เกิดจากบาดแผลไฟไหม้ กระตุ้นการสร้ างเซลล์ เม็ดเลือดแดง ช่ วยแก้ความ
เป็ นหมัน ช่ วยในการดูดซึมกลูโคส ฯลฯ
2. สารทีผ่ ลิตโดยพืชแปลงพันธุ์ มีหลายชนิด เช่ น แครอท ทาให้ เนือ้ เหนียวขึน้ มะเขือเทศ
ช่ วยควบคุมการสุ กของผล มะละกอมีความทนทานต่ อไวรัสโรคใบด่ าง ผักกาดหอม
ต้ านทานต่ อโรค ทานตะวันทาให้ เมล็ดมีโปรตีนเพิม่ ขึน้ ข้ าวโพดทนทานต่ อยาปราบ
วัชพืช ฯลฯ
3. สารทีผ่ ลิตโดยสั ตว์ แปลงพันธุ์ มีหลายชนิด เช่ น วัวผลิต GH ฮอร์ โมนช่ วยเพิม่
ผลผลิตนา้ นม หนูผลิต GH ของคนช่ วยเพิม่ ความสู งของคนเตีย้ แคระ กระต่ ายผลิต
สาร EPO กระตุ้นการสร้ างเซลล์ เม็ดเลือดแดงสาหรับคนป่ วยโรคโลหิตจางเนือ่ งจาก
ไตวาย เป็ นต้ น
สิ่ งมีชีวติ GMOs



อันตรายจากอาหารทีไ่ ด้ จากสิ่ งมีชีวติ ดัดแปลงพันธุกรรม (GE foods
หรือ GM foods) แม้ จะยังไม่ มีข้อมูลรายงานชัดเจน แต่ กก็ ่อให้ เกิด
ความหวัน่ วิตก และเกรงจะเกิดภัยอันตรายแก่มนุษย์
แม้ ว่าศูนย์ พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีแห่ งชาติ ได้ พยายามชี้แจงว่า
ผลิตภัณฑ์ GMO ยังไม่ เกิดอันตรายอย่ างเด่ นชัด
แต่ เราในฐานะผู้บริโภคควรระวังตนไว้ ก่อน สิ่ งใดมีคุณอนันต์ กอ็ าจก่อให้ เกิด
ผลเสี ยอย่ างมหันต์ ได้ ถ้ าไม่ จาเป็ นก็ควรหลีกเลีย่ งการบริโภค หรือถ้ าบริโภคก็
ไม่ ควรซ้า ๆ ต่ อเนื่องกัน
ทัวร์ อวสานชีวติ /กรุณพิฆาต




ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีบริ การให้ผปู ้ ่ วยที่ไม่ปรารถนาจะมี
ชีวิตอยูไ่ ปได้จบชีวิตลงอย่างสงบ
ดาเนินการโดยมูลนิธิการกุศลแห่งหนึ่ง เป็ นการกระทาที่ถูกต้อง
ตามกฎหมาย
มีท้ งั ชาวสวิตและชาวต่างชาติเดินทางมาใช้บริ การไปแล้ว
ประมาณ 150 ราย
กรณี น้ ียงั ไม่เป็ นที่ยอมรับสาหรับประเทศอื่น ๆ ถือเป็ นปัญหาชีวจ
ริ ยธรรมที่ตอ้ งพิจารณากันอย่างรอบคอบ
อืน่ ๆ เช่ น


การใช้ สารเร่ งการเจริญเติบโตในพืชหรือในสั ตว์ อันจะก่ อให้ เกิด
สารตกค้ างได้ ซึ่งจะมีผลเสี ยต่ อผู้บริโภคได้
การใช้สารฟอร์มาลิน ในการแช่ผกั ปลา หรื อเนื้อ ช่วยให้ผกั
ปลา และเนื้อ การใช้สารบอร์แรกซ์ใส่ ในลูกชิ้นเด้ง การฉีดดีดีที
ให้แก่ ปลาเค็ม เนื้อเค็ม ก็มีผลเสี ยต่อผูบ้ ริ โภคทั้งสิ้ น
References


http://61.19.145.7/student/science401/bi
o/bio1-2/intro.html
http://www.ipst.ac.th/biology/BioArticles/mag-content14.html
Thank you
Miss Lampoei Puangmalai
Major of biology
Department of science
St. Louis College Chachoengsao