บทนำ - Psychology
Download
Report
Transcript บทนำ - Psychology
จิตวิทยาและการแนะแนวสาหรับครู
(Psychology and Guidance for Teachers)
อ.โชติกา ธรรมวิเศษ
สาขาวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
1
การประเมินผล
คะแนนระหว่ างภาค
การมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
การศึกษาค้นคว้ารายงาน
การฝึ กปฎิบตั ิ
การสอบกลางภาค
คะแนนระหว่ างภาค
70 %
10%
10%
20%
30%
30 %
2
Chapter 1 : ความรู้ เบือ้ งต้ นของวิชาจิตวิทยา
ความหมาย ประวัติของวิชาจิตวิทยา
จิตวิทยา คืออะไร?
จิต + วิทยา
Psycho + logy
Psycho รากศัพท์ มาจาก psyche = mind = จิตใจ, วิญญาณ
logy รากศัพท์ มาจาก logos = study = การศึกษา
3
ความหมาย ประวัติของวิชาจิตวิทยา
จิตวิทยา หมายถึง ศาสตร์ ที่ศึกษาเรื่ องพฤติกรรม
ของอินทรี ย์ สิ่ งมีชีวิตต่ างๆ โดยเฉพาะมนุษย์ เป็ น
ส าคั ญ เพื่ อ อธิ บ าย ท าความเข้ า ใจท านาย และ
ควบคุมพฤติกรรมนั้นๆได้
4
สรุป จิตวิทยา คืออะไร?
ศาสตร์ ทวี่ ่ าด้ วย การศึกษาเกีย่ วกับจิตใจ มีอะไรบ้ าง
กระบวนการของจิต
กระบวนความคิด
พฤติกรรมของมนุษย์ ( อารมณ์ / บุคลิกภาพ /
รู ปแบบความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล / กิจกรรมใน
ชีวติ ประจาวัน เช่ น ครอบครัว การศึกษา การจ้ าง
งาน วิถีชีวติ การอยู่กบั สั งคม )
5
ความสาคัญของวิชาจิตวิทยา
เพื่อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ข้ า ใจธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ ตลอดจน
พัฒนาการทางร่ างกาย อารมณ์ สั งคมและเชาว์ ปัญญา
เพือ่ ให้ นักศึกษาเข้ าใจพฤติกรรมต่ างๆ ของตนเองและผู้อนื่
เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาสามารถน าความรู้ ทางจิ ต วิ ท ยาไปใช้
แก้ ปัญหาของตนเอง
6
ความสาคัญของวิชาจิตวิทยา
เพือ่ ให้ นักศึกษาสามารถนาความรู้ ทางจิตวิทยาไปใช้ ในการ
ปรับตัว เข้ ากับสั งคมได้ อย่ างมีความสุ ขและไม่ ทาให้ ตนเอง
และผู้อนื่ เดือดร้ อน
เพือ่ ให้ นักศึกษามีความตระหนักถึงความสาคัญของจิตวิทยา
และการนาจิตวิทยาไปและสามารถประยุกต์ ใช้ ในการ
ดารงชีวติ การประกอบอาชีพและการทางานต่ างๆ ได้ อย่ าง
เป็ นสุ ข
7
สาขาทางจิตวิทยา
จิตวิทยาทั่วไป ศึกษาพฤติกรรมทั่วไปของคนปกติ
จิตวิทยาสรี ระ ศึกษาเกีย่ วกับส่ วนประกอบ หน้ าที่
ธรรมชาติของร่ างกายมนุษย์ ทีม่ ีผลต่ อการ
แสดงออก
จิตวิทยาการทดลอง ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ และ
สัตว์ ในห้ องทดลอง
8
สาขาทางจิตวิทยา (เฉพาะด้ าน)
จิตวิทยาพัฒนาการ ศึกษาการเปลีย่ นแปลงทางกาย
อารมณ์ สั งคม สติปัญญาของบุคคลวัยต่ างๆ ตาม
ระยะเวลาที่ผ่านไป
จิตวิทยาคลินิก การวิเคราะห์ ความผิดปกติของ
พฤติกรรม เพือ่ นาไปสู่ การบาบัดรักษา
จิตวิทยาอปกติ ศึกษาพฤติกรรมผิดปกติทุก
ประเภท/อัจฉริยะด้ านต่ างๆ
9
สาขาทางจิตวิทยา (ประยุกต์ )
•จิตวิทยาการแพทย์ / จิตวิทยาบุคลากร
•จิตวิทยาการปรึ กษาแนะแนว
•จิตวิทยาสังคม / จิตวิทยาการเรี ยนการสอน
•จิตวิทยาการศึกษา / จิตวิทยาการเรี ยนร้ ู
•จิตวิทยาอุสาหกรรม / จิตวิทยาธุรกิจ
•จิตวิทยาประยกุ ต์
10
บิดาแห่ งจิตวิทยาพฤติกรรมศาสตร์
วัตสันเป็ นศิษย์ของวิลเลียม เจมส์ สอนอยูท่ ี่มหาวิทยาลัยจอห์น
ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University) ภายหลังแยกออกมาจาก
เจมส์เพราะมีความเห็น ไม่ตรงกับเจมส์ เกี่ยวกับวิธีการศึกษา
พฤติกรรมมนุษย์ดว้ ยวิธีการตรวจสอบตนเอง ว่าไม่มีลกั ษณะ
เป็ นวิทยาศาสตร์ เชื่อถือได้ยากเพราะขึ้นอยูก่ บั ความรู้สึก
ส่ วนตัว มีแนวโน้มที่จะมีอคติ หรื อเอนเอียงไปทางหนึ่งทางใด
ตามความรู้สึกของ ผูศ้ ึกษามากค.ศ. 1930 เสนอให้ศึกษา
พฤติกรรมของมนุษย์ (behavior) ซึ่งสังเกตและมองเห็นได้
มากกว่าจิตใจที่อยูภ่ ายใน และสรุ ปว่าการศึกษาพฤติกรรมเป็ น
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
11
ความหมายของพฤติกรรม
พฤติกรรม (Behavior) :
การกระท าหรื อ กิ จ กรรมต่ า งๆที่ ม นุ ษ ย์ แ สดง
ออกมา เมื่ อ มี สิ่ งใดมากระตุ้ นให้ แสดง การ
ตอบสนอง (response) ทั้งที่สามารถสั งเกต เห็น
ได้ และไม่ สามารถสั งเกตเห็นได้
12
The study of behavior and
cognitive processes with
scientific method
13
กระบวนการเกิดพฤติกรรม
สิ่ งเร้ า
S (stimulus)
อินทรีย์
O (organize)
การตอบสนอง
R (response)
ส้ มตาหรือ
มะม่ วงนา้ ปลา
หวาน
ตา
นา้ ลายไหล
14
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior)
1.1 พฤติกรรมหน่ วยใหญ่ (molar behavior)
1.2 พฤติกรรมหน่ วยย่ อย (molecular behavior)
2. พฤติกรรมภายใน (covert behavior)
15
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมภายนอก
(overt behavior)
16
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
การเดิน
การวิง่
การกิน
การนั่ง
การปั่นจักรยาน
พฤติกรรมภายนอก
17
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
การวัดคลืน่ สมองหรือ E.E.G.
การฟังเสี ยงการทางานของหัวใจด้ วยหูฟัง
การฟังเสี ยงการทางานของปอดด้ วยหูฟัง
การวัดความดันโลหิต
พฤติกรรมภายนอก
18
19
20
พฤติกรรมภายใน
(Covert Behavior)
21
การนึกคิด (Thoughts)
การรู้สึก (Feelings)
อารมณ์ (Emotions)
แรงจูงใจ (Motives)
ทัศนคติ (Attitude)
ค่ านิยม (Value)
พฤติกรรมภายใน
22
ต้ องใช้ เครื่องมือทางจิตวิทยาในการวัด
23
24
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพฤติกรรม
เพือ่ บรรยายลักษณะพฤติกรรม
เพือ่ อธิบายสาเหตุของพฤติกรรม
เพือ่ ทานายผลของพฤติกรรมทีม่ ีลกั ษณะเดียวกัน
เพือ่ การกาหนดพฤติกรรม ให้ ออกมาในลักษณะ
ทีส่ ร้ างสรรค์ และสามารถอยู่ในสั งคมได้ อย่ างมี
ความสุ ข
25
วิธีการรวบรวมข้ อมูลทางจิตวิทยาเพือ่ ศึกษาพฤติกรรม
1. การศึกษารายกรณี
2. การสั งเกต
3. การสั มภาษณ์
4. การเยีย่ มบ้ าน
5. การเขียนอัตชีวประวัติ
6. บันทึกประจาวัน
7. แบบสอบถาม
8. แบบทดสอบ
26
1. การศึกษารายกรณี (Case Study)
หมายถึ ง การศึ ก ษารายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ บุ ค คล หรื อ ศึ ก ษา
รายละเอียดต่ างๆ อย่ างลึกซึ้งต่ อเนื่องกันไปเป็ นระยะเวลาใด
เวลาหนึ่งและวิเคราะห์ วินิจฉัยถึงสาเหตุของพฤติกรรมที่เป็ น
ปัญหาพร้ องทั้งแนวทางในการช่ วยเหลือ การป้องกัน และการ
ส่ งเสริม เพือ่ ให้ บุคคลที่ถูกศึกษานั้นอยู่ในสั งคมในสั งคมอย่ างมี
ความสุ ข
27
จุดมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี
1. เพือ่ การรู้ จัก และเข้ าใจบุคคลได้ ดขี นึ้
2. เพือ่ การวินิจฉัยอันเป็ นประโยชน์ ต่อการให้ ความช่ วยเหลือ
บุคคล
3. เพือ่ ค้ นคว้ าวิจัย
28
ประโยชน์ ของการศึกษารายกรณี
ประโยชน์ ทางตรง
ประโยชน์ ทางอ้ อม
เกิดแก่ ผ้ ูศึกษาเอง
เกิดขึน้ แก่ ผ้ ูรับการศึกษา
29
กระบวนการในการศึกษารายกรณี
กระบวนการศึกษารายกรณีสามารถแบ่ งได้ ออกเป็ น
8 ขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาสภาพและจัดระบบข้ อมูล
2. กาหนดขอบข่ ายและตั้งสมมติฐาน
3. การรวบรวมข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูล
4. การวินิจฉัย
5. การช่ วยเหลือ ป้ องกัน และส่ งเสริม
6. การทานายผล
30
2. การสั งเกต (Observation)
หมายถึง การพิจารณาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรือหลายๆ
สิ่ งของ บุคคลในลักษณะทีเ่ ป็ นจริงตามธรรมชาติ
โดยการใช้ อวัยวะรับสั มผัสส่ วนใดส่ วนหนึ่งหรือทั้ง
5 ส่ วน(หู, ตา, จมูก, ลิน้ และผิวหนัง)
31
ประเภทของการสั งเกต
การสั งเกตแบบเป็ นพิธีการ (formal observation)
การสั งเกตแบบไม่ เป็ นพิธีการ(informal observation)
32
หลักการสั งเกต
ต้ องมีจุดมุ่งหมายในการสั งเกตทีแ่ น่ นอน
มีการวางแผนทีด่ ี
ควรสั งเกตบุคคลเพียงคนเดียวในแต่ ละสถานการณ์
เลือกสั งเกตพฤติกรรมทีม่ คี วามสมบูรณ์ ในตัวเอง
สั งเกตพฤติกรรมนั้นอย่ างต่ อเนื่อง
33
หลักการสั งเกต (ต่ อ)
มีการจดบันทึกภายหลังการสั งเกต
ควรมีผู้สังเกตหลายคนเพือ่ ป้องกันข้ อผิดพลาด
การสั งเกตควรทาแบบมีพธิ ีการและไม่ มีพธี ีการควบคู่กนั
การสั งเกตแต่ ละครั้งควรมีเวลาในการสั งเกตนานพอทีจ่ ะเห็น
ภาพของพฤติกรรม โดยทั่วไปแต่ ละครั้งไม่ ควรต่ากว่ า 15 นาที
การสั งเกตในแต่ ละครั้งจะขึน้ อยู่กบั องค์ ประกอบ 3 ประการ คือ
ความตั้งใจ การรับรู้ และความไวของการรับรู้
34
3. การสั มภาษณ์
หมายถึง การสนทนาหรือการพูดคุยกันระหว่ างบุคคล
ตั้งแต่ 2 คน ขึน้ ไป โดยมีจุดมุ่งหมายในการสนทนา
ซึ่งอาศัยสั มพันธภาพและมนุษย์ สัมพันธ์ เป็ นกุญแจ
สาคัญ ในการสนทนา
35
ชนิดของการสั มภาษณ์
การสั มภาษณ์ เพือ่ ค้ นหาหรือทราบข้ อเท็จจริง
(Fact finding interview)
การสั มภาษณ์ เพือ่ ให้ คาปรึกษา
(Counseling interview)
36
การสั มภาษณ์ เพือ่ ให้ คาปรึกษา
(Counseling interview)
ประกอบด้ วย 3 ขั้นตอนดังนี้ คือ
1. ขั้นก่ อนการให้ คาปรึกษา
2. ขั้นขณะการให้ คาปรึกษา
3. ขั้นยุตกิ ารให้ คาปรึกษา
37
4. การเยีย่ มบ้ าน (Home visit)
การเยีย่ มบ้ าน (home visit) เป็ นวิธีการหนึ่งที่ใช้ ในการ
เก็บรวบรวมข้ อมูลและร่ วมมือกับบิดามารดาหรือ
ผู้ปกครอง ในการช่ วยเหลือผู้รับการศึกษา
ข้ อมูลทีไ่ ด้ เช่ น สภาพทัว่ ไปของบ้ าน สภาพแวดล้ อม
ของบ้ าน ลักษณะของความสั มพันธ์ ของบุคคลใน
ครอบครัว
38
5. การเขียนอัตชีวประวัติ (Autobiography)
เป็ นเครื่องมือทีช่ ่ วยให้ บุคคลยอมรับตนเอง โดยการเขียน
เรื่องราวของตนเองให้ ตรงกับความเป็ นจริงมากทีส่ ุ ด
โดยเนือ้ หาการเขียนควรมีเนือ้ หาในการเขียน ตั้งแต่ อดีต
ปัจจุบัน และอนาคต
แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้
แบบกาหนดหัวข้ อ (Control autobiography)
แบบไม่ กาหนดหัวข้ อ(Uncontrol autobiography)
39
6. บันทึกประจาวัน (Diary)
เป็ นการเขียนบันทึกเรื่องราวเกีย่ วกับตนเอง เปิ ดเผย
ความรู้ สึกส่ วนตัวทีม่ ตี ่ อเหตุการณ์ และสภาพแวดล้ อม
รอบตัว
และการเขียนควรเขียนต่ อเนื่องอย่ างน้ อยไม่ ต่ากว่ า 1 สั ปดาห์
** เครื่องมือนีม้ ักใช้ ควบคู่กบั การเขียนอัตชีวประวัต*ิ *
40
7. แบบสอบถาม (Questionnaires)
แบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็ นชุดคาถาม ข้ อความแต่ ละ
ข้ อความเน้ นที่คาถามเกีย่ วกับเรื่องต่ างๆ เพื่อให้ ได้
ข้ อเท็จจริง ซึ่งการใช้ แบบสอบถามควรมีความรอบคอบ
ใช้ ให้ ตรงกับจุดมุ่งหมายของทีผ่ ้ ูศึกษาต้ องการจะรู้ พร้ อม
ทั้งคานึงถึงกลุ่มผู้ตอบด้ วย
41
8. แบบทดสอบ (Tests)
การใช้ แบบทดสอบ เป็ นการรวบรวมข้ อมูลทีม่ รี ะบบ
มีกฏเกณฑ์ ทีแ่ น่ นอน มีความเป็ นมาตรฐานและผลที่ได้
มีความหมายชัดเจน แบบทดสอบแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
ดังนี้
1. แบบทดสอบวัดเชาวน์ ปัญญา (Intelligence tests)
2. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personality tests)
42