การเรียนรู้

Download Report

Transcript การเรียนรู้

การเรียนรู้
การเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการที่ มีขอบเขตกว้างขวาง เริ่ ม
ตั้ง แต่ ม นุ ษ ย์แ รกเกิ ด จนกระทั่ง วาระสุ ด ท้า ยของชี วิ ต
วิ ธี ก ารแต่ ง กายที่ แ ต่ ล ะคนนิ ย ม รสนิ ย มเรื่ องอาหาร
อารมณ์ที่เกิดขึ้นในเวลาที่เราโต้เถียงกับคนอื่นๆ สิ่ งเหล่านี้
เกิดจากการเรี ยนรู้ท้ งั สิ้ น
ความหมายของการเรียนรู้
การเรี ยนรู ้ คือ การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่ค่อนข้าง
ถาวร พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงนี้เป็ นผลมาจากการ
ฝึ กฝน หรื อได้รับประสบการณ์
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ แบ่ งออกได้ 3 จาพวก
1. พฤติกรรมด้ านความรู้ความคิด (Cognitive Domain)
2. พฤติกรรมด้ านทักษะ (Phychomotor Domain)
3. พฤติกรรมด้ านอารมณ์ และความรู้สึก (Affective
Domain)
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้สรุปได้ เป็ น 5 ขั้นตอนดังต่ อไปนี้
ขั้น ที่
ขั้น ที่
1 เกิดแรงจูงใจ
2
ขั้น ที่ 3
ขั้นที่ 4
ขั้น ที่ 5
กาหนดเป้ าหมาย
พบอุปสรรคและเกิดความเครี ยด
เลือกการตอบสนองที่เหมาะสม
แก้ไขข้อบกพร่ องและเกิดการเรี ยนรู ้
หน้ าทีข่ องครู ในการช่ วยเหลือผู้เรียนในแต่ ละขั้น

ขั้นที่ 1 ช่ วยให้ ผู้เรียนมีแรงจูงใจโดยช่ วยในการกาหนดเป้าหมาย

ขั้นที่ 2 ช่ วยให้ ผู้เรียนมองเห็นว่ าเป้าหมายนั้นไม่ ไกลเกินที่ตนจะเอือ้ ม

ขั้นที่ 3 จัดประสบการณ์ ให้ ผู้เรียนรู้จักตนเอง

ขั้นที่ 4 สอนโดยเชื่อมโยงความรู้เก่ ากับความรู้ใหม่

ขั้นที่ 5 ป้อนข้ อมูลย้ อนกลับ
องค์ ประกอบพืน้ ฐานของการเรียนรู้
1. สมองและระบบประสาท (brian & the nervous system)
2 . แรงขับ (drive) ในทางจิตวิทยา แรงขับแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
2.1 แรงขับพื้นฐานหรื อแรงขับปฐมภูมิ (primary drive)
2.2 แรงขับที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ หรื อแรงขับทุติยภูมิ (secondary drive)
3. สิ่ งเร้ า (stimulus) และแรงจูงใจ (motive)
4. การเสริมแรง (reinforcement)
องค์ ประกอบทีส่ ่ งเสริมการเรียนรู้
1. ความพร้ อม (Readiness)
2. แรงจูงใจ (Motives)
3. เชาวน์ ปัญญา ( Intelligence )
4. อารมณ์ ( Emotion )
5. เจตคติ (Attitude)
6. ความสนใจ (Interest)
วิธีสร้ างแรงจูงใจในการเรียนการสอน
1. ให้เด็กทราบจุดมุ่งหมายของบทเรี ยนก่อนสอน
2. ศึกษาความต้องการของเด็กแต่ละวัย
3. แนะนาให้เด็กวางเป้ าหมายสาหรับตัวเองตามความสามารถ
4. ให้โอกาสเด็กประเมินผลงานร่ วมกับครู
5. ให้การเสริ มแรงเมื่อมีโอกาส
6. สอนจากสิ่ งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริ ง
7. เปิ ดโอกาสให้ได้อภิปรายและทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มย่อย
8. พยายามกระตุน้ ให้เด็กเกิดแรงจูงใจภายในในการทางาน
9. พยายามลดแรงจูงใจภายนอก
10. พยายามกระตุน้ ให้กาลังใจ
การถ่ ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of Learning )
ความหมายของการถ่ ายโยงการเรียนรู้
การถ่ายโยงการเรี ยนรู ้ หมายถึง การนาสิ่ งที่เรี ยนรู ้แล้วใน
อดีตมาใช้แก้ปัญหา หรื อนามาสัมพันธ์กบั สภาพการณ์ใหม่ๆ ใน
ปัจจุบนั หรื ออนาคต
ความสาคัญของการถ่ ายโยงการเรียนรู้
1.เรื่ องการถ่ายโยงการเรี ยนรู ้จะทาให้ครู เข้าใจถึงวิธีการสอน ที่จะ
ช่วยให้เด็กเกิดการนาไปใช้ในชีวิตจริ งได้
2.เรื่ องการถ่ายโยงการเรี ยนรู ้จะทาให้ครู จดั หลักสูตรที่เหมือนหรื อ
สัมพันธ์ กับชีวิตจริ งนอกโรงเรี ยน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิ คของพาฟลอฟ (Pavlov)
พาฟลอฟ (Pavlov) ทาการศึกษาทดลองกับสุ นขั การทดลองแบ่ง
ออกเป็ น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่ 1 เสี ยงกระดิ่ง (CS) ไม่ มีนา้ ลาย ผงเนือ้ (UCS) นา้ ลายไหล
(UCR)
ขั้นที่ 2 เสี ยงกระดิ่ง นา้ ลายไหล (UCR) และผงเนือ้ (UCS) ทาขั้น
ที่ 2 ซ้ากันหลาย ๆ ครั้ง
ขั้นที่ 3 เสี ยงกระดิ่ง (CS) นา้ ลายไหล (CR)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขด้ วยการกระทาของสกินเนอร์
หลักการเรียนรู้ทฤษฎี สกินเนอร์ (Skinner) กับทฤษฏีการวาง
เงื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) โดยจาก
แนวความคิดที่วา่ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่ งแวดล้อม
ซึ่งเป็ นสิ่ งก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทาของ
พฤติกรรมนั้นโดยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนั้น ทฤษฏีน้ ีเน้นการ
กระทาของผูท้ ี่เรี ยนรู ้มากกว่าสิ่ งที่ผสู ้ อนกาหนดขึ้น
ทฤษฎีแนวคิดของธอร์ นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ เน้นที่ความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ระหว่างสิ่ งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) ที่ชื่อว่า การ
เรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้ดว้ ยการที่มนุษย์หรื อสัตว์ได้เลือกเอาปฏิกิริยา
ตอบสนองที่ถกู ต้องนั้นมาเชื่อมต่อเข้ากับสิ่ งเร้าอย่างเหมาะสม จากการ
ทดลองและแนวความคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ของธอร์ นไดค์
ดังกล่าวมาข้างต้น เขาได้เสนอกฎการเรี ยนรู ้ที่สาคัญขึ้นมา 3 กฎ อันถือว่า
เป็ นหลักการเบื้องต้นที่นาไปสู่ เทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนกฎทั้ง
3 ได้แก่
1. กฎแห่งการฝึ กหัดหรื อการกระทาซ้ า (The Law of Exercise or
Repetition)
2. กฎแห่งผล (The Law of Effect)
3. กฎแห่งความพร้อม (The Law of Readiness)
สรุป
การเรี ยนรู ้เป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่
ค่อนข้างถาวร อันเป็ นผลมาจากประสบการณ์พฤติกรรม
ที่ไม่ถือว่าเป็ นการเรี ยนรู ้ เช่น วุฒิภาวการณ์ตอบสนอง
ของประสาทอัตโนมัติหรื อเป็ นการเปลี่ยนแปลงภายใต้
อิทธิพล ของยาหรื อสิ่ งเสพย์ติด การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ แบ่งได้เป็ น 3 จาพวก คือ
พฤติกรรมด้านความรู ้ ความคิด ด้านทักษะ ด้านอารมณ์
และความรู ้สึก