บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา

Download Report

Transcript บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา

จิตวิทยาทว่ ั ไป
General Psychology
สัปดาห์ ท่ ี 1 ประวัตแิ ละขอบเขตของวิชาจิตวิทยา
วันที่ 6 มิถุนายน 2555 (13.00-16.00 น.)
ิ ไชย
อ.ดร.ษากุล สน
คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุร ี
วัตถ ุประสงค์เพื่อให้นกั ศึกษา
1. ทราบที่มาของวิชาจิตวิทยา
2. เข้าใจความหมายของจิตวิทยา จากนักจิตวิทยาต่าง
ๆ
3. เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการแสดงออกพฤติกรรม
ทัง้ ภายในและภายนอก
4. ทราบถึงที่มาของระเบียบวิธีการศึกษาทางจิตวิทยา
5. ทราบถึงแนวคิดของนักจิตวิทยากลมุ่ ต่าง ๆ
ประว ต
ั แ
ิ ละขอบเขตของ
วิช าจิต วิท ยา
(History of Psychology)
สงิ่ แรกทีต
่ อ
้ งรู.้ . .
• จิตวิทยา คืออะไร
• จิตวิทยามาจากไหน
• ทาไม ต้องเรียนจิตวิทยา
• เกีย
่ วข้องก ับศาสตร์อน
ื่ ๆ อย่างไร
จิตวิทยา คืออะไร
• เป็ นการศึ กษาเกี่ยวกับพฤติ กรรม และกระบวนการ
ทางจิ ต (Behavior
Processes)
and
Mental
ซึ่งเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ งทาง
สังคมศาสตร์หรือพฤติกรรมศาสตร์
(Social Science or Behavior Science)
Psychology
Psyche + Logos
Mind or Soul
(จิต หรือ วิญญาณ)
Science, Study
(ศาสตร์ วิชา
วิทยาการ)
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับจิตวิทยา
• เรือ่ งของศาสตร์ที่ลึกลับ
• เรือ่ งของสามัญสานึก
• การแอบแฝงว่าเป็นวิทยาศาสตร์
• เ ข้ า ใ จ ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ บ ุ ค ลิ ก ภ า พ ข อ ง
นักจิตวิทยา
จิตวิทยามาจากไหน
Psychology
• Psyche = วิญญาณ
• Logos = การศึกษา
• มาจากกรีกโบราณ
ในยคุ ต้นของการศึกษา
จิตวิทยา โดยศึกษาว่า จิตวิญญาณมีผลอย่ างไร
ต่อการกระทาของมน ุษย์ มักเป็นเรือ่ งไม่มีตวั ตน
• ปลายศตวรรษที่ 19 นักจิตวิทยาจึงหันมาศึ กษา
เรื่องพฤติกรรม (behavior) และมีความ
เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น
ความหมายของจิตวิทยา
• จอห์น บี. วัตสัน (John B. Watson) อธิบายว่า
จิตวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
• วิลเลี่ยม เจมส์ ( William James ) อธิบาย
ว่า จิตวิทยาเป็นวิชาที่ว่าด้วยกิรยิ า อาการ ของมน ุษย์
• ฮิลการ์ด ( HilGard ) อธิบาย
ว่า จิตวิทยา หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาในเรื่องพฤติกรรม
ของมน ุษย์และสัตว์
พฤติกรรม (BEHAVIOR)
หมายถึง : กิจกรรม หรืออาการกระทาต่าง ๆ ของ
สิ่งมีชีวิต เช่น การเดิน พูด กิน หัวเราะ
พฤติกรรม (Behavior)
• พฤติกรรมภายนอก
• พฤติกรรมภายใน
สังเกตได้
สังเกตไม่ได้ตอ้ งอาศัย
(Overt Behavior)
เครื่องมือวัด
(Covert Behavior)
ทาไมต้องเรียนจิตวิทยา
มีอิทธิพลต่อชีวิตมน ุษย์ ตัง้ แต่เกิดจนตาย
 ตัง้ แต่วยั ทารก วัยเด็ก และวัยรนุ่ การอบรมเลี้ยงด ูเด็ก
เพื่อให้มีพฒ
ั นาการที่เหมาะสม
 วัยสูงอาย ุ เพื่อให้เห็นค ุณค่าในตัวเอง และได้รบั การ
ยอมรับจากสังคม
 วัยทางาน ท ุกอาชีพด้านต่าง ๆ การเมือง อ ุตสาหกรรม
การศึกษา ต้องเข้าใจการแสดงพฤติกรรมเพื่อการทางาน
ร่วมกันอย่างมีความส ุข
จิตวิทยา กับ ชีวิตประจาวัน
1. ช่วยให้เกิดความร ้ ู ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ
ของมน ุษย์ เช่น รว้ ู ่าอะไรเป็นความต้องการพื้นฐานของ
มน ุษย์ มน ุษย์เกิดความรส้ ู ึกอย่างไรเมื่อไม่สามารถสนองตอบ
ความต้องการของตนเองได้ และอะไรเป็นแรงผลักดันให้คน
แสดงพฤติกรรมต่างกัน
2. ช่วยในการปรับตัวและแก้ปัญหาทางจิตใจของ
ตนเอง เช่น รว้ ู ิธีรกั ษาส ุขภาพจิตของตนเอง รว้ ู ิธีเอาชนะปม
ด้อย วิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้ง และขจัดความวิตก
กังวลต่าง ๆ ได้
3. ช่วยให้เกิดการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและผูอ้ ื่นได้ดี
ขึ้น สามารถเข้าใจและรจ้ ู กั ปรับตัวเองให้เข้ากับผูอ้ ื่น
ความเกี่ยวข้องกับศาสตร์ต่างๆ
จิตวิทยาและมน ุษยวิทยา
จิตวิทยาและสังคมวิทยา
จิตวิทยาและสรีรวิทยา
จิตวิทยาและ
เศรษฐศาสตร์และ
รัฐศาสตร์
ศึกษาด้าน
พฤติกรรมมน ุษย์
ศึกษาด้านธรรมชาติและ
พฤติกรรมมน ุษย์
ศึกษาความผิดปกติของ
ร่างกายมีผลต่อจิตใจ
ศึกษาพฤติกรรมมน ุษย์
ด้านการจัดการทรัพยากร
และการบริหารการปกครอง
เป้าหมายของจิตวิทยา
การบรรยายพฤติกรรม และกระบวนการทางจิต
การอธิบาย หรือ ตอบคาถามสาเหต ุของการ
เกิดพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต
การทานาย หรือการคาดการณ์พฤติกรรมที่จะ
เกิดขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์จากเหต ุการณ์ที่
ผ่านมาสังเกตพฤติกรรม และกระบวนการทางจิต
การเปลี่ยนแปลงหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เพื่อให้เกิดความเหมาะสม
วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา
• การทดลอง (The Experimental Method)
• การหาความสัมพันธ์ (The Correlational
Method)
• การสารวจ (The Survey Method)
• การศึกษารายกรณี (The Case
Study)
การทดลอง
การค้นหาสาเหต ุ และผล
ที่เกิดขึ้น กาหนดตัวแปร
ทดลอง ตัวแปรควบค ุม
• ข้อดี ควบค ุมตัวแปรได้
และสร ุปเหต ุและผลได้
ชัดเจน
• ข้อเสีย ยากที่จะ
นามาใช้กบั สภาพ
ความเป็นจริง
การหาความสัมพันธ์
การหาความสัมพันธ์
ศึกษาความเกี่ยวข้อง
ระหว่างตัวแปร 2 ชนิด
ขึ้นไป
• ข้อดี ศึกษาพฤติกรรม
ตามสภาพความเป็น
จริงและบ่งชี้ความ
เกี่ยวข้องกับตัวแปรได้
• ข้อเสีย ไม่สามารถ
สร ุปความเป็นเหต ุ
เป็นผลได้ชดั เจน
การสารวจ
การสารวจ ศึกษาเชิง
ปริมาณ ศึกษาเชิงกว้าง
และไม่เหมาะกับการ
ทดลอง เช่น ทัศนคติ
ค่านิยม ความเห็น
• ข้อดี ศึกษากับ
ประชากรที่มีจานวน
มาก และนาไปสู่
การศึกษาที่ละเอียด
• ข้อเสีย ข้อมูลอาจเกิดความ
ลาเอียงจากการสมุ่ ตัวอย่าง
หรือการตอบคาถามเพื่อให้
รส้ ู ึกว่าดี
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี เป็น
การศึกษาแบบเจาะจง
• ข้อดี ได้รายละเอียด
ข้อมูลอย่างลึกซึ้ง
• ข้อเสีย ไม่สามารถ
นาไปอ้างอิงได้ และไม่
สามารถสร ุปความ
เป็นเหต ุเป็นผลได้
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
Plato
ก่อน คริสตกาล 427-437
เพลโต
มน ุษย์แตกต่างไปจากสัตว์ตรงที่มน ุษย์
ประกอบด้วยจิต ( mind ) ซึ่งทาหน้าที่ใน
การสร้างแนวความคิด ( Idea )
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสต์กาล
อริสโตเติล
กล่าวถึงธรรมชาติและพฤติกรรมของมน ุษย์ในเชิง
ปรัชญามากกว่าแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
เรอเน เดคาด
• Rene Descartes (1596 – 1650)
ความสัมพันธ์ของร่างกาย(Body) กับจิต ( Mind ) ว่า
มน ุษย์ประกอบขึ้นด้วยร่างกายและจิต ทัง้ สองส่วนนี้จะ
ทางานเกี่ยวข้องกันโดย จิตทาหน้าที่สร้างภาพพจน์จาก
การทางานของร่างกาย การทางานของร่างกายจึงเป็นการ
ทางานตามแนวความคิดที่เกิดขึ้นในจิต
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
• John Locke (1632 –
1704)
บิดาจิตวิทยาแผนใหม่
จอห์น ล๊อค
เชื่อว่า ความรูส้ ึกตัว ( Conscious ) และ
สิ่งแวดล้อมเป็นตัวที่มีอิทธิพลต่อจิต
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
Johannes Muller 1801-1858
เป็นบิดาของการทดลองทางสรีรวิทยา
และวางหลักการต่าง ๆ ทางสรีรวิทยาที่
โจแฮน มุลเลอร์
นามาใช้กบั วิชาจิตวิทยา
กล่าวถึงระบบประสาท การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ และ
ปัจจัยทางด้านสรีรวิทยา เกี่ยวข้องกับการฟัง การ
มองเห็น และประสาทสัมผัสอื่น ๆ
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
• Gustav T. Fechner
ได้กาหนดระเบียบและวิธีการทดลอง
( Experimental method)ได้นาเอา
ก ุสตาฟ เฟชเนอร์
ความรูค้ วามเข้าใจวิชาฟิสิกส์มาใช้ใน
การทดลองค้นคว้าวิชาจิตวิทยา ซึ่ง
เรียกว่าไซโคฟิสิกส์
( Psychophysics)
ยังไม่ได้รบั การ
ยอมรับว่าเป็น
วิทยาศาสตร์
สมบูรณ์
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
ิ
Charles Darwin 1809-1882 ชาร์ล ดาร์วน
ตัง้ ทฤษฎีวิวฒ
ั นาการขึ้น
กล่าวถึงกาเนิดของสิ่งมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงอย่างชนิด
เป็นไปทีละน้อยจากสัตว์ชนั้ ต่ามาสูช่ นั้ สูง และขึ้นมาสูม่ น ุษย์
เกิดสาขาจิตวิทยาเปรียบเทียบ
(Comparative Psychology)
เชื่อเรื่อง
วิญญาณลดลง
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
Francis Galton 1822-1911
ิ แกลตัน
ฟรานซส
ได้ตงั้ กฎขึ้นมาว่าความโง่ ความฉลาดของคนเรา
เป็นสิ่งที่ถ่ายทอดกันได้จากพ่อแม่และบรรพบ ุร ุษ
ให้แนวคิดเรื่องกรรมพันธแุ์ ก่จิตวิทยาแผนใหม่ และเป็นผูค้ ิด
สูตรสถิติการหาค่าสหสัมพันธ์ (Correlation
Coefficient)
เพื่อวัดความแตกต่างระหว่างบ ุคคล
บ ุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา
• Wilhelm Wundt 1832-1920
วิลเฮลม์ วน้ ุ ท์
“บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง”
ผูใ้ ห้กาเนิดห้องปฏิบตั ิการหรือห้องทดลอง ทางจิตวิทยา
( Psychological Laboratory)
เป็นแห่งแรก
บุคคลสาคัญทีเ่ กีย
่ วข ้องกับจิตวิทยา
James McKeen Cattell
1860-1944
เจมส์ แมคคีน แคทเทลล์
ศึกษาถึ งจิ ตสานึกของบคุ คลที่ มีต่อภาพที่ มาเร้า ทันที่ ทนั ใด
แต่ แ คทเทลล์มี ค วามเห็ น แตกต่ า งว่ า ควรจะท าการวัด
ระยะเวลาที่ ผเ้ ู ข้ารับการทดลองได้แสดงการตอบสนองแก่
ภาพที่ ม าเร้า เรี ย กว่ า การทดลองปฏิ กิ ริ ย ากั บ เวลา
(Reaction –Time-Experiment) ซึ่งใน
ชีวิตประจาวันของมน ุษย์จะมีบ่อยครัง้ ที่ตอ้ งเผชิ ญกับเวลาที่
ต้องแสดงปฏิกิรยิ าออกมาทันที
บุคคลสาคัญทีเ่ กีย
่ วข ้องกับจิตวิทยา
Hermann Ebbinghaus 1850-1909
ค ้นคว ้าเรือ
่ งความจา (Memory)
นามาปรับปรุงการทดลองใน
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารเกีย
่ วกับการ
เรียนรู ้และความจาของมนุษย์
เฮอร์แมน เอบบิงเฮาส ์
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
แนวคิดด้านสรีระจิตวิทยา
(The Psychophysiological perspective)
เน้นความสัมพันธ์ระหว่างการ
ทาหน้าที่ของสมองและระบบ
ประสาทกับพฤติกรรม
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
แนวคิดทางจิตวิเคราะห์ (The Psychodynamic Perspective)
ซิกมันด์
เชื่ อว่ า พ ฤติ ก รร มข อง ม น ษุ ย์ เ กิ ด ขึ้ น
ฟรอยด์
เนื่ องจากแรงขับ แรงจูงใจ หรือพลังงาน
(Sigmund
ภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับจิ ตใต้
Freud,
สานึก ( Unconsciousness)
18561939)
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
(ต่อ)
แนวคิดทางจิตวิเคราะห์
(The Psychodynamic Perspective)
และฟรอยด์ไ ด้พ ัฒ นาทฤษฏี ท างบ คุ ลิ ก ภาพที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
ลักษณะสาคัญ ๆ คือ 1) ภาวะจิตใต้สานึก 2) โครงสร้าง
บ ุคลิกภาพที่ประกอบด้วย อิด (id)
อีโก (ego)
และ
ซ ุปเปอร์อีโก (superego) และ 3) พัฒนาการแต่ละขัน้
ตัง้ แต่วยั เด็ก
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
แนวคิดด้านพฤติกรรมนิยม
(The Behavioral Perspective)
เชื่ อ เรื่ อ งพฤติ กรรมภายนอกที่
นักจิตวิทยากลมุ่ นี้ได้แก่
• สกินเนอร์ (B.F.
Skinner)
สังเกตเห็ น และเชื่ อว่ า พฤติ กรรมมี
ส า เ ห ต ุ ม า จ า ก เ งื่ อ น ไ ข ท า ง
สิ่งแวดล้อม
• วัตสัน
(J.B.Watson)
• พาฟลอฟ (Ivan
Pavlov)
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
แนวคิดด้านความคิดนิยม
(The Cognitive Perspective)
เน้นที่การคิด และการร ้ ู พฤติ กรรม
ต่ า ง ๆ เกิ ด จากกระบวนการคิ ด
ของบคุ คล ดังนัน้ การปรับเปลี่ ยน
ว ุนดท์ (Wilhelm
Wundt)
และเจมส์ (William
James)
พฤติ กรรมจึ งต้องเกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด
แนวคิดจิตวิทยาสมัยใหม่
แนวคิดกลมุ่ มน ุษย์นิยม(The Humanistic Perspective)
เชื่ อ ว่ า มน ษุ ย์มี อิ ส ระทางความคิ ด ที่
สามารถเลื อ กแสดงพฤติ ก รรมได้
ม า ส โ ล ว์
(Abraham
Maslow)
การแสดงพฤติ ก รรมใด ๆ จึ ง เป็ น
แ ล ะ ร อ เ จ อ ส์
ทางเลื อ กของบ คุ คล ซึ่ ง ท กุ คนมี
ศักยภาพในการเจริญงอกงาม
(Carl Rogers)