การหยุดความคิด - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

Download Report

Transcript การหยุดความคิด - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

กระบวนการสู่การเสพยา
ตัวกระตุ้น
ความอยากยา
ความคิด
การเสพยา
ตัวกระตุ้นคืออะไร
ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรมที่
เคยเสพยา เช่น ยาเสพติด บุคคล (กลุ่มเพื่อน)
สถานที่ สิ่งของ ความรู้สกึ และเวลา ฯลฯ
เป็ นสาเหตุจะกระตุ้น
ให้ เกิดการอยากยาได้
การหยุดความคิด
สิ่งสาคัญคือผู้ป่วยต้ องหยุดความคิดทันทีที่ร้ ูว่า
เกิดความคิดเรื่ องเสพยาซึง่ ในโปรแกรมเมทริกซนี ้จะ
มีวิธีการสอน และฝึ กฝนผู้ป่วยให้ ร้ ูจกั กับเทคนิคการ
หยุดความคิดอย่างเป็ นขันตอน
้
ค่ าใช้ จ่าย ฟรี ตลอดระยะเวลาการบาบัดรั กษา
ระยะเวลาการบาบัดรั กษา
การรักษาใช้ ระยะเวลาทังหมด
้
4 เดือน
(สัปดาห์ละ 1 ครัง้ ระยะ 1 เดือน)
(2 สัปดาห์ 1 ครัง้ ระยะ 3 เดือน)
การนัดหมาย (วัน,เวลาราชการ)
ทุกวันอังคารและพฤหัสบดี
เวลา 08.30-12.00 น.
เรายินดีและพร้ อมเสมอ
ทีจ่ ะช่ วยท่าน
และครอบครัว
ความคิดที่ทาให้ เกิดอาการอยากยา
ความอยากยาไม่ได้ ปรากฏอย่างตรงไป
ตรงมาทันทีทนั ใด บางครัง้ ความคิดถึงขบวน
การเสพยามีผลให้ อยากยา ดังนันการที
้
่ปล่อย
ตนเองให้ คิดเกี่ยวกับการเสพยาอย่างต่อเนื่อง
อาจมีผลให้ ผ้ ปู ่ วยเลือกที่จะกลับไปใช้ ยาอีก
นฤมล : พิมพ์/ออกแบบ
งานเวชนิทศั น์และโสตทัศนศึกษา โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร. (055) 411064 ต่อ 462,454
ด้วยความปรารถนาให้ท่านมีสุขภาพดี
จาก
คลินิกแสงส่องใจ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร. (055) 411064 ต่อ 321, 322
โมดิฟายด์ เมทริกช โปรแกรม
คืออะไร
เป็ นโปรแกรมบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดแอมเฟตามิน
(ยาบ้ า) แบบผู้ป่วยนอกของ รพ.อุตรดิตถ์ เพื่อปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมในช่วง 4 เดือนแรก ของการหยุด
เสพยา โดยมีการคัดเลือกปรับปรุงองค์ประกอบ
หลักของการบาบัดรักษา แบบเมทริกซ โปรแกรม
เต็มรูปแบบเพื่อให้ เหมาะสมกับสภาพผู้รับการบาบัด
รักษาที่มีปัญหา เรี่ องการเดินทาง เวลาและอาชีพฯ
มีองค์ประกอบหลักของการบาบัดดังนี ้ 4 หัวข้ อ คือ
1. การฝึ กทักษะในการเลิ กยาระยะต้น
2. การป้ องกันการหวนกลับไปใช้ยา
3. การให้ความรู้แก่ครอบครัว
4. กลุ่มกิ จกรรมเพือ่ นช่วยเพือ่ น
จุดเด่ นของโมดิฟายด์ เมทริกซ
โปรแกรม
1. เป็ นการบาบัดรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ไป–กลับ)
ผู้ป่วยไม่ต้องนอนพักรักษาใน รพ.อุตรดิตถ์
2. เป็ นการผสมผสานวิธีบาบัดรักษาที่หลากหลาย
(กาย จิต สังคม) โดยมุง่ เน้ นให้ ผ้ ปู ่ วยได้ ตระหนัก
รู้ในตนเอง มีคมู่ ือพร้ อมหัวข้ อในการบาบัด และ
สนทนา ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาม
สภาพผู้ป่วย ปั ญหาและความต้ องการของผู้รับ
การบาบัด (10 ครัง้ 26 กิจกรรม )
โรคสมองติดยา
สมองติดยาได้ อย่ างไร ?
การติดยาเป็ นกระบวนการการต่อเนื่องที่เกิดขึ ้นทีละ
น้ อยจากการใช้ ยาเป็ นครัง้ คราวสูก่ ารใช้ ถี่ขึ ้น จนใช้ ทกุ วันๆ
ละหลายครัง้ เกี่ยวข้ องกับสมอง 2 ส่วน คือ สมองส่วนบน
และสมองส่วนล่าง สมองส่วนบนทาหน้ าที่คดิ ด้ วยสติปัญญา
ใช้ ความคิดแบบมีเหตุผล สมองส่วนล่างเป็ นศูนย์ควบคุม
อารมณ์ ความรู้สกึ ยาบ้ า หรื อแอมเฟตามิน จะกระตุ้นปลาย
ประสาทในสมองให้ สง่ สารเคมีมาชนิดหนึง่ ทาให้ เกิดความ
รู้สกึ สบาย แต่ในขณะเดียวกันเมื่อใช้ ยาบ้ าบ่อยๆ ครัง้ จะ
ทาให้ สมองส่วนบนถูกทาลาย การใช้ ความคิดที่เป็ นเหตุ
เป็ นผลก็จะสูญเสียไป ผู้ที่ใช้ ยาบ้ าจึงมักแสดงพฤติกรรมที่
ไม่เหมาะสม มีอารมณ์ ก้ าวร้ าว หงุดหงิด ไม่สามารถ
ควบคุมตนเองได้ จึงทาให้ มีการใช้ ยาเสพติดบ่อยขึ ้น
ผลสุดท้ ายจะทาให้ มีอาการทางจิตและเป็ นโรคจิตเต็มขัน้
(บ้ า) ได้ ในที่สดุ
ทาอย่ างไรให้ หายจากโรคสมองติดยา
มีทางเดียวเท่ านั้นคือ หยุดใช้ ยาเสพติดทันที !
สมองมีโอกาสฟื น้ ตัวได้ เมื่อหยุดใช้ ยาเสพติด หาก
สมองยังไม่ถกู ทาลายอย่างถาวร (บางส่วน) การหยุด
ใช้ ยาเสพติดสามารถที่จะหยุดได้ ด้วยตนเอง หากมีความ
ตังใจสู
้ ง และสภาพแวดล้ อมเอื ้ออานวยแต่ปัญหา คือทา
อย่างไรที่ผ้ ปู ่ วยจะไม่หวนกลับไปใช้ ยาเสพติดอีก
กระบวนการบาบัดรั กษาแบบโมดิฟายด์
เมทริกซ โปรแกรม ประกอบด้ วย
1. การให้ คาปรึกษาแบบรายบุคคล
2. กลุม่ ฝึ กทักษะในการเลิกยาเสพติดระยะเริ่มต้ น
4 กิจกรรม
3. การป้องกันการหวนกลับไปใช้ ยา 16 กิจกรรม
4. การให้ ความรู้แก่ครอบครัว 6 กิจกรรม
5. กลุม่ กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน 4 กิจกรรม
ครอบครั วมีส่วนช่ วยอย่ างไรบ้ าง
พ่อ แม่ ญาติพี่น้อง หรื อบุคคลใกล้ ชิดต้ องเข้ าใจถึง
บทบาทหน้ าที่ของทุกคนในครอบครัวให้ มีความหมาย
ต่อกันในเรื่ องการช่วยเหลือเกื ้อกูล และทาให้ ทกุ คนมี
ความสุข ความสาเร็จในการบาบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพ
ติดจะเพิ่มสูงขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั เจน หากสมาชิกใน
ครอบครัวได้ รับความรู้ ความเข้ าใจ และมีสว่ นร่วมใน
กระบวนการบาบัดรักษาไปพร้ อมๆ กัน