ทฤษฎีหน้าต่าง โจฮารี - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Download Report

Transcript ทฤษฎีหน้าต่าง โจฮารี - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สั มพันธภาพที่ดีในองค์ กร
อ.ภัทรวิทย์ ธีรภัคสิ ริ
คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กิจกรรมก่อนเรี ยน
วาดภาพคน ให้มีองค์ประกอบครบ ให้มี หัว ตัว แขน ขา
โดยให้ ใช้องค์ประกอบเหล่านี้
โดยมีองค์ประกอบเหล่านี้ในภาพไม่เกิน 10 ชิ้น
เฉลย จานวนขององค์ประกอบ คูณ ด้วย 10 เท่ากับจานวน % ในแต่ละด้าน
โดย
สามเหลี่ยม หมายถึง เรื่ องงาน
สี่ เหลี่ยม หมายถึง เรื่ องเงิน
วงกลม หมายถึง เรื่ อง SEX
“ ผูกสนิทชิดเชื้อนีเ้ หลือยาก
ถึงเหล็กฟากผูกไว้ กไ็ ม่ มนั่
จะผูกด้ วยลงเสกเลขลงยันต์
ไม่ เหมือนพันผูกไว้ ด้วยไมตรี ”
(สุ นทรภู่)
ท่ านเห็นอะไรบ้ าง
คิดอย่ างไรกับสิ่ งทีเ่ ห็น
ปรัชญาง่ายๆ ในการทางาน
ปรัชญาของมด
ปรัชญาของมด
ปรัชญาที่ 1 มดไม่ เคยละความพยายาม
หากมันมุ่งหน้าไปทางทิศใด แล้วเกิดอุปสรรค = ถูกปิ ดกั้นหนทางมันจะ
พยายามหาทางเดินทางอื่น มันจะได้ข้ ึนไต่ลงไต่ไปรอบๆมันจะมองหา
หนทางอื่นเสมอ
ข้ อคิด จงอย่าละความพยายามในการหาหนทางไปสู่สิ่งที่หมายมาด
ปรัชญาของมด
ปรัชญาที่ 2 มดคิดถึงฤดูหนาวตลอดฤดูร้อน
มันไม่ เคยรักสบายจนคิดเพียงว่ าคิมหันต์ ฤดู จะคงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น มัน
จึงพยายามเก็บสะสมเสบียงไว้ สาหรับเหมันต์ ตลอดฤดูคมิ หันต์ หรรษา
ข้ อคิด จงตะหนักถึงความเป็ นจริง และเตรียมรับกับเหตุการณ์ ในอนาคต
ปรัชญาของมด
ปรัชญาที่ 3 มดคิดถึงฤดูร้อนตลอดฤดูหนาว
ท่ ามกลางความหนาวเหน็บแห่ งเหมันห์ มันจะเตือนตัวเองว่ า "ความลาบาก
จะอยู่เพียงไม่ นาน แล้วเราก็จะพ้นจากสภาวะเช่ นนี"้ เมื่อวันทีแ่ สงแห่ ง
ความอบอุ่นแรกสาดส่ อง มันจะออกมาเริงร่ า หากอากาศกลับกลายเป็ น
หนาวอีกครั้ง มันจะเข้ าไปในโพรงอีกครั้ง และออกมารับความอบอุ่นใน
วันอากาศดีโดยทันใด
ข้ อคิด จงมองทุกสิ่ งในเชิงบวกตลอดเวลา
ปรัชญาของมด
ปรัชญาที่ 4 ทุ่มเททุกสิ่ งเท่ าทีส่ ามารถ
มดสามารถเก็บเกีย่ วเสบียงตลอดฤดูร้อนเพือ่ เตรียมพร้ อมฤดูหนาวให้ มาก
เท่ าทีม่ ันจะทาได้
ข้ อคิด จงพยายามทาทุกสิ่ งทุกอย่ างเต็มกาลัง
มนุษยสั มพันธ์
มนุษยสั มพันธ์ : ศิลปศาสตร์ ในการเสริ มสร้าง
ความสัมพันธ์อนั ดีกบั บุคคล เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ความ
รักใคร่ นับถือ การยอมรับ ฯ
มนุษยสั มพันธ์ ในการทางาน : ศิลปศาสตร์
ในการ
เสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั บุคคลต่างๆ เพือ่ มุ่งให้
เกิดความร่ วมมือร่ วมใจ ทาให้งานนั้น สาเร็จตาม
ความมุ่งหมาย
ลักษณะบุคคลทีม่ สี ั มพันธภาพไม่ ดี
• คิดถึงแต่ ตนเอง
• ไม่ ใส่ ใจและไม่ เข้ าใจผู้อนื่
• ไม่ มที กั ษะในการสื่ อสารหรือมีการแสดงออกในทางลบ
องค์ ประกอบในการสร้ างมนุษยสั มพันธ์ ในการทางาน
1. การเข้ าใจธรรมชาติของมนุษย์ กายภาพ จิตใจ
2. การรู้ จักตัวเอง วิเคราะห์ตวั เองได้อย่างตรงไป ตรงมา
3. การรู้ จักและเข้ าใจผู้อนื่ ประเภทของคน
4. การรู้ และเข้ าใจสภาพแวดล้ อมในการสร้ าง มนุษยสั มพันธ์
การเข้ าใจตนเอง (Self - Perception)
1.
2.
3.
4.
พฤติกรรมเปิ ดเผย
พฤติกรรมซ่อนเร้น
พฤติกรรมบอด
พฤติกรรมใต้สานึก
ตนเองรู้ ผูอ้ ื่นรู้
ตนเองรู ้ ผูอ้ ื่นไม่รู้
ตนเองไม่รู้ ผูอ้ ื่นรู ้
ตนเองไม่รู้ ผูอ้ ื่นไม่รู้
ทฤษฎีหน้ าต่ างโจฮารี
ตนเองรู้
ตนเองไม่รู้
ผูอ้ ื่นรู้
(OPEN)
ส่ วนที่เปิ ดเผย
(BLIND)
ส่ วนทีเ่ ป็ นจุดบอด
ผูอ้ ื่นไม่รู้
(HIDDEN)
ส่ วนซ่ อนเร้ น
(UNKNOWN)
ส่ วนลึกลับ
เปรี ยบเหมือนหน้าต่าง 4 บาน เรี ยกว่า “หน้าต่างหัวใจ”
1. ส่ วนที่เปิ ดเผย พฤติกรรมภายนอกแสดงออก
2. ส่ วนที่เป็ นจุดบอด ตนเองแสดงออกไม่รู้ตวั
3. ส่ วนซ่อนเร้น เป็ นความลับส่ วนตัว ซ่อนไว้ในใจ
4. ส่ วนลึกลับ บุคคลแสดงออกโดยไม่รู้ตวั
ทฤษฎีหน้ าต่ างโจฮารี
ช่ องที่ 1 พฤติกรรมเปิ ดเผย (Open) หมายถึง พฤติกรรมที่เรารู้และเรากล้าที่
จะบอกกับคนอื่น และคนอื่นก็รู้วา่ เรามีพฤติกรรมแบบใด เช่น เรารู ้วา่ มีกลิ่นตัวแรง
เราบอกกับเพื่อนให้รับทราบ เมื่อเพื่อนทราบแล้วเพื่อนจะให้คาแนะนาในการรักษา
ไม่ให้มีกลิ่นตัวแรง พฤติกรรมเช่นนี้เป็ นการเปิ ดเผยตนเองให้คนอื่นทราบ จะทาให้
เกิดมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ช่ องที่ 2 พฤติกรรมบอด (Blind) หมายถึงพฤติกรรมที่เราไม่รู้ตวั ว่าเรามี
ข้อบกพร่ องด้านใด เช่น ไม่รู้ตวั ว่ามีกลิ่นตัวแรง เมื่อเราเดินไปพบปะสนทนา หรื อ
ขอความช่วยเหลือจากใคร จะทาให้คนอื่นรู ้สึกรังเกียจเรา เมื่อเป็ นเช่นนี้เราจะมี
บุคลิกภาพที่ดอ้ ยค่าลง ไม่มีใครอยากคบค้าสมาคมด้วย
ทฤษฎีหน้ าต่ างโจฮารี
ช่ องที่ 3 พฤติกรรมซ่ อนเร้ น (Hidden) หมายถึง พฤติกรรมที่เรารู้ตวั
ตลอดเวลาว่าเรามีขอ้ บกพร่ องด้านใด เช่น เรารู ้วา่ มีกลิ่นตัวแรง แต่คนอื่นไม่รู้ เรา
จึงพยายามซ่อนเร้นพฤติกรรมของเราโดยการเก็บตัว หรื อเฝ้ าระมัดระวัง
หวาดระแวง กลัวว่าคนอื่นจะรู ้ จึงทาให้เราต้องลาบากใจในการมีปฏิสมั พันธ์กบั
คนอื่น
ช่ องที่ 4 พฤติกรรมไม่ ร้ ู (Unknown) หมายถึง พฤติกรรมที่ท้ งั ตัวเรา และ
บุคคลอื่นก็ไม่รู้ เช่น เราไม่รู้ตวั เรามีกลิ่นตัวแรง และคนอื่นก็ไม่รู้เช่นกัน ลักษณะนี้
ย่อมไม่เป็ นที่ลาบากใจแก่ใคร แต่มีขอ้ เสี ยคือขาดการปรับปรุ งบุคลิกภาพ หรื อมี
บุคลิกภาพไม่ดี โดยเจ้าตัวไม่รู้ตวั และอาจเกิดผลเสี ยต่อสุ ขภาพร่ างกายในด้านการ
ติดเชื้อโรคในจุดที่ทาให้เกิดกลิ่นตัวได้
ทฤษฎีหน้ าต่ าง โจฮารี
เมื่อบุคคลได้ตระหนักรับรู้ภาพพจน์ตนเองจากทฤษฎีตนเองจากหน้าต่าง โจ
ฮารี แล้ว จะทาให้บุคคลได้รับความรู ้น้ นั มาวิเคราะห์และปรับปรุ งตนเองได้ถูกต้อง
เพื่อให้มีพ้นื ที่ของหน้าต่างช่องที่ 1 มากที่สุด (เป็ นช่องที่เปิ ดเผยบุคลิกภาพให้คน
อื่นทราบ) นอกจากนี้ยงั ทาให้บุคคลได้เข้าใจและวิเคราะห์พฤติกรรมคนอื่นได้ เมื่อ
บุคคลเข้าใจตนเองและเข้าใจบุคคลอื่นแล้วย่อมทาให้เกิดการสามารถประสาน
สัมพันธ์ หรื อเกิดมนุษยสัมพันธ์อนั ดีให้เกิดขึ้นได้ โดยมีการยอมรับข้อดีของกัน
และกันและทาให้ละเลยข้อบกพร่ องของคนอื่นซึ่ งจะทาให้สามารถคบหาสมาคม
หรื อร่ วมงานกับบุคคลอื่นได้ดีและเกิดประสิ ทธิ ภาพในการทางานต่อไป
การเรียนรู้ ผู้อนื่
การเรียนรู้ ทฤษฎีลกั ษณะพฤติกรรมของแต่ ละบุคคล
การเรียนรู้ ทฤษฎีการติดต่ อสื่ อสารของบุคคล
การเรียนรู้ พฤติกรรมทีม่ ีผลกระทบต่ อผู้อนื่
ทัศนะต่ อตนเองและผู้อนื่
ทัศนะต่ อตนเองและผู้อนื่
1.
2.
3.
4.
I’m not O.K., you’re O. K
I’m O.K., you’re not O. K
I’m not O.K., you’re not O. K
I’m O.K., you’re O. K
เทคนิคการสร้ างมนุษยสั มพันธ์ ในการทางาน
หลักสาคัญ
- มนุษยสัมพันธ์เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งทาด้วยความจริ งใจ
- คนอื่นต่างก็มีความสาคัญด้วยกันทั้งสิ้ น
- ต้องเริ่ มต้นด้วยการปรับปรุ งตนเองก่อน
- ไม่ตอ้ งรอให้ใครมา “ทาดี” กับเราก่อน แต่เราต้อง “ทา
ดี” กับคนอื่นทันที
แนวปฏิบัติ
- ยิม้
- เห็นใจ ให้ อภัย
- จาชื่อ สกุลคนให้ แม่ น
- กล่าวคาขอบคุณ ขอโทษ
- ชมเชย ยกย่ องผู้อนื่ เมื่อเขา ทา
ดี
- เมื่อทาผิด รับผิดอย่ างเต็มใจ
-
เป็ นนักฟังทีด่ ี
ให้ เกียรติผู้อนื่ และสุ ภาพอ่อนโยน
รู้คุณคน
พยายามช่ วยเหลือผู้อนื่ เท่ าที่ทาได้
หลีกเลีย่ งการตาหนิ นินทา
ทาให้ ผู้อนื่ เสี ยหน้ า
- ฯลฯ..........
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ถ้ ารู้ดี
เตรียมตัวไว้
พูดทั้งที
แต่ งกายนั้น
ปรากฏโฉม
ไม่ ต้องเกร็ง
สบตาบ้ าง
ภาษาซึ่ง
นา้ เสี ยงไซร้
อย่ าให้ ขาด
ก็พูดได้ ศิลปการพูดมนุษยสั มพันธ์ ที่ดี
ก็พูดดี
ต้ องเชื่อมั่น
ต้ องเหมาะสม
กระฉับกระเฉง
ใช้ ท่าทาง
อย่ างทัว่ ถึง
เข้ าใจง่ าย
เป็ นธรรมชาติ
รูปธรรม
สรุปผล และสั งเคราะห์
หากท่านมีปัญหากับเพื่อนร่ วมงานในเรื่ องของงาน
ท่านจะนาความรู ้ดา้ นมนุษยสัมพันธ์แก้ปัญหา
ระหว่างท่านกับเพื่อนร่ วมงานได้อย่างไร
ขอสิ้ นสุ ดการบรรยายแต่เพียงเท่านี้
ขอบคุณครับ