การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

Download Report

Transcript การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ึ ษา
การวิจ ัยเพือ
่ พ ัฒนาคุณภาพการศก
“คนไทยด้วยกัน รักกัน และสามัคคีกนั ไว้”
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิต ฤทธิ์จร ูญ
วิทยาลัยการฝึกหัดคร ู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
4 กันยายน 2555
ขอบข่ายของการนาเสนอ
มโนทัศน์สาคัญ/แก่นวิจยั / กระบวนการวิจยั
วิธีการวิจยั เพื่อพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
ขอบข่ายและประเด็นการวิจยั เพื่อพัฒนาค ุณภาพ
การศึกษา
การใช้ผลการวิจยั เพื่อพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
การสร้างทีมงานวิจยั และส่งเสริมการวิจยั ใน
สถานศึกษา
กลย ุทธ์สค
่ ู วามสาเร็จในการวิจยั
แก่นแท้/หัวใจสาคัญ
ของการจัดการศึกษาและงานของ
ครูและสถานศึกษา ก็คือ
การเรียนรูแ้ ละค ุณภาพของผูเ้ รียน
ค ุณภาพการศึกษาอยูท่ ี่ไหน
ค ุณภาพการศึกษาอยูท่ ี่สถานศึกษา
ค ุณภาพการศึกษาอยูท่ ี่หอ้ งเรียน
ค ุณภาพการศึกษาอยูท่ ี่ตวั ผูเ้ รียน
คร ูเป็นผูส้ ร้าง/พัฒนาค ุณภาพการศึกษา
ผูบ้ ริหาร/สพม.เป็นผูอ้ านวยการสร้างค ุณภาพ
ผูเ้ รียน ผูป้ กครองและองค์กรต่างๆเป็นผูร้ บั ผล
ของค ุณภาพการศึกษา
ข้ อมูลสารสนเทศ
INFORMATION
ค่ านิยม
VALUE
นโยบายหน่ วยเหนือ
POLICY
ภาวะการตัดสิ นใจ
ของนักบริหาร
ทางเลือก
1
2
3
วิสัยทัศน์
VISION
ประสบการณ์
EXPERIENCE
นักบริหาร หรือ นักพัฒนา
ควรมีคุณสมบัตทิ สี่ าคัญ 2 ประการ
1. เป็ น Research Consumer (นักบริโภคงานวิจัย)
2. เป็ น Hypothesis Tester
นักทดลอง/นักวิจัย
นักตรวจสอบผลการทดลอง
นักตรวจสอบผลการดาเนินงาน
จ ุดเริม่ ต้นของการทาวิจยั
เรือ่ งเด่น ประเด็นร้อน:Hot Hit Issue
แหล่งกาเนิดเรื่องราว (แหล่งข้อมูล)
นโยบายของหน่วยเหนือ (ทัง้ ขึ้นทางด่วนและทางปกติ)
ข้อมูลผลการเรียนในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนร ้ ู
ข้อมูลผลการประเมินของ สมศ. ผลการทดสอบNT
เสียงสะท้อนจากคร ู นักเรียน ผูป้ กครองและช ุมชน
ความคิด ความเชื่อและประสบการณ์ของผูว้ ิจยั
คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของท่าน
มีอาการหนักเรือ่ งใดบ้าง:Hot Hit Issue
-หลักสูตรสถานศึกษาไม่ Work
-คร ูสอนไม่เป็น...ไม่ตงั้ ใจสอน...
-นักเรียนไม่รกั การอ่าน ไม่ใฝ่เรียนร ้ ู
-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า
-การคิด วิเคราะห์...เจาะไม่ถึงเกณฑ์
-ค ุณลักษณะที่พึงประสงค์..ยังไม่พึงประสงค์อีกเยอะ
คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของท่าน
มีอาการหนักเรือ่ งใดบ้าง
-คร ูและบ ุคลากรไม่เพียงพอ
-คร ูสอนไม่ตรงตามว ุฒิ/วิชาเอกที่จบมา
-คร ูมีภาระงานอื่นเยอะทางานท ุกอย่าง
(ยกเว้นงานสอน)
-คร ูขาดทักษะการจัดการงานและชีวิต
--คร ูเป็นโรคเบื่องาน ( และเบื่อผูบ้ ริหาร )
....จ้องจะออกก่อนเกษียณอาย ุราชการ
-ครู/ผูบ้ ริหารขาดภาวะผูน้ าทางวิชาการ
คิดไม่ เป็ น
เล่ นมากกว่ าเรียน
เตือนแล้ วย้ อน
สอนไม่ ฟัง
ลูกศิษย์ ของท่ าน
มีอาการอย่ างนีบ้ ้ างไหม
สั่ งไม่ ทา
จาแต่ เรื่องไร้ สาระ
มักจะเป็ นชาวเกาะ
ไม่ เสาะแสวงหาความรู้ เพิม่
ความรู้ เดิมมีน้อย
คอยแต่ ลอกงานเพือ่ น
อ่ าน เขียนไม่ ได้
ไร้วินยั
ใจไม่สู ้
เรียนรูไ้ ม่เป็ น
เขม่น-เล่นกันรุนแรง
ลูกศิษย์ของท่าน
มีอาการอย่างนี้บ้างไหม
ไม่แบ่งปั นกัน
สัมพันธภาพไม่ดี
ไม่มีความสุข
ติดยุคแฟชั ่น
จัดสรรเวลาไม่เป็ น
เล่นแต่เกมออนไลน์
ใช้จา่ ยฟุ่ มเฟื อย
ความหมายของการวิจยั
การวิจัย
Research
Research (recherche) = search again
วิจยั : วิจโย = ปัญญา
การใช้ปัญญา
ทาให้เกิดปัญญา
การวิจยั : การเปลี่ยนปัญหา ให้เป็นปัญญา
โดยใช้กระบวนการทางปัญญา
การวิจยั มีความหมาย 4 ระดับ
1. การค้นหาความจริง
2. การค้นหาสิ่งที่ดี สิ่งที่ตอ้ งการ สิง่ ที่เป็น
ประโยชน์
3. การค้นหาทางที่จะทาให้ดี หรือหาวิธีการที่จะ
ทาให้ดีและ
4. การหาวิธีที่จะทาให้สาเร็จ
การวิจยั คือ การเปลี่ยนปัญหาให้เป็นปัญญา
( พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปย ุตฺ โต. 2525 : 5,27)
การวิจยั เพื่อพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้
ความจริง แนวคิด วิธีการ หรือ
นวัตกรรมเพื่อนาไปใช้ในการ
พัฒนาค ุณภาพการศึกษา
Research Issue
Research
Utilization
Research
Results
แก่นวิจยั
Research
Question
Research
Methodology
Research Question
คาถามวิจยั /โจทย์วิจยั
ประเด็นข้อสงสัย หรือประเด็นข้อเท็จจริง
ที่ผว้ ู ิจยั อยากรูแ้ ละต้องการค้นหาคาตอบโดย
ใช้วิธีการ/กระบวนการวิจยั
(วิธีการที่เป็นระบบ มีแบบแผนและเชื่อถือได้ )
เรือ่ งเด่น ประเด็นร้อน
ภาพรวมในระดับประเทศมีขอ้ มูลบ่งชี้ว่า...
เยาวชน คนไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ
อ่านหนังสือน้อยมากโดยเฉลี่ยวันละ 8 บรรทัด
ปีละ 2 เล่ม
สภาพจริงในโรงเรีย่ นของท่าน นักเรียนอ่านหนังสือ
มากน้อยเพียงใด
ทาไมนักเรียนจึงไม่รกั การอ่านและที่อ่านเพราะเหต ุใด
และจะทาอย่างไร(จึงจะ)ดี
Research Issue:
1. นักเรียนอ่านหนังสือน้อยมาก คิดเป็นร้อยละ 11. 35
คาถามวิจยั 1.1 ทาไม 1.2 อะไร 1.3 จะทาอย่างไร
1.1 ทาไมนักเรียนจึงไม่รกั การอ่าน
1.2 มีปัจจัยอะไรบ้างที่สง่ เสริมและเป็นอ ุปสรรคต่อการ
เสริมสร้างนิสยั รักการอ่านของนักเรียน
1.3 ควรมีกลย ุทธ์ในการเสริมสร้างนิสยั รักการอ่านของ
นักเรียนอย่างไร
1.4 ควรจัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานิสยั
รักการอ่านของนักเรียนอย่างไร
ตัวอย่างชื่อเรื่องวิจยั
1. การวิเคราะปัจจัยเชิงสาเหต ุที่ทาให้นกั เรียนไม่รกั การ
อ่าน......
2. การวิเคราะห์ปัจจัยที่สง่ เสริมและปัจจัยที่เป็นอ ุปสรรค
ต่อการพัฒนานิสยั รักการอ่านของนักเรียน โรงเรียน ...
3. กลย ุทธ์ในการเสริมสร้างนิสยั รักการอ่านของนักเรียน
โรงเรียน.....
4. โครงการตามล่าหาความรเ้ ู พื่อเสริมสร้างนิสยั รักการ
อ่านของนักเรียน .......
เจาะเรือ่ งเด่น ประเด็นร้อน
2. นักเรียนและเยาวชน...ขาดความรร้ ู กั สามัคคี มี
แนวโน้มที่จะก่อเหต ุทะเลาะวิวาท
๐ การวิเคราะห์ปัจจัยสาเหต ุ/เสริมสร้าง..........
๐โครงการโรงเรียนต้นแบบ “รร้ ู กั สามัคคี”
๐ ร ูปแบบการเสริมสร้างความร ้ ู รัก สามัคคี.....
- เซฟ ที คัต ตัดก่อนตาย เตือนก่อนวายวอด:
ระบบและกลไกการป้องกันการก่อเหต ุทะเลาะวิวาท
..
เจาะเรื่องเด่น ประเด็นร้อน
3.นโยบาย “ค ุณธรรมนาความร”้ ู นาไปถึงไหนแล้ว
๐ กลย ุทธ์การนานโยบาย “ค ุณธรรมนาความร”้ ู สูก่ าร
ปฏิบตั ิในสถานศึกษา
- การติดตามผลการดาเนินงานตามนโยบาย
“ค ุณธรรมนาความร”้ ู ของโรงเรียน.....
๐ การวิจยั ประเมินผลนโยบาย “ค ุณธรรมนาความร”้ ู
จากเรือ่ งเด่น ประเด็นร้อน
อยากร/้ ู อยากค้นหา อยากสร้างหรือพัฒนาอะไร
Research
Question
จะร ้ ู จะค้นหา จะสร้างหรือพัฒนาได้อย่างไร
Research Methodology
Research Methodology : ระเบียบวิธีวิจยั
ระเบียบวิธีวจิ ัย (Research Methodology)
เป็นเครือ่ งมือของนักวิจยั ที่จะนามาใช้
ในการแสวงหาคาตอบของคาถามวิจยั
ที่ตงั้ ไว้
กรอบแนวคิดของการวิจัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปัญหาคุณภาพ
การศึกษา
ระเบียบวิธีวจิ ยั
การวิจยั เชิงบรรยาย
การวิจยั ปฏิบัตกิ าร
การวิจยั และพัฒนา
การวิจยั ประเมินผล
การวิจยั สถาบัน
การวิจยั เชิงนโยบาย
ตัดสิ นใจ
การพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ข้ อมูล
สารสนเทศ
จากการวิจัย
กาหนดนโยบาย
ปรับปรุง/พัฒนา
การเรียนการสอน
การบริหารศึกษา
ส่ งเสริมสนับสนุน
คุณภาพ
การศึกษา
คุณภาพ
ผู้เรียน/
สถานศึกษา
ตาม
มาตรฐาน
การวิจัยเชิงบรรยาย
Descriptive Research
กระบวนการที่มง่ ุ ศึกษาปรากฏการณ์ในปัจจุบนั
(What is) เกี่ยวกับ
- ข้อเท็จจริง / สถานภาพ
- การเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ
โดยอาศัยวิธีธรรมชาติหรือการสังเกต
ลักษณะสาคัญของการวิจัยเชิงบรรยาย
1. มุ่งศึกษา/บรรยายสภาพปัจจุบัน (What is) ของปรากฏการณ์
2. ไม่ มกี ารจัดกระทาหรือสร้ างสถานการณ์ ทตี่ ้ องทดสอบ
3. จุดเน้ นสาคัญ คือ วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลทีเ่ ชื่อถือได้ กบั
กลุ่มตัวอย่ างทีเ่ ป็ นตัวแทนของประชากร
4. ผลการวิจัยทีไ่ ด้ เป็ นผลทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ สามารถลง
ข้ อสรุปเป็ นข้ อความรู้ ทวั่ ไป(generalization)ได้ เป็ นอย่ างดี
กรณีตวั อย่างการวิจยั เชิงบรรยาย
สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาการ
จัดการเรียนการสอนที่สง่ ผลต่อการพัฒนา
ค ุณภาพผูเ้ รียนในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
( พิชิต ฤทธิ์จร ูญและคณะ. สกศ., 2551)
การวิเคราะห์กระบวนการพัฒนาการศึกษาของ
โรงเรียนภายหลังการประเมินภายนอกรอบแรก
( ส ุวิมล ว่องวานิชและคณะ. สกศ.,2552)
การวิจัยประเมินความต้ องการจาเป็ น
(Needs Assessment Research : NAR)
มุ่งให้ ได้ ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับความต้ องการจาเป็ นของ
ผู้เรียน ครู โรงเรียน ชุมชน
การศึกษาสภาพปัญหาทีย่ งั ไม่ บรรลุเป้าหมายทีต่ ้ องการ
การวิเคราะห์ สาเหตุทที่ าให้ เกิดปัญหา/ความต้ องการจาเป็ น
การวิจัยเพือ่ กาหนดทางเลือกหรือแนวทางการแก้ ปัญหา/
สนองตอบความต้ องการจาเป็ น
การวิจัยเพือ่ กาหนดแผนงาน โครงการ
การวิจัยปฏิบัติการ
( Action Research : AR)
1. การวิจัยทีม่ ่ ุงเน้ นการแก้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ขององค์ กร
2. ผู้ปฏิบัตงิ านคือนักวิจัยซึ่งอยู่ในองค์ กรหรือชุมชนทีก่ าลัง
เผชิญสภาพการณ์ ปฏิบัตงิ านทีเ่ ป็ นปัญหา
3. เป้าหมายของ AR คือ
(1) เพือ่ แก้ ปัญหา
(2) เพือ่ ปรับปรุงการปฏิบัตงิ าน
Action Research : AR
4. สิ่ งสาคัญทีแ่ ฝงอยู่ในกระบวนการของ AR คือ
Participation & Collaboration
5. การมีส่วนร่ วมใน AR คือ การร่ วมกันตระหนักต่ อ
ปัญหา วางแผน ตัดสิ นใจ ลงมือปฏิบัติ สะท้ อนตัวเอง
(reflection)และรู้สึกเป็ นเจ้ าของ
การวิจยั ปฏิบตั ิการทางการศึกษา
(Educational Action Research : EAR )
ใช้ฐานความคิดมาจากการวิจยั ปฏิบตั ิการ
(action research) มุ่งนาผลการวิจยั ไปใช้
แก้ปัญหา หรือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู ้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาหรือหน่วยงาน
ทางการศึกษา
การวิจยั ปฏิบตั ิการในชัน้ เรียน
(Classroom Action Research : CAR)
การวิจยั ที่ทาโดยครู-อาจารย์เพื่อ
พัฒนาการ เรียนการสอน(Hopkins,1985)
เป็นกระบวนการวิจยั ที่ครูทาการทดลอง
วิธีการต่างๆ โดยตรวจสอบผลและปรับวิธีการ
ที่ใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิผลกับผูเ้ รียนมากที่ส ุด
(Mclean,1995)
การวิจัยและพัฒนา
Research and Development : R&D
มโนทัศน์
การพัฒนาการศึกษาโดยใช้
การวิจัยเป็ นฐาน / กลยุทธ์
เพือ่
หรือวิธีการ(Research
Based Educational
Development)
ปรับปรุง เปลีย่ นแปลง
หรือพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
การวิจยั และพัฒนา ( R & D )
กระบวนการพัฒนาและ
ตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์(Product)
สิ่งประดิษฐ์( Invention)
ร ูปแบบ/วิธีการ
(Instruction/Method
)
เป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนางานวงวิชาการ
หรือวงวิชาชีพ
ลักษณะของผลงาน R &D
1.สิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ทางการศึกษา
- สื่อ อ ุปกรณ์การเรียนการสอน
- ช ุดฝึกอบรมด้วยตนเองสาหรับคร ู
- ช ุดกิจกรรมพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู.้ ..
- ช ุดการนิเทศทางไกลเพื่อพัฒนาสมรรถนะคร ู
ด้าน......
- CAI E-Book /E-Learning
ลักษณะของผลงาน R &D
2. ร ูปแบบ/วิธีการสอน/การบริหาร/การนิเทศ
- การสอนแบบวิจยั เป็นฐาน (RBI)
- การฝึกอบรมผ่านเว็บ (WBT)
- ร ูปแบบการนิเทศโดยใช้เครือข่าย....
-ร ูปแบบการพัฒนาคร ูเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ
ด้าน............
- ร ูปแบบการบริหารโรงเรียนดีประจาตาบล
R&D
Dev1
ต้ นฉบับ
ทดลองใช้
:
R1
D2
R2
ปรับปรุ ง
กลุ่มเล็ก
กลุ่มกลาง
D3
R3
ปรับปรุ ง
กลุ่มใหญ่
การวิจยั เชิงประเมิน ( Evaluative Research)
ความหมาย
: กระบวนการจัดหาและเสนอสารสนเทศที่เป็น
ประโยชน์ต่อการตัดสินใจเลือกทางเลือกวิธีการ
ดาเนินงานที่เหมาะสม ( Stufflebeam.1971 )
กระบวนการที่จะตัดสินค ุณค่าของกิจกรรมทาง
การศึกษาที่อาศัยวิธีการที่มีระบบแบบแผนในการ
รวบรวมข้อมูล หลักฐาน และเหต ุผลประกอบการ
พิจารณาตัดสินว่า กิจกรรมทางการศึกษานัน้ ๆดี
หรือไม่ดี เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมประการใด
(พจน์ สะเพียรชัย. 2519:72)
ความหมาย : การวิจยั เชิงประเมิน
เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้
ได้มาซึ่งสารสนเทศในเชิงค ุณค่าของ
สิ่งใด สิ่งหนึ่ง (หลักสูตร นโยบาย
แผนงาน หรือโครงการ) ที่จะเป็น
ประโยชน์ต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการ
ดาเนินการปรับปร ุง/พัฒนา
วงจรของระเบียบวิธีการวิจยั เชิงประเมิน
กาหนด
วัตถ ุประสงค์
วางแผน
ประเมิน
ดาเนินการ
ประเมิน
วิเคราะห์
ข้อมูล
รายงานผล
ประเมิน
Progress
Report
สิ่งที่มง่ ุ วิจยั
ประเมินผล
ปรับปร ุง/
เปลี่ยนแปลง
Summary
Report
การวิจยั สถาบัน (Institution Research)
มุ่งเน้ นการหาข้ อมูลสารสนเทศสาหรับการวางแผนเพือ่
พัฒนาสถาบัน/องค์ กร
กรณีของสถานศึกษา : การวิจัยเกีย่ วกับผู้เรียน ครู และ
บุคลากร หลักสู ตร งบประมาณ/ทรัพยากรทางการศึกษา
อาคารสถานที่
กรณีของเขตพืน้ ที่การศึกษา :การวิจัยเพือ่ จัดทาฐานข้ อมูล
สาหรับการวางแผนส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษา/คุณภาพผู้เรียน
ขอบข่ายของการวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1. การวิจยั เพื่อการพัฒนาหลักสูตร การบริหารหลักสูตร
2. การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3. การวิจยั เพื่อพัฒนาการนิเทศการเรียนการสอน
4. การวิจยั เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
5. การวิจยั เพื่อติดตามและประเมินโครงการทางการศึกษา
6. การวิจยั เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
สถานศึกษา
7. การวิจยั เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
ประเด็นการวิจยั เพื่อพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับค ุณภาพการศึกษา
ปัญหาการเรียนร/้ ู ปัญหาการจัดการเรียนร/้ ู ปัญหา
การบริหารหลักสูตร
โจทย์วิจยั /คาถามวิจยั
ปัจจัยที่ทาให้ค ุณภาพไม่ได้มาตรฐาน/เกณฑ์
ปัญหาเชิงระบบ Context-Input-processOutput
ผลการประเมิน สมศ.
มาตรฐานที่ ๔ (ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง
และมีวิสยั ทัศน์)
ไม่ผ่าน
มาตรฐานที่ ๕ (ผูเ้ รียนมีความรูแ้ ละทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร)
ไม่ผ่าน
มาตรฐานที่ ๖ (ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรด้ ู ว้ ยตนเอง
รักการเรียนรแ้ ู ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง) เป็นพิเศษ โดย
จัดตัง้ องค์การมหาชนขึ้นมาขับเคลื่อน ถ้าปล่อยให้ทาตามระบบ
ราชการอาจไม่ทนั การ
ไม่ผ่าน
การหาประเด็น/โจทย์การวิจยั จะเริม่ ต้นจากอะไร
ปั จจัยที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผูเ้ รียน
(เฉพาะภายใน
สถานศึกษา)
คุณภาพผูบ้ ริหาร
คุณภาพครู
คุณภาพ
ผูเ้ รียน
การวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การวิจยั
ปั จจัยจากผูบ้ ริหาร
ปั จจัยจากครู
ปั ญหาคุณภาพผูเ้ รียน
ไม่สนใจวิชาการ ใจไม่อยากเป็ นครู
ผลสัมฤทธิ์ต ่า
บริหารจัดการไม่เก่ง รูเ้ นื้อหาและวิธีการ พฤติกรรมไม่เหมาะ
สอนน้อย
ไม่เร่งรัดพัฒนา
รอคอยเกษียณ
ชอบทะเลาะวิวาท
สถานศึกษา
ไม่นาพาต่อคุณภาพ ไม่เพียรพยายาม
ขาดทักษะชีวิต
ผูเ้ รียน
สอนศิษย์
ไม่เพียรสร้างครูดี
ไม่คิดหาวิธีการ
ขาดจิตอาสา
ครูเก่ง
แก้ปัญหา/พัฒนา
การวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การวิจยั
ปั จจัยจากผูบ้ ริหาร
ปั จจัยจากครู
คุณภาพผูเ้ รียน
สนใจวิชาการ
มีความเป็ นครู
ผลสัมฤทธิ์มีมาตรฐานดี
บริหารจัดการเก่ง
รูเ้ นื้อหาแน่นและแม่นยา
เร่งรัดพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา
นาพาต่อคุณภาพผูเ้ รียน
ทาการสอนด้วยเทคนิค
วิธีที่หลากหลาย
ใช้จติ วิทยาสร้าง
พลังจูงใจ
ใฝ่ เรียนรูแ้ ละพัฒนาการ
สอนอย่างต่อเนื่อง
มีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์โดดเด่น
เป็ นผูม้ ีจติ อาสาและรูร้ กั
สามัคคี
มีนิสยั ใฝ่ เรียนรูแ้ ละ
พัฒนาตน
เป็ นคนดีศรีสงั คม(ไทย
และโลก)
เพียรพัฒนาครูดีและครู
เก่ง
ลักษณะของโจทย์วิจยั ที่ดี
ความสอดคล้อง : นโยบายและสภาพ
ปัญหาที่เกิดขึ้น
ความสาคัญ : เป็นประโยชน์ มีค ุณค่าต่อ
การพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
ความเป็นปัจจุบัน : เรือ่ งเด่น ประเด็นร้อน
ความเป็นไปได้ : มีโอกาสที่จะทาได้สาเร็จ
ระดับของโจทย์วิจยั
ระดับที่1 โจทย์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของ
ค ุณภาพการศึกษา
ระดับที่ 2 โจทย์เพื่อวิเคราะห์สาเหต ุ
ที่ทาให้เกิดปัญหาค ุณภาพการศึกษา
ระดับที่3 โจทย์เพื่อหาวิธีแก้ปัญหา/
พัฒนาค ุณภาพการศึกษา
ประเด็นวิจยั เพื่อ
การพัฒนาหลักสูตร การบริหารหลักสูตร
- การวิจยั ความต้องการหลักสูตร
- การวิจยั แนวทางการพัฒนาหลักสูตร
- การวิจยั และพัฒนาหลักสูตร
- การวิจยั เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและบทบาทของ
-
ผูเ้ กี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร
การวิจยั การบริหารและการใช้หลักสูตร
การวิจยั ติดตามผลการนาหลักสูตรไปใช้
การวิจยั ประเมินผลหลักสูตร
การวิจยั แนวโน้มหรืออนาคตภาพของหลักสูตร
ประเด็นวิจยั เพื่อพัฒนา
การบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษา
-การศึกษาสภาพและปั ญหาการบริหารจ้ดการงบประมาณ
-การศึกษาสภาพและปั ญหาการบริหารจ้ดการวัสดุครุภณ
ั ฑ์
-การศึกษาสภาพและปั ญหาการบริหารจ้ดการอาคารสถานที่
-การศึกษาสภาพและปั ญหาการบริหารจ้ดการสภาพแวดล้อม
-รูปแบบและกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรทางการ
ศึกษาที่มีประสิทธิผล
ประเด็นวิจยั เพื่อ
การติดตามและประเมินโครงการทางการศึกษา
-การติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
-การติดตาม ประเมินผลโครงการทางการศึกษาของสถานศึกษา
@การประเมินผลโครงการโรงเรียนวิธีพทุ ธ
@การประเมินผลโครงการส่งเสริมนิสยั รักการอ่านของนักเรียน
@การประเมินผลโครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากล
@การประเมินผลโครงการ โรงเรียนอ่อนหวาน
@การประเมินผลโครงการ โรงเรียนดีศรีตาบล
@ การประเมินกิจกรรม วางทุกงานอ่านทุกคน
ประเด็นวิจยั เพื่อพัฒนา
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา
-การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา (การบริหารงานวิชาการ งบประมาณ งานบุคคลและ
การบริหารทั ่วไป)
-การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรูข้ องครู
-การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของครู
-การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรียน
-การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการทรัพยากรทางการศึกษา
ประเด็นวิจยั เพื่อพัฒนา
การประกันคุณภาพการศึกษา
-การศึกษาสภาพ ปั ญหา และความต้องการในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
-การวิจยั เพื่อพัฒนารูปแบบ หรือระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษา
-การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาที่ผา่ นหรือไม่ผ่าน
การรับรอง
-การวิจยั ติดตามผลการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
-การใช้ผลการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตัวอย่างงานวิจยั การประกันคุณภาพการศึกษา
@ การพัฒนาแนวทางการประกันคุณภาพภายในโดยใช้กระบวนการ
นิเทศภายในของสถานศึกษาขนาดเล็ก: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดศรี
ภวังค์(อัจฉรา คหินทพงศ์. 2550)
@ การวิจยั ประเมินความต้องการจาเป็ นในการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
(เมษา นวลศรี. 2550)
@ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในตามแนวการ
บริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์กรสาหรับโรงเรียนอนุบาลเอกชน
(สิทธิชยั เจริญวิวฒ
ั พงษ์. 2552)
ประเด็นวิจัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา
• การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการ
แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
• การวิจยั ประเมินความต้องการจาเป็น
•การวิจยั และพัฒนาหลักสูตร
•การวิจยั ประเมินผลการใช้หลักสูตร
•การวิจยั ประเมินโครงการฝึกอบรม/พัฒนา......
หลักการเขียนรายงานการวิจยั ที่มีค ุณภาพ
1. ความเป็นระบบ (Systematic)
2. ความถ ูกต้อง (Correctness/ accuracy)
3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (Completeness)
4. ความเป็นเอกภาพ (Unity)
5. ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง (Correspondence)
6. ความสม่าเสมอ/ความคงเส้นคงวา (Consistency)
หลักในการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั
ความตรงประเด็นกับเรือ่ งที่จะใช้
ความเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
ความเป็นปัจจุบัน ทันต่อเหต ุการณ์
ความถ ูกต้อง เชื่อถือได้
ความครอบคล ุมเพียงพอ
แนวทางการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั
จัดทาแผนงาน โครงการ
สนับสน ุนทรัพยากร/ปัจจัยการดาเนินงาน
ปรับปร ุงและพัฒนางาน
ตัดสินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการ
บริหาร/การปฏิบตั ิงาน
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
การสร้างทีมวิจยั
1.ความสาคัญของทีมวิจยั
2.องค์ประกอบของทีมวิจยั
3.กระบวนการทางานของทีมวิจยั
4.ปัจจั ยั สูค
่ วามสาเร็จของทีมวิจยั
การสร้างเครือข่ายการวิจยั
เสริมสร้างการเรียนรูว้ ิจยั และพัฒนาค ุณภาพ
การศึกษาร่วมกัน
การสร้างพลังความร่วมมือพัฒนา
เครือข่ายภายในและนอกสถานศึกษา (คร ู ผูบ้ ริหาร
ศน.นักวิชาการ ผูป้ กครอง)
เครือข่ายระหว่างโรงเรียน เขต/สถาบันอ ุดมศึกษา
TEAM
T = Together
E = Everyone
A = Achieve
M = More
ร่วมมือกันท ุกคน สัมฤทธิ์ผลได้มากกว่า
10 กลย ุทธ์สค่ ู วามสาเร็จในการวิจยั
กลยุทธ์ ที่ 1 : รับรู้ และเรียนรู้ ประเด็นปัญหา
กลยุทธ์ ที่ 2 : ศึกษาวิธีวทิ ยาการวิจัย
กลยุทธ์ ที่ 3 : ใช้ กรณีตัวอย่ างงานวิจัยเป็ นแนวทาง
กลยุทธ์ ที่ 4 : วางแผนการวิจัยไว้ ล่วงหน้ า
กลยุทธ์ ที่ 5 : แสวงหาและสร้ างทีมวิจัยทีด่ ี
10 กลย ุทธ์สค่ ู วามสาเร็จในการวิจยั
กลยุทธ์ ที่ 6 : มีเวลาทางานวิจัยให้ เพียงพอ
กลยุทธ์ ที่ 7: ประสานขอทีป่ รึกษาให้ คาแนะนาช่ วยเหลือ
กลยุทธ์ ที่ 8 : สร้ างเครือข่ ายการวิจัยให้ ร่วมมือ
กลยุทธ์ ที่ 9 : ยึดถือเกณฑ์ การประเมินคุณภาพงานวิจัย
กลยุทธ์ ที่ 10 : ทางานให้ เสร็จตามกาหนดเวลาทีแ่ น่ นอน
กลยุทธ์
การปรับพฤติกรรมทีไ่ ม่ เหมาะสม
1. สั งเกต / หาข้ อมูล และวิเคราะห์ สาเหตุ
2. ให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ
3. Reaction ทีไ่ ม่ ต้องใช้ คาพูด
4. Reaction ทีน่ ่ ุมนวล
5. Reaction ทีเ่ ป็ นคาพูด
ยืนใกล้
ใช้ สายตาเป็ นมิตร
การสั มผัส
จา /เรียกชื่อผู้เรียน
ใช้ อารมณ์ ขัน
ให้ ผู้เรียนมีโอกาสเลือก
ใช้ วาทะเชิงบวก
วาทะของครู
วาทะเชิงบวก
ได้ บวก
1. ครู ไว้ ใจเธอ
(+100)
2. ครู เชื่อมือพวกเรา (+80)
3. พวกเธอให้ ความร่ วมมือดีมาก (+15)
4. พวกเธอตั้งใจทางานดีจังเลย
(+50)
5. ผลงานของเธอมีจุดเด่ นหลายอย่ าง (+40)
6. ถ้ าพวกเธอมุ่งมัน่ อย่ างนี้ อนาคตสดใสแน่ (+35)
วาทะเชิงลบ
ได้ ลบ
1. พวกเธอแย่ มาก ไม่ รับผิดชอบเลย (-100)
2. ครู โชคร้ ายจังทีต่ ้ องมาสอนพวกเธอ (-80)
3. พวกเธอเรียนอย่ างนี้ จะไปรอดไหมเนีย้ ะ (-50)
4. จะเอายังไงกันแน่ ถ้ าไม่ เรียนก็ออกไปให้ พ้น (-200)
5. ถ้ ายังเป็ นอย่ างนี้ อนาคตไม่ ต้องทานาย (-90)
วาทะหลักของครู
หกคำ
จำไว้ ใช้ สร้ ำงพลังพัฒนำ
* ครูเชื่อมั่นในตัวเธอ
* ครูไว้ ใจพวกเรามาก
ห้ าคา
ทาให้ เกิดแรงจูงใจ
*พยายามต่ อไป/พยามยามอีกครั้ง
สี่คำ
นำไปบอกกล่ ำวเมื่อศิษย์ ทำดี
* เธอทาดีมาก
* เธอทาได้ ดี
สามคา
นำควำมยินดีมำให้ กบั ศิษย์
* ครูดใี จ (จังเลย)
* ครูยนิ ดี (ด้ วยนะ)
สองคำ
แสดงออกเมื่อศิษย์ มีนา้ ใจ
* ขอบใจ
หนึ่งคา
ทำให้ ศิษย์ ไม่ กล้ ำ / ไม่ พฒ
ั นำ
* อย่ า !
ข้อคิดเพื่อการเรียนรู ้
IF YOU HEAR,YOU FORGET.
IF YOU SEE, YOU REMEMBER.
IF YOU DO, YOU LEARN.
ข้อคิดสะกิดใจ
กระจก มีไว้ส่อง หน้า
ปั ญญา มีไว้ส่อง หัว
ความชั่ว มีไว้ส่อง คุณธรรม
ผูน้ า มีไว้ส่อง องค์การ
ครูและผูบ้ ริหาร มีไว้ส่อง คุณภาพการศึกษา